From this page you can:
Home |
Descriptors
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sources
SIU IS-T. การจัดการความรู้ (KM) ในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ กรณีศึกษา ฝ่ายอำนวยการตำรวจภูธรจังหวัดสมุทรสงคราม / ปวีร์ญธรณ์ เหลือคลังทอง / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : การจัดการความรู้ (KM) ในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ กรณีศึกษา ฝ่ายอำนวยการตำรวจภูธรจังหวัดสมุทรสงคราม Original title : Knowledge Management in Operation of Police Officers: A Case of General Staff Sub-Division, Samut Songkhram Provincial Police Material Type: printed text Authors: ปวีร์ญธรณ์ เหลือคลังทอง, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: vii, 67 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-40
Independent Study [MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารองค์ความรู้
[LCSH]ตำรวจ -- การปฏิบัติงานKeywords: การจัดการความรู้,
ตำรวจAbstract: งานค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางในการจัดการความรู้ สภาพปัญหาและอุปสรรค แนวทางการปรับปรุงการดำเนินการจัดการความรู้ของฝ่ายอำนวยการตำรวจภูธรจังหวัดสมุทรสงคราม ใช้วิธีวิจัยเอกสารและวิธีวิจัยสนาม เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึกกลุ่มเป้าหมายที่เป็นตัวแทน จำนวน 12 คน
ผลการวิจัยพบว่า แนวทางในการจัดการความรู้ของข้าราชการตำรวจฝ่ายอำนวยการตำรวจภูธรจังหวัดสมุทรสงคราม มีการจัดความรู้ในรูปแบบการทำงานร่วมกันเป็นทีม มีการถ่ายทอดความรู้ผ่านการสอนงานแบบพี่เลี้ยง และมีการแสวงหาความรู้ใหม่ในการสืบค้นจากฐานข้อมูลในระบบสารสนเทศข้อมูลอาชญากรรม ซึ่งได้แก่ ระบบ POLIS : Police Information System และ ระบบ C.R.I.M.E.S (Criminal Record And Information Management Enterprise System) ของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ สภาพปัญหาและอุปสรรคที่พบ คือ ปัญหาด้านขาดแคลนบุคลากรทั้งด้านจำนวนและคุณสมบัติ การถ่ายทอดความรู้ไม่มีความต่อเนื่อง ไม่มีงบประมาณเป็นการเฉพาะ วัสดุสำนักงานและระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีไม่เพียงพอ ข้อเสนอแนะจากงานวิจัยพบว่าแนวทางการปรับปรุงการดำเนินการจัดการความรู้ คือ ควรขอรับการจัดสรรบุคลากรและงบประมาณเพิ่มเติม จากตำรวจภูธรภาค 7 มาเพิ่ม หรือขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากนอกหน่วยงาน ควรจัดอบรมข้าราชการตำรวจฝ่ายอำนวยการ เพื่อเพิ่มความรู้ในการปฏิบัติงาน การสร้างบรรยากาศในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ความคิดเห็นกับบุคลากรหน่วยงานอื่น โดยจัดกิจกรรมหรือการประชุมต่างๆ นอกสถานที่ และเชิญข้าราชการหน่วยงานอื่นเข้าร่วมประชุมแลกเปลี่ยนความรู้ด้วยกัน รวมทั้งควรมีการสร้างขวัญและกำลังใจในการทำงานCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27275 SIU IS-T. การจัดการความรู้ (KM) ในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ กรณีศึกษา ฝ่ายอำนวยการตำรวจภูธรจังหวัดสมุทรสงคราม = Knowledge Management in Operation of Police Officers: A Case of General Staff Sub-Division, Samut Songkhram Provincial Police [printed text] / ปวีร์ญธรณ์ เหลือคลังทอง, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - vii, 67 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-40
Independent Study [MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารองค์ความรู้
[LCSH]ตำรวจ -- การปฏิบัติงานKeywords: การจัดการความรู้,
ตำรวจAbstract: งานค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางในการจัดการความรู้ สภาพปัญหาและอุปสรรค แนวทางการปรับปรุงการดำเนินการจัดการความรู้ของฝ่ายอำนวยการตำรวจภูธรจังหวัดสมุทรสงคราม ใช้วิธีวิจัยเอกสารและวิธีวิจัยสนาม เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึกกลุ่มเป้าหมายที่เป็นตัวแทน จำนวน 12 คน
ผลการวิจัยพบว่า แนวทางในการจัดการความรู้ของข้าราชการตำรวจฝ่ายอำนวยการตำรวจภูธรจังหวัดสมุทรสงคราม มีการจัดความรู้ในรูปแบบการทำงานร่วมกันเป็นทีม มีการถ่ายทอดความรู้ผ่านการสอนงานแบบพี่เลี้ยง และมีการแสวงหาความรู้ใหม่ในการสืบค้นจากฐานข้อมูลในระบบสารสนเทศข้อมูลอาชญากรรม ซึ่งได้แก่ ระบบ POLIS : Police Information System และ ระบบ C.R.I.M.E.S (Criminal Record And Information Management Enterprise System) ของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ สภาพปัญหาและอุปสรรคที่พบ คือ ปัญหาด้านขาดแคลนบุคลากรทั้งด้านจำนวนและคุณสมบัติ การถ่ายทอดความรู้ไม่มีความต่อเนื่อง ไม่มีงบประมาณเป็นการเฉพาะ วัสดุสำนักงานและระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีไม่เพียงพอ ข้อเสนอแนะจากงานวิจัยพบว่าแนวทางการปรับปรุงการดำเนินการจัดการความรู้ คือ ควรขอรับการจัดสรรบุคลากรและงบประมาณเพิ่มเติม จากตำรวจภูธรภาค 7 มาเพิ่ม หรือขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากนอกหน่วยงาน ควรจัดอบรมข้าราชการตำรวจฝ่ายอำนวยการ เพื่อเพิ่มความรู้ในการปฏิบัติงาน การสร้างบรรยากาศในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ความคิดเห็นกับบุคลากรหน่วยงานอื่น โดยจัดกิจกรรมหรือการประชุมต่างๆ นอกสถานที่ และเชิญข้าราชการหน่วยงานอื่นเข้าร่วมประชุมแลกเปลี่ยนความรู้ด้วยกัน รวมทั้งควรมีการสร้างขวัญและกำลังใจในการทำงานCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27275 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000595049 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-40 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000595031 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-40 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ความผูกพันต่อองค์การของข้าราชการตำรวจ กองบังคับการสืบสวนสอบสวน กองบัญชาการตำรวจนครบาล / ศักดิ์สยาม จิตวิสุทธิ์ศรี / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU IS-T Title : ความผูกพันต่อองค์การของข้าราชการตำรวจ กองบังคับการสืบสวนสอบสวน กองบัญชาการตำรวจนครบาล Original title : Organization Commitment of Police Officers in the Investigation Division Metropolitan Police Bureau Material Type: printed text Authors: ศักดิ์สยาม จิตวิสุทธิ์ศรี, Author ; สมชาย รัตนโกมุท, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: vii, 47 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-08
IS [MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]กองบัญชาการตำรวจนครบาล -- ข้าราชการ
[LCSH]ความผูกพันต่อองค์การ -- พนักงาน
[LCSH]ตำรวจ -- การปฏิบัติงานKeywords: ความผูกพันต่อองค์การ
ข้าราชการตำรวจ
กองบังคับการสืบสวนสอบสวน
กองบัญชาการตำรวจนครบาลAbstract: การศึกษาเรื่อง ความผูกพันต่อองค์การของข้าราชการตำรวจ กองบังคับการสืบสวนสอบสวน กองบัญชาการตำรวจนครบาล มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ระดับความผูกพันต่อองค์การของข้าราชการตำรวจกองบังคับการสืบสวนสอบสวน กองบัญชาการตำรวจนครบาล ในด้านความเชื่อมั่นและการยอมรับเป้าหมายและค่านิยมขององค์การ ด้านความเต็มอกเต็มใจที่จะใช้ความพยายามเต็มความสามารถทำงานเพื่อองค์การ และด้านความปรารถนาที่จะรักษาสถานภาพการเป็นสมาชิกขององค์การไว้ โดยจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา อายุราชการ ระดับชั้นยศ และรายได้เฉลี่ยต่อเดือน
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา คือ ข้าราชการตำรวจ กองบังคับการสืบสวนสอบสวน กองบัญชาการตำรวจนครบาล จำนวน 155 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลประกอบด้วย ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนมากเป็นเพศชาย มีอายุ 31-40 ปี มีระดับการศึกษาปริญญาตรี มีอายุราชการ 16 ปีขึ้นไป มีระดับชั้นยศ ร.ต.ต.-ร.ต.อ. และมีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 30,001 บาทขึ้นไป โดยวิเคราะห์ข้อมูลความผูกพันต่อองค์การของข้าราชการตำรวจ กองบังคับการสืบสวนสอบสวน กองบัญชาการตำรวจนครบาล โดยภาพรวม อยู่ในระดับปานกลาง เมื่อจำแนกเป็นรายด้านพบว่า ด้านที่มีความผูกพันอันดับที่หนึ่งคือ ด้านความเต็มอกเต็มใจที่จะใช้ความพยายามเต็มความสามารถทำงานเพื่อองค์การ มีระดับความผูกพันมาก อันดับที่สองคือ ด้านความปรารถนาที่จะรักษาสถานภาพการเป็นสมาชิกขององค์การไว้ มีระดับความผูกพันมาก และอันดับสุดท้ายคือ ด้านความเชื่อมั่นและยอมรับเป้าหมายและค่านิยมขององค์การ มีระดับความผูกพันปานกลาง ตามลำดับRecord link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26497 SIU IS-T. ความผูกพันต่อองค์การของข้าราชการตำรวจ กองบังคับการสืบสวนสอบสวน กองบัญชาการตำรวจนครบาล = Organization Commitment of Police Officers in the Investigation Division Metropolitan Police Bureau [printed text] / ศักดิ์สยาม จิตวิสุทธิ์ศรี, Author ; สมชาย รัตนโกมุท, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - vii, 47 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-08
IS [MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]กองบัญชาการตำรวจนครบาล -- ข้าราชการ
[LCSH]ความผูกพันต่อองค์การ -- พนักงาน
[LCSH]ตำรวจ -- การปฏิบัติงานKeywords: ความผูกพันต่อองค์การ
ข้าราชการตำรวจ
กองบังคับการสืบสวนสอบสวน
กองบัญชาการตำรวจนครบาลAbstract: การศึกษาเรื่อง ความผูกพันต่อองค์การของข้าราชการตำรวจ กองบังคับการสืบสวนสอบสวน กองบัญชาการตำรวจนครบาล มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ระดับความผูกพันต่อองค์การของข้าราชการตำรวจกองบังคับการสืบสวนสอบสวน กองบัญชาการตำรวจนครบาล ในด้านความเชื่อมั่นและการยอมรับเป้าหมายและค่านิยมขององค์การ ด้านความเต็มอกเต็มใจที่จะใช้ความพยายามเต็มความสามารถทำงานเพื่อองค์การ และด้านความปรารถนาที่จะรักษาสถานภาพการเป็นสมาชิกขององค์การไว้ โดยจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา อายุราชการ ระดับชั้นยศ และรายได้เฉลี่ยต่อเดือน
