From this page you can:
Home |
Search results
1 result(s) search for keyword(s) 'เทคนิคการสื่อสารเพื่อการบำบัด.การสื่อสารที่ไม่ใช่การบำบัด.ผู้ป่วยจิตเวช.'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
การศึกษาการใช้เทคนิการสื่อสารเพื่อการบำบัด / วัลลภา อันดารา in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 ([08/21/2017])
[article]
Title : การศึกษาการใช้เทคนิการสื่อสารเพื่อการบำบัด : และการสื่อสารที่ไม่ใช่การบำบััดกับผู้ป่วยจิตเวช Original title : The study of therapeutic communication technique and non-therapeutic communication technique with paychiatric patient Material Type: printed text Authors: วัลลภา อันดารา, Author ; ดลฤดี โรจน์วิริยะ, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.64-73 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.64-73Keywords: เทคนิคการสื่อสารเพื่อการบำบัด.การสื่อสารที่ไม่ใช่การบำบัด.ผู้ป่วยจิตเวช. Abstract: เป็นการศึกษาการใช้เทคนิดการสื่อสารเพื่อการบำบัดและการสื่อสารที่ใช้การบำบัดผู้ป่วยจิตเวช โดยเก็บรวบรวมข้อมูลจากแบบบันทึกการสื่อสารเพื่อการบำบัดของนักเรียนพยาบาลทหารอากาศ ชั้นปีที่ 3 จำนวน 135 ฉบับ ขณะฝึกปฏิบัติการพยาบาลในวิชาปฏิบัตการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าความถี่ ร้อยละ
ผลการศึกษา พบว่า นักเรียนพยาบาลทหารอากาศใช้เทคนิคการสืื่อสารด้วยคำพูด จำนวน 2445 ครั้ง เป็นเทคนิคการสื่อสารเพื่อการบำบัด จำนวน 2111 ครั้ง ร้อยละ 86.34 และเป็นเทคนิคการสื่อสารที่ไม่ใช่การบำบัด จำนวน 334 ครั้ง ร้อยละ 13.66 โดยเทคนิคการสื่อสารที่ไม่ใช่การบำบัด จัดหมวดหมู่ได้ 13 เทคนิค ได้แก่ 1. การยอมรับว่าถูกต้อง จำนวน 78 ครั้ง (ร้อยละ 23.35) 2.ตอบสนองไม่ตรงประเด็น จำนวน 50 ครั้ง (ร้อยละ 14.97) 3 ขอคำอธิบาย จำนวน 48 ครั้ง (ร้อยละ 14.37) 4. ให้คำแนะนำ จำนวน 33 ครั้ง (ร้อยละ 9.88) 5. กล่าวตำหนิ จำนวน 26 ครั้ง (ร้อยละ 4.79) 8. แก้ตัวแทนผู้อื่น จำนวน 14 ครั้ง (ร้อยละ 4.19) 9.ใช้คำพูดท้าทาย จำนวน 14 ครั้ง (ร้อยละ 4.19) 10.กล่าวขัดแย้งข้อคิดเห็นของผู้ป่วย จำนวน 10 ครั้ง (ร้อยละ 2.99) 11 ใช้คำปลอบใจที่ไม่เหมาะสม จำนวน 9 ครั้ง (ร้อยละ 2.70) 12. สนทนาเชิงสังคม จำนวน 9 ครั้ง (ร้อยละ 2.70) 13. ปฏิเสธการช่วยเหลือ จำนวน 7 ครั้ง (ร้อยละ 2.10)