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา คือ ข้าราชการตำรวจ กองบังคับการสืบสวนสอบสวน กองบัญชาการตำรวจนครบาล จำนวน 155 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลประกอบด้วย ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนมากเป็นเพศชาย มีอายุ 31-40 ปี มีระดับการศึกษาปริญญาตรี มีอายุราชการ 16 ปีขึ้นไป มีระดับชั้นยศ ร.ต.ต.-ร.ต.อ. และมีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 30,001 บาทขึ้นไป โดยวิเคราะห์ข้อมูลความผูกพันต่อองค์การของข้าราชการตำรวจ กองบังคับการสืบสวนสอบสวน กองบัญชาการตำรวจนครบาล โดยภาพรวม อยู่ในระดับปานกลาง เมื่อจำแนกเป็นรายด้านพบว่า ด้านที่มีความผูกพันอันดับที่หนึ่งคือ ด้านความเต็มอกเต็มใจที่จะใช้ความพยายามเต็มความสามารถทำงานเพื่อองค์การ มีระดับความผูกพันมาก อันดับที่สองคือ ด้านความปรารถนาที่จะรักษาสถานภาพการเป็นสมาชิกขององค์การไว้ มีระดับความผูกพันมาก และอันดับสุดท้ายคือ ด้านความเชื่อมั่นและยอมรับเป้าหมายและค่านิยมขององค์การ มีระดับความผูกพันปานกลาง ตามลำดับRecord link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26497 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000591618 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-08 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000591626 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-08 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำกับขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงาน กรณีศึกษา: ข้าราชการตำรวจสังกัดสำนักงานยุทธศาสตร์ตำรวจ / เนตินันท์ ด้วงประดิษฐ์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU IS-T Title : ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำกับขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงาน กรณีศึกษา: ข้าราชการตำรวจสังกัดสำนักงานยุทธศาสตร์ตำรวจ Original title : Relationships between Leadership and Work Morale: A Case of Police Officers at the Office of Strategy Material Type: printed text Authors: เนตินันท์ ด้วงประดิษฐ์, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; อุษณีย์ เสวกวัชรี, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: viii, 123 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: SOM-MBA-2016-04
Independent Study. [MS[MBA]]--Shinawatra University, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ตำรวจ -- การปฏิบัติงาน
[LCSH]ภาวะผู้นำ -- การศึกษาเฉพาะกรณี
[LCSH]สำนักงานยุทธศาสตร์ตำรวจ -- ตำรวจKeywords: ภาวะผู้นำ
ข้าราชการตำรวจ
แรงจูงใจในการทำงานAbstract: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาภาวะผู้นำที่มีผลต่อขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงาน โดยศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำกับขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงาน ของข้าราชการตำรวจ สังกัด สำนักงานยุทธศาสตร์ตำรวจ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาวิจัย คือ ข้าราชการตำรวจ สังกัด สำนักงานยุทธศาสตร์ตำรวจ ซึ่งเป็นการศึกษาเชิงสำรวจ โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล จำนวน 169 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ คือ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติที่ใช้ในการทดสอบสมมติฐาน คือ Independent t-test, One-way ANOVA หากพบความแตกต่างจะทดสอบความแตกต่างเป็นรายคู่ โดยวิธี LSD (Least Significant Difference) และทดสอบความสัมพันธ์โดยใช้ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน
ผลการศึกษาพบว่า ข้าราชการตำรวจ สังกัด สำนักงานยุทธศาสตร์ตำรวจ มีระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับภาวะผู้นำที่มีผลต่อขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงาน ภาพรวมมีระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก ส่วนระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงาน โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง และภาวะผู้นำแบบชี้นำ ผู้นำแบบสนับสนุน ผู้นำแบบมีส่วนร่วม ผู้นำแบบมุ่งเน้นความสำเร็จมีความสัมพันธ์กับขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานอยู่ในระดับสูงมากและเป็นไปในทิศทางเดียวกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 นอกจากนี้ยังพบว่า เพศ อายุ ระดับการศึกษา ระยะเวลาการทำงาน และระดับชั้นยศ ที่แตกต่างกันมีผลต่อขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานที่ไม่แตกต่างกัน ส่วนสถานภาพที่แตกต่างกันมีผลต่อขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานที่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05Curricular : BBA/GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26489 SIU IS-T. ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำกับขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงาน กรณีศึกษา: ข้าราชการตำรวจสังกัดสำนักงานยุทธศาสตร์ตำรวจ = Relationships between Leadership and Work Morale: A Case of Police Officers at the Office of Strategy [printed text] / เนตินันท์ ด้วงประดิษฐ์, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; อุษณีย์ เสวกวัชรี, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - viii, 123 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: SOM-MBA-2016-04
Independent Study. [MS[MBA]]--Shinawatra University, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ตำรวจ -- การปฏิบัติงาน
[LCSH]ภาวะผู้นำ -- การศึกษาเฉพาะกรณี
[LCSH]สำนักงานยุทธศาสตร์ตำรวจ -- ตำรวจKeywords: ภาวะผู้นำ
ข้าราชการตำรวจ
แรงจูงใจในการทำงานAbstract: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาภาวะผู้นำที่มีผลต่อขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงาน โดยศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำกับขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงาน ของข้าราชการตำรวจ สังกัด สำนักงานยุทธศาสตร์ตำรวจ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาวิจัย คือ ข้าราชการตำรวจ สังกัด สำนักงานยุทธศาสตร์ตำรวจ ซึ่งเป็นการศึกษาเชิงสำรวจ โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล จำนวน 169 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ คือ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติที่ใช้ในการทดสอบสมมติฐาน คือ Independent t-test, One-way ANOVA หากพบความแตกต่างจะทดสอบความแตกต่างเป็นรายคู่ โดยวิธี LSD (Least Significant Difference) และทดสอบความสัมพันธ์โดยใช้ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน
ผลการศึกษาพบว่า ข้าราชการตำรวจ สังกัด สำนักงานยุทธศาสตร์ตำรวจ มีระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับภาวะผู้นำที่มีผลต่อขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงาน ภาพรวมมีระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก ส่วนระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงาน โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง และภาวะผู้นำแบบชี้นำ ผู้นำแบบสนับสนุน ผู้นำแบบมีส่วนร่วม ผู้นำแบบมุ่งเน้นความสำเร็จมีความสัมพันธ์กับขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานอยู่ในระดับสูงมากและเป็นไปในทิศทางเดียวกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 นอกจากนี้ยังพบว่า เพศ อายุ ระดับการศึกษา ระยะเวลาการทำงาน และระดับชั้นยศ ที่แตกต่างกันมีผลต่อขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานที่ไม่แตกต่างกัน ส่วนสถานภาพที่แตกต่างกันมีผลต่อขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานที่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05Curricular : BBA/GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26489 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000591550 SIU IS-T: SOM-MBA-2016-04 c.1 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจกับการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการตำรวจ กรณีศึกษา กองวินัยสำนักงานตำรวจแห่งชาติ / ปิยะพร ป๊อกแก้ว / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU IS-T Title : ความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจกับการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการตำรวจ กรณีศึกษา กองวินัยสำนักงานตำรวจแห่งชาติ Original title : The Relationship between Motivation and Performance of the Police: A Case Study of the Disciplinary Division Material Type: printed text Authors: ปิยะพร ป๊อกแก้ว, Author ; เพชรรัตน์ โล้วิชากรติกุล, Associated Name ; อุษณีย์ เสวกวัชรี, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: ix, 105 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: SOM-MBA-2016-01
Independent Study. [MS[MBA]]--Shinawatra University, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]กองวินัยสำนักงานตำรวจแห่งชาติ -- ข้าราชการตำรวจ
[LCSH]การจูงใจในการทำงาน
[LCSH]ตำรวจ -- การปฏิบัติงานAbstract: การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจกับการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการตำรวจ กองวินัย สำนักงานตำรวจแห่งชาติ จำนวน 120 คน ใช้วิธีการวิจัย 2 วิธีคือ 1) การวิจัยเชิงปริมาณ โดยใช้เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม (มาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ) สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ในการวิเคราะห์ปัจจัยด้านประชากรศาสตร์และการวิเคราะห์โดยใช้สถิติ t-test, F-test (ANOVA) และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน (Pearson' s Correlation Coefficient ) ในการทดสอบสมมุติฐาน 2) การวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้การสัมภาษณ์เชิงลึก Curricular : BBA/GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26483 SIU IS-T. ความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจกับการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการตำรวจ กรณีศึกษา กองวินัยสำนักงานตำรวจแห่งชาติ = The Relationship between Motivation and Performance of the Police: A Case Study of the Disciplinary Division [printed text] / ปิยะพร ป๊อกแก้ว, Author ; เพชรรัตน์ โล้วิชากรติกุล, Associated Name ; อุษณีย์ เสวกวัชรี, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - ix, 105 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: SOM-MBA-2016-01
Independent Study. [MS[MBA]]--Shinawatra University, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]กองวินัยสำนักงานตำรวจแห่งชาติ -- ข้าราชการตำรวจ
[LCSH]การจูงใจในการทำงาน
[LCSH]ตำรวจ -- การปฏิบัติงานAbstract: การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างแรงจูงใจกับการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการตำรวจ กองวินัย สำนักงานตำรวจแห่งชาติ จำนวน 120 คน ใช้วิธีการวิจัย 2 วิธีคือ 1) การวิจัยเชิงปริมาณ โดยใช้เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม (มาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ) สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ในการวิเคราะห์ปัจจัยด้านประชากรศาสตร์และการวิเคราะห์โดยใช้สถิติ t-test, F-test (ANOVA) และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน (Pearson' s Correlation Coefficient ) ในการทดสอบสมมุติฐาน 2) การวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้การสัมภาษณ์เชิงลึก Curricular : BBA/GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26483 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000591543 SIU IS-T: SOM-MBA-2016-01 c.1 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ความสุขในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ กองบังคับการสนับสนุน กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน) / คนธรส ชมเทศ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU IS-T Title : ความสุขในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ กองบังคับการสนับสนุน กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน) Original title : Work Happiness of Police Officers at General Support Division, Border Patrol Police Bureau Material Type: printed text Authors: คนธรส ชมเทศ, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; อุษณีย์ เสวกวัชรี, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: viii, 101 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: SOM-MBA-2016-05
Independent Study. [MS[MBA]]--Shinawatra University, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน -- ข้าราชการ -- ความพอใจในการทำงาน
[LCSH]ความสุขในการทำงาน -- วิจัย
[LCSH]ตำรวจ -- การปฏิบัติงานKeywords: ข้าราชการตำรวจ
ความสุขในการปฏิบัติงาน
คุณค่าAbstract: การวิจัยนี้ศึกษาระดับความสุข และเปรียบเทียบความสุขในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ กองบังคับการสนับสนุน กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน ในด้านสัมพันธภาพกับบุคลากรในองค์กร ความสำเร็จในงาน การตระหนักในคุณค่าของวิชาชีพตำรวจ การเป็นที่ยอมรับ
ทางสังคม การได้รับการสนับสนุนด้านสวัสดิการขององค์กร จำแนกตามข้อมูลด้านประชากรศาสตร์
ใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูลจากข้าราชการตำรวจ กองบังคับการสนับสนุนกองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน จำนวน 156 คน ใช้สถิติเชิงพรรณนาในการวิเคราะห์ข้อมูลส่วนบุคคล และ
การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว (One-Way ANOVA) ในการทดสอบสมมติฐาน
ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศชายมากกว่าเพศหญิง มีอายุระหว่าง
41 – 50 ปี มีสถานภาพสมรส มีการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรี มีชั้นยศเป็นชั้นประทวน มีรายเพียงพอแต่ไม่เหลือเก็บ อายุการทำงานมากกว่า 20 ปี ปฏิบัติงานอยู่ในฝ่ายสนับสนุน 3 ผลการวิจัยยังพบว่าความพึงพอใจในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า การตระหนักในคุณค่าของวิชาชีพตำรวจมากที่สุด รองลงมาคือการเป็นที่ยอมรับทางสังคม และด้านความสำเร็จในงาน ตามลำดับ นอกจากนี้ยังพบว่าข้าราชการกองบังคับการสนับสนุน กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน ที่มีภูมิหลังแตกต่างกัน มีความสุขในการปฏิบัติงานในแต่ละด้านไม่แตกต่างกันCurricular : BBA/GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26490 SIU IS-T. ความสุขในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ กองบังคับการสนับสนุน กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน) = Work Happiness of Police Officers at General Support Division, Border Patrol Police Bureau [printed text] / คนธรส ชมเทศ, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; อุษณีย์ เสวกวัชรี, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - viii, 101 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: SOM-MBA-2016-05
Independent Study. [MS[MBA]]--Shinawatra University, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน -- ข้าราชการ -- ความพอใจในการทำงาน
[LCSH]ความสุขในการทำงาน -- วิจัย
[LCSH]ตำรวจ -- การปฏิบัติงานKeywords: ข้าราชการตำรวจ
ความสุขในการปฏิบัติงาน
คุณค่าAbstract: การวิจัยนี้ศึกษาระดับความสุข และเปรียบเทียบความสุขในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ กองบังคับการสนับสนุน กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน ในด้านสัมพันธภาพกับบุคลากรในองค์กร ความสำเร็จในงาน การตระหนักในคุณค่าของวิชาชีพตำรวจ การเป็นที่ยอมรับ
ทางสังคม การได้รับการสนับสนุนด้านสวัสดิการขององค์กร จำแนกตามข้อมูลด้านประชากรศาสตร์
ใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูลจากข้าราชการตำรวจ กองบังคับการสนับสนุนกองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน จำนวน 156 คน ใช้สถิติเชิงพรรณนาในการวิเคราะห์ข้อมูลส่วนบุคคล และ
การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว (One-Way ANOVA) ในการทดสอบสมมติฐาน
ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศชายมากกว่าเพศหญิง มีอายุระหว่าง
41 – 50 ปี มีสถานภาพสมรส มีการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรี มีชั้นยศเป็นชั้นประทวน มีรายเพียงพอแต่ไม่เหลือเก็บ อายุการทำงานมากกว่า 20 ปี ปฏิบัติงานอยู่ในฝ่ายสนับสนุน 3 ผลการวิจัยยังพบว่าความพึงพอใจในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า การตระหนักในคุณค่าของวิชาชีพตำรวจมากที่สุด รองลงมาคือการเป็นที่ยอมรับทางสังคม และด้านความสำเร็จในงาน ตามลำดับ นอกจากนี้ยังพบว่าข้าราชการกองบังคับการสนับสนุน กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน ที่มีภูมิหลังแตกต่างกัน มีความสุขในการปฏิบัติงานในแต่ละด้านไม่แตกต่างกันCurricular : BBA/GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26490 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000591584 SIU IS-T: SOM-MBA-2016-05 c.1 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ความเข้าใจต่อการปฏิบัติหน้าที่ด้านการข่าวการก่อการร้ายสากลของข้าราชการตำรวจกองกำกับการ 4 กองบังคับการตำรวจสันติบาล 2 สำนักงานตำรวจแห่งชาติ / ศิริวัฒน์ มนัสพรหม / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU IS-T Title : ความเข้าใจต่อการปฏิบัติหน้าที่ด้านการข่าวการก่อการร้ายสากลของข้าราชการตำรวจกองกำกับการ 4 กองบังคับการตำรวจสันติบาล 2 สำนักงานตำรวจแห่งชาติ Original title : (Understanding Toward Operation of News of International Terrorism Official Police Sub-Division 4 Special Branch 2 Division Royal Thai Police) Material Type: printed text Authors: ศิริวัฒน์ มนัสพรหม, Author ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name ; วรเดช จันทรศร, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: vii, 70 p. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-21
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การพัฒนาบุคลากร
[LCSH]ตำรวจ -- การปฏิบัติงานKeywords: ความเข้าใจต่อการปฏิบัติหน้าที่
การข่าวการก่อการร้ายสากล
ข้าราชการตำรวจกองกำกับการ 4
สำนักงานตำรวจแห่งชาติAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความเข้าใจต่อการปฏิบัติหน้าที่งานด้านการข่าวการก่อการร้ายสากล ของข้าราชการตำรวจกองกำกับการ 4 กองบังคับการตำรวจสันติบาล
2 สำนักงานตำรวจแห่งชาติ และเพื่อเสนอแนะและนำผลการศึกษาไปปรับปรุงและพัฒนาความเข้าใจต่อการปฏิบัติหน้าที่ด้านการข่าวการก่อการร้ายสากล ของข้าราชการตำรวจกองกำกับการ 4
กองบังคับการตำรวจสันติบาล 2 สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ประชากรที่ใช้ในการศึกษาคือ ข้าราชการตำรวจกองกำกับการ 4 กองบังคับการตำรวจสันติบาล 2 สำนักงานตำรวจแห่งชาติ จำนวน 40 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาคือแบบสอบถาม ทำการประมวลผลและวิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมสำเร็จรูปทางสังคมศาสตร์ สถิติที่ใช้ คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที t-test และสถิติการวิเคราะห์ค่าความแปรปรวนทางเดียว One-way ANOVA ผลการวิจัยพบว่า
ข้าราชการตำรวจกองกำกับการ 4 กองบังคับการตำรวจสันติบาล 2 สำนักงานตำรวจแห่งชาติ มีความเข้าใจต่อการปฏิบัติหน้าที่ด้านการข่าว การก่อการร้ายสากลในภาพรวมอยู่ในระดับดีมาก ส่วนการทดสอบสมมติฐานพบว่า ข้าราชการตำรวจกองกำกับการ 4 กองบังคับการตำรวจสันติบาล
2 สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ที่มีอายุ ระดับการศึกษา สถานภาพ อายุราชการและระดับชั้นยศข้าราชการแตกต่างกัน มีความเข้าใจต่อการปฏิบัติหน้าที่ด้านการข่าวการก่อการร้ายสากลไม่แตกต่างกัน
ส่วนข้าราชการตำรวจที่มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือนแตกต่างกัน มีความเข้าใจต่อการปฏิบัติหน้าที่ด้านการข่าวการก่อการร้ายสากลแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05
การปฏิบัติงานด้านการข่าวการก่อการร้ายสากลให้มีประสิทธิภาพจะต้องอาศัยความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ในการปฏิบัติงาน ร่วมกับข้อมูลต่างๆ ที่น่าเชื่อถือ นำมาวิเคราะห์ ตั้งประเด็น และสรุปเป็นข่าวกรอง ซึ่งสิ่งต่างๆ เหล่านี้ล้วนมีความสำคัญและสนับสนุนซึ่งกันและกัน
จากผลการศึกษาที่ได้รับผู้วิจัยมีข้อเสนอแนะให้ผู้บังคับบัญชาควรให้ความสำคัญกับการพัฒนาบุคลากรในสังกัดให้มีความรู้และความเช้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติหน้าที่ด้านการข่าวการก่อการร้ายสากลในทุกด้านเพิ่มมากขึ้น ซึ่งจะส่งผลให้การปฏิบัติหน้าที่ด้านการข่าวการก่อการร้ายสากลมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากยิ่งขึ้นCurricular : GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26610 SIU IS-T. ความเข้าใจต่อการปฏิบัติหน้าที่ด้านการข่าวการก่อการร้ายสากลของข้าราชการตำรวจกองกำกับการ 4 กองบังคับการตำรวจสันติบาล 2 สำนักงานตำรวจแห่งชาติ = (Understanding Toward Operation of News of International Terrorism Official Police Sub-Division 4 Special Branch 2 Division Royal Thai Police) [printed text] / ศิริวัฒน์ มนัสพรหม, Author ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name ; วรเดช จันทรศร, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - vii, 70 p. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-21
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การพัฒนาบุคลากร
[LCSH]ตำรวจ -- การปฏิบัติงานKeywords: ความเข้าใจต่อการปฏิบัติหน้าที่
การข่าวการก่อการร้ายสากล
ข้าราชการตำรวจกองกำกับการ 4
สำนักงานตำรวจแห่งชาติAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความเข้าใจต่อการปฏิบัติหน้าที่งานด้านการข่าวการก่อการร้ายสากล ของข้าราชการตำรวจกองกำกับการ 4 กองบังคับการตำรวจสันติบาล
2 สำนักงานตำรวจแห่งชาติ และเพื่อเสนอแนะและนำผลการศึกษาไปปรับปรุงและพัฒนาความเข้าใจต่อการปฏิบัติหน้าที่ด้านการข่าวการก่อการร้ายสากล ของข้าราชการตำรวจกองกำกับการ 4