ผลการศึกษาครั้งนี้ นักเรียนพยาบาลใช้เทคนิคการสื่อสารที่ไม่ใช้การบำบัด จำนวน 344 ครั้ง (ร้อยละ 13.66) ถึงแม่ว่าเป็นจำนวนไม่มากเมื่อเปรียบเทียบกับเทคนิคการสื่อสารนั้นล้มเหลว ได้ผลจากการศึกษาในครั้งนี้ สามารถนำไปใช้เพื่อการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช ทั้งภาคทฤษฎและปฏิบัติ เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถใช้เทคนิคการสื่อสารในการปฏิบัติงานจริงกับผู้ป่วยจิตเวชได้อย่างถูกต้อง และมีประสิทธิภาพLink for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27214 [article] การศึกษาการใช้เทคนิการสื่อสารเพื่อการบำบัด = The study of therapeutic communication technique and non-therapeutic communication technique with paychiatric patient : และการสื่อสารที่ไม่ใช่การบำบััดกับผู้ป่วยจิตเวช [printed text] / วัลลภา อันดารา, Author ; ดลฤดี โรจน์วิริยะ, Author . - 2017 . - p.64-73.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.64-73Keywords: เทคนิคการสื่อสารเพื่อการบำบัด.การสื่อสารที่ไม่ใช่การบำบัด.ผู้ป่วยจิตเวช. Abstract: เป็นการศึกษาการใช้เทคนิดการสื่อสารเพื่อการบำบัดและการสื่อสารที่ใช้การบำบัดผู้ป่วยจิตเวช โดยเก็บรวบรวมข้อมูลจากแบบบันทึกการสื่อสารเพื่อการบำบัดของนักเรียนพยาบาลทหารอากาศ ชั้นปีที่ 3 จำนวน 135 ฉบับ ขณะฝึกปฏิบัติการพยาบาลในวิชาปฏิบัตการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าความถี่ ร้อยละ
ผลการศึกษา พบว่า นักเรียนพยาบาลทหารอากาศใช้เทคนิคการสืื่อสารด้วยคำพูด จำนวน 2445 ครั้ง เป็นเทคนิคการสื่อสารเพื่อการบำบัด จำนวน 2111 ครั้ง ร้อยละ 86.34 และเป็นเทคนิคการสื่อสารที่ไม่ใช่การบำบัด จำนวน 334 ครั้ง ร้อยละ 13.66 โดยเทคนิคการสื่อสารที่ไม่ใช่การบำบัด จัดหมวดหมู่ได้ 13 เทคนิค ได้แก่ 1. การยอมรับว่าถูกต้อง จำนวน 78 ครั้ง (ร้อยละ 23.35) 2.ตอบสนองไม่ตรงประเด็น จำนวน 50 ครั้ง (ร้อยละ 14.97) 3 ขอคำอธิบาย จำนวน 48 ครั้ง (ร้อยละ 14.37) 4. ให้คำแนะนำ จำนวน 33 ครั้ง (ร้อยละ 9.88) 5. กล่าวตำหนิ จำนวน 26 ครั้ง (ร้อยละ 4.79) 8. แก้ตัวแทนผู้อื่น จำนวน 14 ครั้ง (ร้อยละ 4.19) 9.ใช้คำพูดท้าทาย จำนวน 14 ครั้ง (ร้อยละ 4.19) 10.กล่าวขัดแย้งข้อคิดเห็นของผู้ป่วย จำนวน 10 ครั้ง (ร้อยละ 2.99) 11 ใช้คำปลอบใจที่ไม่เหมาะสม จำนวน 9 ครั้ง (ร้อยละ 2.70) 12. สนทนาเชิงสังคม จำนวน 9 ครั้ง (ร้อยละ 2.70) 13. ปฏิเสธการช่วยเหลือ จำนวน 7 ครั้ง (ร้อยละ 2.10)
ผลการศึกษาครั้งนี้ นักเรียนพยาบาลใช้เทคนิคการสื่อสารที่ไม่ใช้การบำบัด จำนวน 344 ครั้ง (ร้อยละ 13.66) ถึงแม่ว่าเป็นจำนวนไม่มากเมื่อเปรียบเทียบกับเทคนิคการสื่อสารนั้นล้มเหลว ได้ผลจากการศึกษาในครั้งนี้ สามารถนำไปใช้เพื่อการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช ทั้งภาคทฤษฎและปฏิบัติ เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถใช้เทคนิคการสื่อสารในการปฏิบัติงานจริงกับผู้ป่วยจิตเวชได้อย่างถูกต้อง และมีประสิทธิภาพLink for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27214