กองบังคับการตำรวจสันติบาล 2 สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ประชากรที่ใช้ในการศึกษาคือ ข้าราชการตำรวจกองกำกับการ 4 กองบังคับการตำรวจสันติบาล 2 สำนักงานตำรวจแห่งชาติ จำนวน 40 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาคือแบบสอบถาม ทำการประมวลผลและวิเคราะห์ข้อมูลด้วยโปรแกรมสำเร็จรูปทางสังคมศาสตร์ สถิติที่ใช้ คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่าที t-test และสถิติการวิเคราะห์ค่าความแปรปรวนทางเดียว One-way ANOVA ผลการวิจัยพบว่า
ข้าราชการตำรวจกองกำกับการ 4 กองบังคับการตำรวจสันติบาล 2 สำนักงานตำรวจแห่งชาติ มีความเข้าใจต่อการปฏิบัติหน้าที่ด้านการข่าว การก่อการร้ายสากลในภาพรวมอยู่ในระดับดีมาก ส่วนการทดสอบสมมติฐานพบว่า ข้าราชการตำรวจกองกำกับการ 4 กองบังคับการตำรวจสันติบาล
2 สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ที่มีอายุ ระดับการศึกษา สถานภาพ อายุราชการและระดับชั้นยศข้าราชการแตกต่างกัน มีความเข้าใจต่อการปฏิบัติหน้าที่ด้านการข่าวการก่อการร้ายสากลไม่แตกต่างกัน
ส่วนข้าราชการตำรวจที่มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือนแตกต่างกัน มีความเข้าใจต่อการปฏิบัติหน้าที่ด้านการข่าวการก่อการร้ายสากลแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05
การปฏิบัติงานด้านการข่าวการก่อการร้ายสากลให้มีประสิทธิภาพจะต้องอาศัยความรู้ ความสามารถ ประสบการณ์ในการปฏิบัติงาน ร่วมกับข้อมูลต่างๆ ที่น่าเชื่อถือ นำมาวิเคราะห์ ตั้งประเด็น และสรุปเป็นข่าวกรอง ซึ่งสิ่งต่างๆ เหล่านี้ล้วนมีความสำคัญและสนับสนุนซึ่งกันและกัน
จากผลการศึกษาที่ได้รับผู้วิจัยมีข้อเสนอแนะให้ผู้บังคับบัญชาควรให้ความสำคัญกับการพัฒนาบุคลากรในสังกัดให้มีความรู้และความเช้าใจเกี่ยวกับการปฏิบัติหน้าที่ด้านการข่าวการก่อการร้ายสากลในทุกด้านเพิ่มมากขึ้น ซึ่งจะส่งผลให้การปฏิบัติหน้าที่ด้านการข่าวการก่อการร้ายสากลมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากยิ่งขึ้นCurricular : GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26610 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000592582 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-21 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000592558 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-21 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. บทบาทในการทำงานของข้าราชการตำรวจกองกำกับการสายตรวจ 191 ที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล / ประเดิม ดาวสว่าง / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU IS-T Title : บทบาทในการทำงานของข้าราชการตำรวจกองกำกับการสายตรวจ 191 ที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล Original title : Role in the Functioning of the Police Forces to Monitor Calls Directed at 191 are Efficiency and Productivity Material Type: printed text Authors: ประเดิม ดาวสว่าง, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: vii, 59 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-05
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ตำรวจ -- การปฏิบัติงาน
[LCSH]ประสิทธิภาพในการทำงานKeywords: สำนักงานตำรวจแห่งชาติ,
กองกำกับการสายตรวจ 191Abstract: ตำรวจไทย หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า ตำรวจแห่งชาติ (Royal Thai Police) เป็นตำรวจแห่งชาติของประเทศไทย ประกอบด้วย บรรดาเจ้าหน้าที่ของรัฐสังกัดสำนักงานตำรวจแห่งชาติซึ่งเป็นส่วนราชการไม่สังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี กระทรวงหรือทบวง มีฐานะเป็นกรม และอยู่ในบังคับบัญชาของนายกรัฐมนตรี มีหน้าที่ตรวจตรารักษาความสงบ จับกุม และปราบปรามผู้กระทำผิดกฎหมาย เป็นผู้ที่มีหน้าที่ความรับผิดชอบอันใหญ่หลวงในการดูแลคุ้มครอง ให้เกิดความสงบสุขแก่พลเมืองของประเทศกองกำกับการสายตรวจ เป็นหน่วยงานหนึ่งของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ โดยข้าราชการตำรวจมีบทบาท และหน้าที่ป้องกัน เพื่อป้องกันมิให้อาชญากรรมเกิดขึ้น โดยปฏิบัติหน้าที่ในเชิงรุกด้วยวิธีการต่าง ๆ เช่น งานสายตรวจออกตรวจป้องกันภัย งานสืบสวนหาข่าว งานตำรวจชุมชนมวลชนสัมพันธ์ ฯลฯ วัตถุประสงค์ของการศึกษาวิจัย เพื่อศึกษาถึงบทบาทในการทำงานของข้าราชการตำรวจที่มีประสิทธิภาพต่อการทำงานกองกำกับการสายตรวจ 191 และเพื่อศึกษาถึงความผูกพันในองค์กรของข้าราชการตำรวจกองกำกับการสายตรวจ 191 โดยมีกลุ่มตัวอย่างจากประชาการที่เป็นข้าราชการตำรวจกองกำกับการสายตรวจ 191 จำนวน 200 คน ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับเพื่อได้เข้าใจถึงบทบาทและประสิทธิภาพในการทำงานของข้าราชการตำรวจกองกำกับการสายตรวจ 191 ไปปรับปรุงให้มีประสิทธิภาพและเพื่อได้ทราบถึงความผูกพันในองค์กรของข้าราชการตำรวจกองกำกับการสายตรวจได้ชัดเจนมากขึ้น
สรุปผลที่ได้จากการวิจัยครั้งนี้ มีข้อเสนอแนะที่ได้จากการศึกษาวิจัย เรื่องเรื่อง บทบาทในการทำงานของข้าราชการตำรวจกองกำกับการสายตรวจ 191 ที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล สรุปได้ว่าข้าราชการตำรวจกองกำกับการสายตรวจ 191 มีบทบาทและประสิทธภาพในเรื่อง “รับฟังความคิดเห็นของประชาชน” และ “ทำงานอย่างเต็มความสามารถ” มีความผูกพันธ์ต่อองค์กรในเรื่อง “องค์กรเป็นที่ยอมรับและเชื่อถือ” แต่อาจมีความผูกพันธ์ต่อองค์กรน้อย สังเกตุจากข้อคำถามว่า “เมื่อถึงเวลาเลิกงานท่านรีบออกจากที่ทำงานโดยเร็ว” เนื่องจากมีผู้ตอบแบบสอบถามข้อนี้เป็นคะแนนเฉลี่ยสูงที่สุด และข้าราชการตำรวจกองกำกับการสายตรวจ 191 ไม่รู้สึกว่า สมาชิกในองค์กรลดลงอย่างรวดเร็ว แสดงให้เห็นว่า ข้าราชการตำรวจดังกล่าวยังมีความประสงค์ที่จะทำงานกับองค์กรแห่งนี้ต่อไปCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26712 SIU IS-T. บทบาทในการทำงานของข้าราชการตำรวจกองกำกับการสายตรวจ 191 ที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล = Role in the Functioning of the Police Forces to Monitor Calls Directed at 191 are Efficiency and Productivity [printed text] / ประเดิม ดาวสว่าง, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - vii, 59 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-05
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ตำรวจ -- การปฏิบัติงาน
[LCSH]ประสิทธิภาพในการทำงานKeywords: สำนักงานตำรวจแห่งชาติ,
กองกำกับการสายตรวจ 191Abstract: ตำรวจไทย หรือชื่ออย่างเป็นทางการว่า ตำรวจแห่งชาติ (Royal Thai Police) เป็นตำรวจแห่งชาติของประเทศไทย ประกอบด้วย บรรดาเจ้าหน้าที่ของรัฐสังกัดสำนักงานตำรวจแห่งชาติซึ่งเป็นส่วนราชการไม่สังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี กระทรวงหรือทบวง มีฐานะเป็นกรม และอยู่ในบังคับบัญชาของนายกรัฐมนตรี มีหน้าที่ตรวจตรารักษาความสงบ จับกุม และปราบปรามผู้กระทำผิดกฎหมาย เป็นผู้ที่มีหน้าที่ความรับผิดชอบอันใหญ่หลวงในการดูแลคุ้มครอง ให้เกิดความสงบสุขแก่พลเมืองของประเทศกองกำกับการสายตรวจ เป็นหน่วยงานหนึ่งของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ โดยข้าราชการตำรวจมีบทบาท และหน้าที่ป้องกัน เพื่อป้องกันมิให้อาชญากรรมเกิดขึ้น โดยปฏิบัติหน้าที่ในเชิงรุกด้วยวิธีการต่าง ๆ เช่น งานสายตรวจออกตรวจป้องกันภัย งานสืบสวนหาข่าว งานตำรวจชุมชนมวลชนสัมพันธ์ ฯลฯ วัตถุประสงค์ของการศึกษาวิจัย เพื่อศึกษาถึงบทบาทในการทำงานของข้าราชการตำรวจที่มีประสิทธิภาพต่อการทำงานกองกำกับการสายตรวจ 191 และเพื่อศึกษาถึงความผูกพันในองค์กรของข้าราชการตำรวจกองกำกับการสายตรวจ 191 โดยมีกลุ่มตัวอย่างจากประชาการที่เป็นข้าราชการตำรวจกองกำกับการสายตรวจ 191 จำนวน 200 คน ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับเพื่อได้เข้าใจถึงบทบาทและประสิทธิภาพในการทำงานของข้าราชการตำรวจกองกำกับการสายตรวจ 191 ไปปรับปรุงให้มีประสิทธิภาพและเพื่อได้ทราบถึงความผูกพันในองค์กรของข้าราชการตำรวจกองกำกับการสายตรวจได้ชัดเจนมากขึ้น
สรุปผลที่ได้จากการวิจัยครั้งนี้ มีข้อเสนอแนะที่ได้จากการศึกษาวิจัย เรื่องเรื่อง บทบาทในการทำงานของข้าราชการตำรวจกองกำกับการสายตรวจ 191 ที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล สรุปได้ว่าข้าราชการตำรวจกองกำกับการสายตรวจ 191 มีบทบาทและประสิทธภาพในเรื่อง “รับฟังความคิดเห็นของประชาชน” และ “ทำงานอย่างเต็มความสามารถ” มีความผูกพันธ์ต่อองค์กรในเรื่อง “องค์กรเป็นที่ยอมรับและเชื่อถือ” แต่อาจมีความผูกพันธ์ต่อองค์กรน้อย สังเกตุจากข้อคำถามว่า “เมื่อถึงเวลาเลิกงานท่านรีบออกจากที่ทำงานโดยเร็ว” เนื่องจากมีผู้ตอบแบบสอบถามข้อนี้เป็นคะแนนเฉลี่ยสูงที่สุด และข้าราชการตำรวจกองกำกับการสายตรวจ 191 ไม่รู้สึกว่า สมาชิกในองค์กรลดลงอย่างรวดเร็ว แสดงให้เห็นว่า ข้าราชการตำรวจดังกล่าวยังมีความประสงค์ที่จะทำงานกับองค์กรแห่งนี้ต่อไปCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26712 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000593226 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-05 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000593218 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-05 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการปฏิบัติงานด้านการป้องกันและปราบปราม ยาเสพติดของเจ้าหน้าที่ตำรวจชุดปราบปรามยาเสพติด สถานีตำรวจภูธรในพื้นที่จังหวัดราชบุรี / พงษ์รวี ค้าทวี / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU IS-T Title : ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการปฏิบัติงานด้านการป้องกันและปราบปราม ยาเสพติดของเจ้าหน้าที่ตำรวจชุดปราบปรามยาเสพติด สถานีตำรวจภูธรในพื้นที่จังหวัดราชบุรี Original title : Factors Affecting to Performance in Eliminating Narcotics Consumption by the Police Narcotics Ad Hoc Provincial Police in Ratchaburi Province Material Type: printed text Authors: พงษ์รวี ค้าทวี, Author ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name ; วรเดช จันทรศร, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: ix, 89 น. Layout: ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-19
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ตำรวจ -- การปฏิบัติงาน
[LCSH]ยาเสพติด -- ราชบุรี -- การป้องกันและควบคุมKeywords: ปัจจัย
ผลกระทบ
การปฏิบัติงาน
การป้องกันและปราบปรามยาเสพติดAbstract: การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด 2) วิเคราะห์ถึงสาเหตุที่ทำให้เกิดปัญหาการดำเนินงาน 3) ศึกษาหาวิธีการแก้ไขสาเหตุของปัจจัยในการดำเนินงานของเจ้าหน้าที่ตำรวจชุดปราบปรามยาเสพติด ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ ข้าราชการตำรวจที่ปฏิบัติหน้าที่ชุดป้องกันและปราบปรามยาเสพติดของสถานีตำรวจภูธรในจังหวัดราชบุรี เพศชาย จำนวน 167 นาย การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ดำเนินการเก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ ได้แก่ ค่าความถี่ร้อยละ ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยระหว่างกลุ่ม 2 กลุ่มด้วย t-test การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวและเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยรายคู่ด้วยวิธี LSD
ผลการวิจัย พบว่า 1. ปัจจัยที่ส่งผลต่อการดำเนินงานเรียงลำดับจากมากไปน้อย ได้แก่ ด้านการติดต่อสื่อสารและการประสานงาน ด้านการวางแผนจัดทรัพยากรที่ต้องการใช้ในการปฏิบัติงาน ด้านสมรรถนะของบุคลากร และด้านงบประมาณและวัสดุอุปกรณ์ในการปฏิบัติงาน ด้านการยอมรับในอำนาจหน้าที่ของผู้ปฏิบัติงาน และด้านเวลาและการจัดสรรทรัพยากร ตามลำดับ 2. สาเหตุที่ทำให้เกิดปัญหาในการทำงานมากที่สุด พบว่า การติดต่อสื่อสารและการประสานงานและด้านการวางแผนจัดทรัพยากรที่ต้องการใช้ในการปฏิบัติงาน 3. ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ อายุ ระดับการศึกษา อายุงาน ชั้นยศ รายได้เฉลี่ยต่อเดือน ระยะเวลาในการปฏิบัติงาน และการเข้ารับการอบรมที่แตกต่างกัน ส่งผลให้ระดับความคิดเห็นต่อปัจจัยที่ส่งผลต่อการดำเนินงานแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
ข้อเสนอแนะในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ 1. การติดต่อสื่อสารและการประสานงาน ผู้บังคับบัญชาควรอธิบายแผนงานที่สั่งการไปยังเจ้าหน้าที่ตำรวจ ถึงวัตถุประสงค์ วิธีการ ผลลัพธ์ที่ต้องการ ตลอดจนรับฟังความคิดเห็น และให้โอกาสเจ้าหน้าที่ตำรวจได้ซักถาม เพื่อให้เจ้าหน้าที่ตำรวจได้
ทำงานด้วยความเข้าใจ มีการติดต่อ ประสานงาน หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการป้องกันปราบปรามยาเสพติด ในรูปแบบการทำงานแบบบูรณาการร่วมกัน 2. การฝึกอบรม ผู้บังคับบัญชาควรจัดการอบรมให้กับเจ้าหน้าที่ตำรวจผู้ปฏิบัติงาน เพื่อให้ทราบวัตถุประสงค์กระบวนการการทำงาน เป็นแนวทางให้แก่ผู้ปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. ด้านการใช้เทคโนโลยี ผู้บังคับบัญชาควรจัดการอบรมการใช้เทคโนโลยีในการปฏิบัติงานให้กับเจ้าหน้าที่ตำรวจผู้ปฏิบัติงาน เพื่อช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพ รวดเร็ว สามารถดูข้อมูลย้อนหลังได้ และมีความเป็นระบบมากยิ่งขึ้นCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26526 SIU IS-T. ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการปฏิบัติงานด้านการป้องกันและปราบปราม ยาเสพติดของเจ้าหน้าที่ตำรวจชุดปราบปรามยาเสพติด สถานีตำรวจภูธรในพื้นที่จังหวัดราชบุรี = Factors Affecting to Performance in Eliminating Narcotics Consumption by the Police Narcotics Ad Hoc Provincial Police in Ratchaburi Province [printed text] / พงษ์รวี ค้าทวี, Author ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name ; วรเดช จันทรศร, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - ix, 89 น. : ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-19
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ตำรวจ -- การปฏิบัติงาน
[LCSH]ยาเสพติด -- ราชบุรี -- การป้องกันและควบคุมKeywords: ปัจจัย
ผลกระทบ
การปฏิบัติงาน
การป้องกันและปราบปรามยาเสพติดAbstract: การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด 2) วิเคราะห์ถึงสาเหตุที่ทำให้เกิดปัญหาการดำเนินงาน 3) ศึกษาหาวิธีการแก้ไขสาเหตุของปัจจัยในการดำเนินงานของเจ้าหน้าที่ตำรวจชุดปราบปรามยาเสพติด ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ ข้าราชการตำรวจที่ปฏิบัติหน้าที่ชุดป้องกันและปราบปรามยาเสพติดของสถานีตำรวจภูธรในจังหวัดราชบุรี เพศชาย จำนวน 167 นาย การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ดำเนินการเก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ ได้แก่ ค่าความถี่ร้อยละ ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยระหว่างกลุ่ม 2 กลุ่มด้วย t-test การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวและเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยรายคู่ด้วยวิธี LSD
ผลการวิจัย พบว่า 1. ปัจจัยที่ส่งผลต่อการดำเนินงานเรียงลำดับจากมากไปน้อย ได้แก่ ด้านการติดต่อสื่อสารและการประสานงาน ด้านการวางแผนจัดทรัพยากรที่ต้องการใช้ในการปฏิบัติงาน ด้านสมรรถนะของบุคลากร และด้านงบประมาณและวัสดุอุปกรณ์ในการปฏิบัติงาน ด้านการยอมรับในอำนาจหน้าที่ของผู้ปฏิบัติงาน และด้านเวลาและการจัดสรรทรัพยากร ตามลำดับ 2. สาเหตุที่ทำให้เกิดปัญหาในการทำงานมากที่สุด พบว่า การติดต่อสื่อสารและการประสานงานและด้านการวางแผนจัดทรัพยากรที่ต้องการใช้ในการปฏิบัติงาน 3. ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ อายุ ระดับการศึกษา อายุงาน ชั้นยศ รายได้เฉลี่ยต่อเดือน ระยะเวลาในการปฏิบัติงาน และการเข้ารับการอบรมที่แตกต่างกัน ส่งผลให้ระดับความคิดเห็นต่อปัจจัยที่ส่งผลต่อการดำเนินงานแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
ข้อเสนอแนะในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ 1. การติดต่อสื่อสารและการประสานงาน ผู้บังคับบัญชาควรอธิบายแผนงานที่สั่งการไปยังเจ้าหน้าที่ตำรวจ ถึงวัตถุประสงค์ วิธีการ ผลลัพธ์ที่ต้องการ ตลอดจนรับฟังความคิดเห็น และให้โอกาสเจ้าหน้าที่ตำรวจได้ซักถาม เพื่อให้เจ้าหน้าที่ตำรวจได้
ทำงานด้วยความเข้าใจ มีการติดต่อ ประสานงาน หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการป้องกันปราบปรามยาเสพติด ในรูปแบบการทำงานแบบบูรณาการร่วมกัน 2. การฝึกอบรม ผู้บังคับบัญชาควรจัดการอบรมให้กับเจ้าหน้าที่ตำรวจผู้ปฏิบัติงาน เพื่อให้ทราบวัตถุประสงค์กระบวนการการทำงาน เป็นแนวทางให้แก่ผู้ปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. ด้านการใช้เทคโนโลยี ผู้บังคับบัญชาควรจัดการอบรมการใช้เทคโนโลยีในการปฏิบัติงานให้กับเจ้าหน้าที่ตำรวจผู้ปฏิบัติงาน เพื่อช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพ รวดเร็ว สามารถดูข้อมูลย้อนหลังได้ และมีความเป็นระบบมากยิ่งขึ้นCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26526 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000591691 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-19 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000591709 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-19 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ ฝ่ายอำนวยการ 2 กองบังคับการอำนวยการ กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน / เสน่ห์ พงศาปาน / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : ปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ ฝ่ายอำนวยการ 2 กองบังคับการอำนวยการ กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน Original title : The Factors Influenced on Performance of Police Officers of General StaffSub-Division 2, General Staff Division, Border Patrol Police Bureau Material Type: printed text Authors: เสน่ห์ พงศาปาน, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: ix, 68 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-09
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน
[LCSH]ตำรวจ -- การปฏิบัติงานKeywords: ฝ่ายอำนวยการ,
อิทธิพล,
ประสิทธิภาพAbstract: การศึกษาค้นคว้าอิสระครั้งนี้ เป็นการศึกษาเพื่อศึกษาถึงปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ ฝ่ายอำนวยการ 2 กองบังคับการอำนวยการ กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน เป็นการศึกษาในเชิงคุณภาพ โดยผู้ศึกษาได้ใช้วิธีการเก็บข้อมูลศึกษา 2 วิธี คือ การศึกษาเอกสาร โดยรวบรวมข้อมูลจากเอกสารทางวิชาการ วารสาร สิ่งพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ รายงานวิจัย วิทยานิพนธ์ รายงานการประชุม คู่มือการปฏิบัติงาน ระเบียบ ประกาศ คำสั่ง เอกสารทางราชการ ที่เกี่ยวข้องกับปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติงานของข้าราชตำรวจ เป็นต้น และการศึกษาวิจัยภาคสนาม โดยการใช้แบบสัมภาษณ์ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติงาน ปัญหา อุปสรรค และศึกษาแนวทางในการปรับปรุงและเพื่อเสริมสร้างการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ ทั้งนี้ ผู้ศึกษาได้ทำการสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง ในการศึกษาจึงใช้วิธีการเก็บข้อมูลจากผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จำนวน 12 คน ผลการศึกษาตามวัตถุประสงค์ แยกเป็น 3 ด้าน คือ ด้านปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติงาน พบว่า การแต่งตั้งโยกย้ายประจำทุกปีแต่ไม่มีกำลังพลทดแทน ทำให้การจัดกำลังพลไม่มีเหมาะสมกับงานหรือความสามารถข้าราชตำรวจ ขาดความรู้ความชำนาญ ขาดจิตวิญญาณในการเป็นตำรวจอาชีพ ไม่เต็มใจทำงาน ขาดการจัดอบรมเพื่อพัฒนาบุคคลากรอย่างสม่ำเสมอต่อเนื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างผู้บังคับบัญชากับผู้ใต้บังคับบัญชามีน้อย ขาดแรงจูงใจ ขาดความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ และความกระตือรือร้นในการทำงาน ด้านปัญหาและอุปสรรคในการปฏิบัติงาน พบว่า ปัญหาด้านบุคลากร ยังขาดแคลนกำลังเจ้าหน้าที่ระดับปฏิบัติงาน ผู้บังคับบัญชาไม่มีความยุติธรรม มีการใช้ระบบอุปถัมภ์ในการพิจารณาความดีความชอบผู้บังคับบัญชาขาดความเอาใจใส่ในการปฏิบัติงานของผู้ใต้บังคับบัญชา ส่วนผู้ปฏิบัติขาดการเอาใจใส่ต่องานที่ได้รับมอบหมาย การจัดอบรมพัฒนาบุคลากรมีน้อย ขาดขวัญกำลังใจในการทำงาน ปัญหาด้านวัสดุอุปกรณ์ ขาดแคลนเครื่องมือเครื่องใช้สำหรับการปฏิบัติงาน ไม่เพียงพอ ไม่ทันสมัย ไม่มีประสิทธิภาพ ขาดการนำเทคโนโลยีมาปรับใช้ ปัญหาด้านอาคารสถานที่ มีความคับแคบ สภาพแวดล้อมในสำนักงานไม่เอื้อต่อการปฏิบัติงาน ปัญหาด้านสวัสดิการ ค่าครองชีพ สูงเงินเดือนไม่พอใช้ในการดำรงชีพ อาคารบ้านพักสวัสดิการไม่เพียงพอ สวัสดิการช่วยเหลือข้าราชการชั้นผู้น้อย เช่น ค่าครองชีพ ค่าเช่าบ้านพัก ค่าอาหารกลางวัน ค่าตัดเย็บเครื่องแบบปฏิบัติงาน มีน้อย ส่วนการเบิกค่าการศึกษาบุตรมีความล่าช้าไม่ทันต่อความต้องการใช้เงิน ขาดเงินงบประมาณในการบริหารหน่วย ด้านแนวทางการปรับปรุงแก้ไขและพัฒนาการปฏิบัติงาน พบว่า ต้องจัดหากำลังเจ้าหน้าที่ให้เพียงพอต่อปริมาณ ตรงกับความรู้ความสามารถ ความชำนาญ ต้องจัดอบรมพัฒนาบุคลากรอย่างต่อเนื่อง และต้องให้ความยุติธรรมกับข้าราชการตำรวจอย่างเท่าเทียมกัน เพื่อเสริมสร้างแรงจูงใจในการทำงาน รวมทั้ง จัดกิจกรรมนันทนาการร่วมกันเพื่อสร้างความสัมพันธ์ระหว่างเพื่อนร่วมงานและผู้บังคับบัญชา จัดหาสวัสดิการหรือส่งเสริมอาชีพให้แก่ข้าราชการตรวจและครอบครัว สร้างบรรยากาศในการทำงานและสร้างจิตสำนึกความรับผิดชอบต่อหน้าที่ ที่ได้รับมอบหมาย จัดให้มีการประชุมตามความเหมาะสมเพื่อเปิดโอกาสให้แจ้งปัญหาข้อขัดข้องในการทำงานของแต่ละบุคคลหรือสายงาน สนับสนุนเครื่องมือ และวัสดุอุปกรณ์ให้เพียงพอต่อการใช้งาน ทันต่อเทคโนโลยี รวมทั้งการบำรุงรักษาเครื่องมือในสำนักงานให้มีสภาพพร้อมใช้งานตลอดเวลา Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26895 SIU IS-T. ปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ ฝ่ายอำนวยการ 2 กองบังคับการอำนวยการ กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน = The Factors Influenced on Performance of Police Officers of General StaffSub-Division 2, General Staff Division, Border Patrol Police Bureau [printed text] / เสน่ห์ พงศาปาน, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - ix, 68 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-09
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน
[LCSH]ตำรวจ -- การปฏิบัติงานKeywords: ฝ่ายอำนวยการ,
อิทธิพล,
ประสิทธิภาพAbstract: การศึกษาค้นคว้าอิสระครั้งนี้ เป็นการศึกษาเพื่อศึกษาถึงปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ ฝ่ายอำนวยการ 2 กองบังคับการอำนวยการ กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน เป็นการศึกษาในเชิงคุณภาพ โดยผู้ศึกษาได้ใช้วิธีการเก็บข้อมูลศึกษา 2 วิธี คือ การศึกษาเอกสาร โดยรวบรวมข้อมูลจากเอกสารทางวิชาการ วารสาร สิ่งพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ รายงานวิจัย วิทยานิพนธ์ รายงานการประชุม คู่มือการปฏิบัติงาน ระเบียบ ประกาศ คำสั่ง เอกสารทางราชการ ที่เกี่ยวข้องกับปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติงานของข้าราชตำรวจ เป็นต้น และการศึกษาวิจัยภาคสนาม โดยการใช้แบบสัมภาษณ์ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติงาน ปัญหา อุปสรรค และศึกษาแนวทางในการปรับปรุงและเพื่อเสริมสร้างการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ ทั้งนี้ ผู้ศึกษาได้ทำการสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง ในการศึกษาจึงใช้วิธีการเก็บข้อมูลจากผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จำนวน 12 คน ผลการศึกษาตามวัตถุประสงค์ แยกเป็น 3 ด้าน คือ ด้านปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติงาน พบว่า การแต่งตั้งโยกย้ายประจำทุกปีแต่ไม่มีกำลังพลทดแทน ทำให้การจัดกำลังพลไม่มีเหมาะสมกับงานหรือความสามารถข้าราชตำรวจ ขาดความรู้ความชำนาญ ขาดจิตวิญญาณในการเป็นตำรวจอาชีพ ไม่เต็มใจทำงาน ขาดการจัดอบรมเพื่อพัฒนาบุคคลากรอย่างสม่ำเสมอต่อเนื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างผู้บังคับบัญชากับผู้ใต้บังคับบัญชามีน้อย ขาดแรงจูงใจ ขาดความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ และความกระตือรือร้นในการทำงาน ด้านปัญหาและอุปสรรคในการปฏิบัติงาน พบว่า ปัญหาด้านบุคลากร ยังขาดแคลนกำลังเจ้าหน้าที่ระดับปฏิบัติงาน ผู้บังคับบัญชาไม่มีความยุติธรรม มีการใช้ระบบอุปถัมภ์ในการพิจารณาความดีความชอบผู้บังคับบัญชาขาดความเอาใจใส่ในการปฏิบัติงานของผู้ใต้บังคับบัญชา ส่วนผู้ปฏิบัติขาดการเอาใจใส่ต่องานที่ได้รับมอบหมาย การจัดอบรมพัฒนาบุคลากรมีน้อย ขาดขวัญกำลังใจในการทำงาน ปัญหาด้านวัสดุอุปกรณ์ ขาดแคลนเครื่องมือเครื่องใช้สำหรับการปฏิบัติงาน ไม่เพียงพอ ไม่ทันสมัย ไม่มีประสิทธิภาพ ขาดการนำเทคโนโลยีมาปรับใช้ ปัญหาด้านอาคารสถานที่ มีความคับแคบ สภาพแวดล้อมในสำนักงานไม่เอื้อต่อการปฏิบัติงาน ปัญหาด้านสวัสดิการ ค่าครองชีพ สูงเงินเดือนไม่พอใช้ในการดำรงชีพ อาคารบ้านพักสวัสดิการไม่เพียงพอ สวัสดิการช่วยเหลือข้าราชการชั้นผู้น้อย เช่น ค่าครองชีพ ค่าเช่าบ้านพัก ค่าอาหารกลางวัน ค่าตัดเย็บเครื่องแบบปฏิบัติงาน มีน้อย ส่วนการเบิกค่าการศึกษาบุตรมีความล่าช้าไม่ทันต่อความต้องการใช้เงิน ขาดเงินงบประมาณในการบริหารหน่วย ด้านแนวทางการปรับปรุงแก้ไขและพัฒนาการปฏิบัติงาน พบว่า ต้องจัดหากำลังเจ้าหน้าที่ให้เพียงพอต่อปริมาณ ตรงกับความรู้ความสามารถ ความชำนาญ ต้องจัดอบรมพัฒนาบุคลากรอย่างต่อเนื่อง และต้องให้ความยุติธรรมกับข้าราชการตำรวจอย่างเท่าเทียมกัน เพื่อเสริมสร้างแรงจูงใจในการทำงาน รวมทั้ง จัดกิจกรรมนันทนาการร่วมกันเพื่อสร้างความสัมพันธ์ระหว่างเพื่อนร่วมงานและผู้บังคับบัญชา จัดหาสวัสดิการหรือส่งเสริมอาชีพให้แก่ข้าราชการตรวจและครอบครัว สร้างบรรยากาศในการทำงานและสร้างจิตสำนึกความรับผิดชอบต่อหน้าที่ ที่ได้รับมอบหมาย จัดให้มีการประชุมตามความเหมาะสมเพื่อเปิดโอกาสให้แจ้งปัญหาข้อขัดข้องในการทำงานของแต่ละบุคคลหรือสายงาน สนับสนุนเครื่องมือ และวัสดุอุปกรณ์ให้เพียงพอต่อการใช้งาน ทันต่อเทคโนโลยี รวมทั้งการบำรุงรักษาเครื่องมือในสำนักงานให้มีสภาพพร้อมใช้งานตลอดเวลา Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26895 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000593762 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-09 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000593754 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-09 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ กองบังคับการสนับสนุน กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน / วีณา สำราญรื่น / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU IS-T Title : ปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ กองบังคับการสนับสนุน กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน Original title : Factors Affecting the Job Performance Satisfaction of General Support Division, Border Patrol Police Bureau Material Type: printed text Authors: วีณา สำราญรื่น, Author ; อาภากร พลเทียร, Associated Name ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: xii, 135 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: SOM-MBA-2016-03
Independent Study. [MS[MBA]]--Shinawatra University, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน -- ข้าราชการ -- ความพอใจในการทำงาน
[LCSH]ความพอใจ
[LCSH]ตำรวจ -- การปฏิบัติงานKeywords: ความพึงพอใจ Abstract: การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจในการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการตำรวจกองบังคับการสนับสนุน กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน 2) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจกองบังคับการสนับสนุน กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน จำแนกตามปัจจัยพื้นฐานส่วนบุคคล
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ ข้าราชการตำรวจกองบังคับการสนับสนุน กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน จำนวน 156 คน เลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีการสุ่มแบบแบ่งเป็นชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการตำรวจกองบังคับการสนับสนุน กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน แบ่งออกเป็น 4 ส่วน คือ แบบสอบถามเกี่ยวกับปัจจัยพื้นฐานส่วนบุคคล แบบสอบถาม วัดระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการตำรวจกองบังคับการสนับสนุน กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน แบบสอบถามความสัมพันธ์ของความพึงพอใจในการปฏิบัติหน้าที่ และความคิดเห็นและข้อเสนอแนะ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ คือ ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ค่าสถิติ t-test ชนิดวิเคราะห์ทางเดียว (One – Way Anova) และการหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์อย่างง่ายแบบ Pearson Product Moment Coefficient
ผลวิจัยพบว่า
1) ข้าราชการตำรวจกองบังคับการสนับสนุน กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน มีระดับความ พึงพอใจในการปฏิบัติหน้าที่ ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก มาจากปัจจัยด้านเกี่ยวกับงานและปัจจัยด้านที่ไม่เกี่ยวข้องกับงานหรือสิ่งแวดล้อม เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ด้านความมั่นคงในงาน อยู่ในระดับมากที่สุด ส่วนระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติหน้าที่ รายด้านที่อยู่ในระดับมาก ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ด้านการได้รับความยอมรับนับถือ ด้านชีวิตส่วนตัว ด้านความสำเร็จของงาน ด้านสภาพการทำงาน ด้านการบังคับบัญชา ด้านนโยบายการบริหาร ด้านความก้าวหน้าในตำแหน่งงาน ด้านลักษณะงานความรับผิดชอบ ด้านเงินเดือน,รายได้ เรียงตามลำดับ
2) ปัจจัยส่วนบุคคล ปัจจัยด้านเกี่ยวกับงาน ปัจจัยด้านที่ไม่เกี่ยวข้องกับงาน มีความสัมพันธ์เชิงบวกความพึงพอใจในการปฏิบัติหน้าที่ราชการของข้าราชการตำรวจ กองบังคับการสนับสนุน กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน ต่อด้านบุคคล ด้านงาน และด้านการบริหารจัดการCurricular : BBA/GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26487 SIU IS-T. ปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ กองบังคับการสนับสนุน กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน = Factors Affecting the Job Performance Satisfaction of General Support Division, Border Patrol Police Bureau [printed text] / วีณา สำราญรื่น, Author ; อาภากร พลเทียร, Associated Name ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - xii, 135 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: SOM-MBA-2016-03
Independent Study. [MS[MBA]]--Shinawatra University, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน -- ข้าราชการ -- ความพอใจในการทำงาน
[LCSH]ความพอใจ
[LCSH]ตำรวจ -- การปฏิบัติงานKeywords: ความพึงพอใจ Abstract: การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจในการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการตำรวจกองบังคับการสนับสนุน กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน 2) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจกองบังคับการสนับสนุน กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน จำแนกตามปัจจัยพื้นฐานส่วนบุคคล
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ ข้าราชการตำรวจกองบังคับการสนับสนุน กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน จำนวน 156 คน เลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีการสุ่มแบบแบ่งเป็นชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นแบบสอบถามเกี่ยวกับระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการตำรวจกองบังคับการสนับสนุน กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน แบ่งออกเป็น 4 ส่วน คือ แบบสอบถามเกี่ยวกับปัจจัยพื้นฐานส่วนบุคคล แบบสอบถาม วัดระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการตำรวจกองบังคับการสนับสนุน กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน แบบสอบถามความสัมพันธ์ของความพึงพอใจในการปฏิบัติหน้าที่ และความคิดเห็นและข้อเสนอแนะ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ คือ ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Mean) ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) ค่าสถิติ t-test ชนิดวิเคราะห์ทางเดียว (One – Way Anova) และการหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์อย่างง่ายแบบ Pearson Product Moment Coefficient
ผลวิจัยพบว่า
1) ข้าราชการตำรวจกองบังคับการสนับสนุน กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน มีระดับความ พึงพอใจในการปฏิบัติหน้าที่ ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก มาจากปัจจัยด้านเกี่ยวกับงานและปัจจัยด้านที่ไม่เกี่ยวข้องกับงานหรือสิ่งแวดล้อม เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า ด้านความมั่นคงในงาน อยู่ในระดับมากที่สุด ส่วนระดับความพึงพอใจในการปฏิบัติหน้าที่ รายด้านที่อยู่ในระดับมาก ด้านความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ด้านการได้รับความยอมรับนับถือ ด้านชีวิตส่วนตัว ด้านความสำเร็จของงาน ด้านสภาพการทำงาน ด้านการบังคับบัญชา ด้านนโยบายการบริหาร ด้านความก้าวหน้าในตำแหน่งงาน ด้านลักษณะงานความรับผิดชอบ ด้านเงินเดือน,รายได้ เรียงตามลำดับ
2) ปัจจัยส่วนบุคคล ปัจจัยด้านเกี่ยวกับงาน ปัจจัยด้านที่ไม่เกี่ยวข้องกับงาน มีความสัมพันธ์เชิงบวกความพึงพอใจในการปฏิบัติหน้าที่ราชการของข้าราชการตำรวจ กองบังคับการสนับสนุน กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน ต่อด้านบุคคล ด้านงาน และด้านการบริหารจัดการCurricular : BBA/GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26487 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000591568 SIU IS-T: SOM-MBA-2016-03 c.1 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ปัจจัยที่มีผลต่อแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจชั้นประทวน กองกำกับการอารักขา 2 กองบังคับการอารักขาและควบคุมฝูงชน / ธงชัย มานะพัฒนเสถียร / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : ปัจจัยที่มีผลต่อแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจชั้นประทวน กองกำกับการอารักขา 2 กองบังคับการอารักขาและควบคุมฝูงชน Original title : Factors Affecting Work Motivation Among the Non-Commissioned Police. The Royal Protection Police Sub-Division 2, Protection and Crowd Control Division Material Type: printed text Authors: ธงชัย มานะพัฒนเสถียร, Author ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name ; วรเดช จันทรศร, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: x, 99 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-03
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ตำรวจ -- การปฏิบัติงาน
[LCSH]แรงจูงใจในการปฏิบัติหน้าที่Keywords: แรงจูงใจ,
การปฏิบัติงาน,
กองกำกับการอารักขา 2 กองบังคับการอารักขาและควบคุมฝูงชนAbstract: การศึกษาเรื่องปัจจัยที่มีผลต่อแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจชั้นประทวน กองกำกับการอารักขา 2 กองบังคับการอารักขาและควบคุมฝูงชน เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับและปัจจัยที่มีผลต่อแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจชั้นประทวน กองกำกับการอารักขา 2 กองบังคับการอารักขาและควบคุมฝูงชน
ผลการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถาม ส่วนมากเป็นเพศชาย มีอายุ 20 – 30 ปี มีอายุราชการ 1 – 10 ปี มีระดับการศึกษาระดับปริญญาตรี มีระดับชั้นยศสิบตำรวจตรี และปฏิบัติงานอยู่ในสายงานอารักขาที่ 4 ปัจจัยที่มีผลต่อแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจชั้นประทวน กองกำกับการอารักขา 2 กองบังคับการอารักขาและควบคุมฝูงชน โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายปัจจัย พบว่า ในปัจจัยจูงใจ โดยรวมและรายด้านทุกด้านอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านแล้วเรียงอันดับจากมากไปน้อย ได้แก่ ด้านความสำเร็จของงาน ด้านเนื้องาน ด้านความรับผิดชอบต่องาน ด้านความรู้สึกยอมรับ และด้านความก้าวหน้า ส่วนปัจจัยค้ำจุน โดยภาพรวมและรายด้านทุกด้านอยู่ในระดับมากเมื่อพิจารณารายด้านแล้วเรียงอันดับจากมากไปน้อย ได้แก่ ด้านนโยบายและการบริหารขององค์การ ด้านความสัมพันธ์ระหว่างผู้ร่วมงาน ด้านการบังคับบัญชา ด้านเงินเดือนและความมั่นคงในงาน และด้านสภาพแวดล้อมในการทำงาน ตามลำดับ ผลการทดสอบสมมติฐานพบว่า สถานภาพส่วนบุคคลด้านเพศ อายุ ระดับการศึกษา อายุราชการ ชั้นยศ และสายงานที่ปฏิบัติ แตกต่างกันมีแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจชั้นประทวน กองกำกับการอารักขา 2 กองบังคับการอารักขาและควบคุมฝูงชนไม่แตกต่างกัน
ข้อเสนอแนะ: ประการแรก ผู้บังคับบัญชาของหน่วยงานควรปรับปรุงหาแนวทางในการแก้ไขปัญหา ควรมีการจัดฝึกอบรม ศึกษาดูงานให้กับบุคลากรเพื่อเพิ่มพูนความรู้ ควรส่งเสริมให้กำลังพลได้แสดงความคิดเห็นอย่างเต็มที่ ควรจัดให้มีเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์เครื่องใช้สำนักงานอย่างเพียงพอและมีความทันสมัย ควรจัดสวัสดิการเงินกู้ช่วยเหลือทางการเงินด้านต่าง ๆ รวมทั้งควรจัดให้มีสวัสดิการอาหารกลางวันและจำหน่ายสินค้าราคาถูกให้กับกำลังพล ในด้านนโยบายและการบริหารขององค์การ ผู้บังคับบัญชาควรส่งเสริมให้กำลังพลมีส่วนร่วมในการจัดทำแผนงานการปฏิบัติงาน และใช้ภาวะผู้นำในการบริหารองค์การเพื่อทำให้กำลังพลเกิดความกระตือรือร้นในการทำงานอยู่เสมอ และประการที่สอง ในการศึกษางานวิจัยครั้งต่อไป ควรพิจารณาหาวิธีการวิจัยในลักษณะอื่นนอกเหนือจากการวิจัยแบบสำรวจเพื่อให้ได้ข้อมูลที่หลากหลาย
Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26684 SIU IS-T. ปัจจัยที่มีผลต่อแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจชั้นประทวน กองกำกับการอารักขา 2 กองบังคับการอารักขาและควบคุมฝูงชน = Factors Affecting Work Motivation Among the Non-Commissioned Police. The Royal Protection Police Sub-Division 2, Protection and Crowd Control Division [printed text] / ธงชัย มานะพัฒนเสถียร, Author ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name ; วรเดช จันทรศร, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - x, 99 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-03
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ตำรวจ -- การปฏิบัติงาน
[LCSH]แรงจูงใจในการปฏิบัติหน้าที่Keywords: แรงจูงใจ,
การปฏิบัติงาน,
กองกำกับการอารักขา 2 กองบังคับการอารักขาและควบคุมฝูงชนAbstract: การศึกษาเรื่องปัจจัยที่มีผลต่อแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจชั้นประทวน กองกำกับการอารักขา 2 กองบังคับการอารักขาและควบคุมฝูงชน เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับและปัจจัยที่มีผลต่อแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจชั้นประทวน กองกำกับการอารักขา 2 กองบังคับการอารักขาและควบคุมฝูงชน
ผลการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถาม ส่วนมากเป็นเพศชาย มีอายุ 20 – 30 ปี มีอายุราชการ 1 – 10 ปี มีระดับการศึกษาระดับปริญญาตรี มีระดับชั้นยศสิบตำรวจตรี และปฏิบัติงานอยู่ในสายงานอารักขาที่ 4 ปัจจัยที่มีผลต่อแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจชั้นประทวน กองกำกับการอารักขา 2 กองบังคับการอารักขาและควบคุมฝูงชน โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายปัจจัย พบว่า ในปัจจัยจูงใจ โดยรวมและรายด้านทุกด้านอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านแล้วเรียงอันดับจากมากไปน้อย ได้แก่ ด้านความสำเร็จของงาน ด้านเนื้องาน ด้านความรับผิดชอบต่องาน ด้านความรู้สึกยอมรับ และด้านความก้าวหน้า ส่วนปัจจัยค้ำจุน โดยภาพรวมและรายด้านทุกด้านอยู่ในระดับมากเมื่อพิจารณารายด้านแล้วเรียงอันดับจากมากไปน้อย ได้แก่ ด้านนโยบายและการบริหารขององค์การ ด้านความสัมพันธ์ระหว่างผู้ร่วมงาน ด้านการบังคับบัญชา ด้านเงินเดือนและความมั่นคงในงาน และด้านสภาพแวดล้อมในการทำงาน ตามลำดับ ผลการทดสอบสมมติฐานพบว่า สถานภาพส่วนบุคคลด้านเพศ อายุ ระดับการศึกษา อายุราชการ ชั้นยศ และสายงานที่ปฏิบัติ แตกต่างกันมีแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจชั้นประทวน กองกำกับการอารักขา 2 กองบังคับการอารักขาและควบคุมฝูงชนไม่แตกต่างกัน
ข้อเสนอแนะ: ประการแรก ผู้บังคับบัญชาของหน่วยงานควรปรับปรุงหาแนวทางในการแก้ไขปัญหา ควรมีการจัดฝึกอบรม ศึกษาดูงานให้กับบุคลากรเพื่อเพิ่มพูนความรู้ ควรส่งเสริมให้กำลังพลได้แสดงความคิดเห็นอย่างเต็มที่ ควรจัดให้มีเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์เครื่องใช้สำนักงานอย่างเพียงพอและมีความทันสมัย ควรจัดสวัสดิการเงินกู้ช่วยเหลือทางการเงินด้านต่าง ๆ รวมทั้งควรจัดให้มีสวัสดิการอาหารกลางวันและจำหน่ายสินค้าราคาถูกให้กับกำลังพล ในด้านนโยบายและการบริหารขององค์การ ผู้บังคับบัญชาควรส่งเสริมให้กำลังพลมีส่วนร่วมในการจัดทำแผนงานการปฏิบัติงาน และใช้ภาวะผู้นำในการบริหารองค์การเพื่อทำให้กำลังพลเกิดความกระตือรือร้นในการทำงานอยู่เสมอ และประการที่สอง ในการศึกษางานวิจัยครั้งต่อไป ควรพิจารณาหาวิธีการวิจัยในลักษณะอื่นนอกเหนือจากการวิจัยแบบสำรวจเพื่อให้ได้ข้อมูลที่หลากหลาย
Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26684 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000593259 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-03 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000593192 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-03 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ปัญหาการปราบปรามอาชญากรรมในพื้นที่สถานีตำรวจภูธรบ่อผุด อำเภอเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี / ศักดิ์ชาย เจริญขุน / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU IS-T Title : ปัญหาการปราบปรามอาชญากรรมในพื้นที่สถานีตำรวจภูธรบ่อผุด อำเภอเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี Original title : Problems in Crime Suppression of Boh Phud Police Station, Samui Island, Suratthani Province Material Type: printed text Authors: ศักดิ์ชาย เจริญขุน, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; สมพร เพชรสงค์, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: vii, 80 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-37
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ตำรวจ -- การปฏิบัติงาน
[LCSH]อาชญากรรม -- การป้องกันและควบคุม
[LCSH]อาชญากรรม -- สุราษฎร์ธานีKeywords: ปราบปรามอาชญากรรม,
ปัญหาAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาระดับปัญหาที่เกิดจากการปราบปรามอาชญากรรม และศึกษาแนวทางในการแก้ไขปัญหาการปราบปรามอาชญากรรมในพื้นที่สถานีตำรวจภูธรบ่อผุด กลุ่มตัวอย่าง คือ ข้าราชการตำรวจ สถานีตำรวจภูธรบ่อผุด จำนวน 135 นาย ใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูล ใช้สถิติเชิงพรรณาและสถิติเชิงอนุมานในการวิเคราะห์ข้อมูลและทดสอบสมมุติฐาน
ผลการวิจัยพบว่า ปัญหาการปราบปรามอาชญากรรมในพื้นที่สถานีตำรวจภูธรบ่อผุด อำเภอเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี พบว่า โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เรียงลำดับจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านการจัดการ ด้านงบประมาณ ด้านวัสดุอุปกรณ์ และ ด้านบุคลากรเมื่อพิจารณาด้านบุคลากร เป็นรายข้อ พบว่า การแก้ปัญหาเฉพาะหน้าหรือสถานการณ์วิกฤตอยู่ในระดับสูงที่สุด ส่วนข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ กำลังคนที่ได้รับการพัฒนา เมื่อพิจารณาด้านงบประมาณเป็นรายข้อ พบว่า การจัดตั้งงบประมาณ อยู่ในระดับสูงที่สุด ส่วนข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ การรายงานการเงิน สำหรับด้านวัสดุอุปกรณ์ เมื่อพิจารณาในเป็นรายข้อ พบว่า ความรวดเร็วคล่องตัวในการเบิกรับนำไปใช้อยู่ในระดับสูงที่สุด ส่วนข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ เครื่องมือสื่อสารทันสมัย สะดวกในการใช้ สุดท้ายคือด้านการจัดการ เมื่อพิจารณาในเป็นรายข้อ พบว่า การมอบหมายงานแก่ผู้ปฏิบัติมีความเหมาะสม อยู่ในระดับสูงที่สุด ส่วนข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ การส่งเสริมความก้าวหน้าในตำแหน่งของเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27023 SIU IS-T. ปัญหาการปราบปรามอาชญากรรมในพื้นที่สถานีตำรวจภูธรบ่อผุด อำเภอเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี = Problems in Crime Suppression of Boh Phud Police Station, Samui Island, Suratthani Province [printed text] / ศักดิ์ชาย เจริญขุน, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; สมพร เพชรสงค์, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - vii, 80 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-37
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ตำรวจ -- การปฏิบัติงาน
[LCSH]อาชญากรรม -- การป้องกันและควบคุม
[LCSH]อาชญากรรม -- สุราษฎร์ธานีKeywords: ปราบปรามอาชญากรรม,
ปัญหาAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาระดับปัญหาที่เกิดจากการปราบปรามอาชญากรรม และศึกษาแนวทางในการแก้ไขปัญหาการปราบปรามอาชญากรรมในพื้นที่สถานีตำรวจภูธรบ่อผุด กลุ่มตัวอย่าง คือ ข้าราชการตำรวจ สถานีตำรวจภูธรบ่อผุด จำนวน 135 นาย ใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูล ใช้สถิติเชิงพรรณาและสถิติเชิงอนุมานในการวิเคราะห์ข้อมูลและทดสอบสมมุติฐาน
ผลการวิจัยพบว่า ปัญหาการปราบปรามอาชญากรรมในพื้นที่สถานีตำรวจภูธรบ่อผุด อำเภอเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี พบว่า โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เรียงลำดับจากมากไปหาน้อย ดังนี้ ด้านการจัดการ ด้านงบประมาณ ด้านวัสดุอุปกรณ์ และ ด้านบุคลากรเมื่อพิจารณาด้านบุคลากร เป็นรายข้อ พบว่า การแก้ปัญหาเฉพาะหน้าหรือสถานการณ์วิกฤตอยู่ในระดับสูงที่สุด ส่วนข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ กำลังคนที่ได้รับการพัฒนา เมื่อพิจารณาด้านงบประมาณเป็นรายข้อ พบว่า การจัดตั้งงบประมาณ อยู่ในระดับสูงที่สุด ส่วนข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ การรายงานการเงิน สำหรับด้านวัสดุอุปกรณ์ เมื่อพิจารณาในเป็นรายข้อ พบว่า ความรวดเร็วคล่องตัวในการเบิกรับนำไปใช้อยู่ในระดับสูงที่สุด ส่วนข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ เครื่องมือสื่อสารทันสมัย สะดวกในการใช้ สุดท้ายคือด้านการจัดการ เมื่อพิจารณาในเป็นรายข้อ พบว่า การมอบหมายงานแก่ผู้ปฏิบัติมีความเหมาะสม อยู่ในระดับสูงที่สุด ส่วนข้อที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ การส่งเสริมความก้าวหน้าในตำแหน่งของเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27023 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000594216 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-37 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000594257 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-37 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. ผลสัมฤทธิ์การบริหารจัดการของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาล สำนักงานตำรวจแห่งชาติ / ไพทูรย์ สิทธิบุญ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2019
Collection Title: SIU THE-T Title : ผลสัมฤทธิ์การบริหารจัดการของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาล สำนักงานตำรวจแห่งชาติ Original title : Achievement Management of the Patrol Special Operation Division, Metropolitan Police Bureau, Royal Thai Police Material Type: printed text Authors: ไพทูรย์ สิทธิบุญ, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2019 Pagination: xv, 292 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-13
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ตำรวจ -- การปฏิบัติงาน Keywords: พฤติกรรมการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ,
ผลสัมฤทธิ์การบริหารจัดการของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษAbstract: การศึกษาวิจัยเรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อการศึกษาวิจัย 1) เพื่อศึกษาพฤติกรรมการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ และ ผลสัมฤทธิ์การบริหารของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ 2) เพื่อศึกษาอิทธิพลระหว่างพฤติกรรมการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ และผลสัมฤทธิ์การบริหาร ที่มีผลต่อผลสัมฤทธิ์การบริหารจัดการของ กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ 3) เพื่อศึกษาสภาพปัญหา และอุปสรรค รวมถึงแนวทางในการบริหารจัดการที่จะช่วยให้การปฏิบัติงานบรรลุผลสัมฤทธิ์ในการบริหารจัดการของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ วิธีการวิจัย ผู้วิจัยใช้ แบบผสมผสาน (Mixed Methods Research) ดำเนินการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) ก่อนและตามด้วยการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) เครื่องมือในการวิจัย เชิงปริมาณ ใช้แบบสอบถาม จำนวน 306 ชุด และการวิจัยเชิงคุณภาพ ใช้วิธีสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง สถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ สถิติพรรณนา (Descriptive Statistics) สถิติอนุมาน (Inferential Statistics) การวิเคราะห์ข้อมูล เชิงสหสัมพันธ์ (Correlation Analysis) โดยกำหนดนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05 และ การวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ (Multiple Regression Analysis) ใช้เทคนิคการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน (Stepwise Multiple Regression) โดยกำหนดให้ระดับนัยสำคัญทางสถิติไว้ที่ .05 การตรวจวัดเครื่องมือการวิจัย การวิจัยเชิงปริมาณ ผู้วิจัยดำเนินการหาค่าความเที่ยงตรง (Validity) ของแบบสอบถามด้วยวิธีหาค่า Index of Item Objective Congruence : IOC โดยให้อาจารย์ที่ปรึกษาและผู้เชี่ยวชาญ รวม 5 คน เป็นผู้ตรวจแบบสอบถาม (Face Validity) เพื่อให้มีความเที่ยงตรงตามเนื้อหา จากนั้นนำแบบสอบถามที่ได้รับจากการหาค่า IOC มาทำการปรับปรุงแก้ไขวัดค่า IOC ได้ ระหว่าง 0.6-1.00 เพื่อให้งานวิจัยมีความน่าเชื่อถือ ผู้วิจัยได้นำแบบสอบถามที่ได้ปรับแก้ไขแล้วไปทดสอบ (Pre-Test) กับกลุ่มตำรวจกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ ซึ่งใกล้เคียงกับกลุ่มตัวอย่างจริง จำนวน 30 คน เพื่อหาค่าความเชื่อมั่น (Reliability) ด้วยวิธีการหาค่าสัมประสิทธิ์อัลฟ่าของครอนบาค (Cronbach ,Alpha Coefficient) เพื่อให้ได้ค่าไม่น้อยกว่า 0.70 จึงจะมีความเหมาะสมในการนำไปเก็บข้อมูล (สุจิตรา บุญยรัตพันธุ์, 2546, น. 135-141) (วันชัย จึงวิบูลย์สถิต, 2560, น. 104) และ (จีรวัฏฐ์ บุญวัฒนาภรณ์, 2556, น. 142) ผลการทดสอบ ด้านพฤติกรรมการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจสังกัดกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ ได้ค่า 0.965 และผลสัมฤทธิ์การบริหารจัดการของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ ที่มีผลต่อพฤติกรรมการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ ได้ค่า 0.995
ผลการวิจัยพบว่า
1) ด้านพฤติกรรมการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ และ ผลสัมฤทธิ์การบริหารของกองบังคับการ สายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ ตามวัตถุประสงค์ข้อ 1 โดยรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก (x ̅ = 3.489, S.D. = 0.809) ซึ่งประกอบด้วย ด้านทัศนคติในการปฏิบัติงาน (x ̅ = 3.598, S.D. = 0.809) ด้านความเข้มแข็งในการปฏิบัติงาน (x ̅ = 3.526, S.D. = 0.832) ด้านการปฏิบัติงานมุ่งสู่สากล (x ̅ = 3.493, S.D. = 0.826) และด้านความเป็นตำรวจมืออาชีพ (x ̅ = 3.341, S.D. = 0.726) 2) ด้านอิทธิพลระหว่างพฤติกรรมการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ และผลสัมฤทธิ์การบริหาร ที่มีผลต่อผลสัมฤทธิ์การบริหารจัดการของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ ตามวัตถุประสงค์ข้อ 2 โดยรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก (x ̅ = 3.508, S.D. = 0.789) ประกอบด้วย ด้านวัฒนธรรมองค์การ มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุดอยู่ในระดับมาก (x ̅ = 3.554, S.D. = 0.744) ด้านภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง (x ̅ = 3.530, S.D. = 0.804) ด้านลักษณะองค์การ (x ̅ = 3.517, S.D. = 0.812) ด้านธรรมาภิบาล (x ̅ = 3.505, S.D. = 0.806) และด้านทรัพยากรบริหาร (x ̅ = 3.438, S.D. = 0.825) 3) สภาพปัญหา และอุปสรรค รวมถึงแนวทางในการบริหารจัดการที่จะช่วยให้การปฏิบัติงานบรรลุผลสัมฤทธิ์ในการบริหารจัดการของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ ตามวัตถุประสงค์ ข้อที่ 3 พบว่า ด้านพฤติกรรมการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจและ ผลสัมฤทธิ์การบริหารของ กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ ด้านความเป็นตำรวจมืออาชีพ เป็นพฤติกรรมการปฏิบัติงานที่เป็นปัญหา อุปสรรค และส่งผลต่อสัมฤทธิ์การบริหารจัดการของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ ในระดับมาก รองลงมาตามลำดับ คือ ด้านการปฏิบัติงานมุ่งสู่สากลในระดับปานกลาง ด้านความเข้มแข็งในการปฏิบัติงานในระดับน้อย และด้านทัศนคติในการปฏิบัติงานในระดับน้อยที่สุด ด้านอิทธิพลระหว่างพฤติกรรมการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ และผลสัมฤทธิ์การบริหารที่มีผลต่อผลสัมฤทธิ์การบริหารจัดการของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ ด้านทรัพยากรบริหารเป็นปัญหา อุปสรรค และส่งผลต่อพฤติกรรมการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ ในระดับมากที่สุด รองลงมาตามลำดับ คือ ด้านธรรมาภิบาลในระดับมาก ด้านลักษณะองศ์การในระดับปานกลาง ด้านภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงในระดับน้อย และด้านวัฒนธรรมองศ์การในระดับน้อยที่สุด
ผลการทดสอบสมมติฐาน โดยวิเคราะห์แบบถดถอยพหุคูณ พบว่า 1) ด้านการสร้างขวัญและกำลังใจให้ตำรวจ ด้านทัศนคติในการปฏิบัติงาน ด้านการพัฒนาเครื่องมือในการปฏิบัติงาน และด้านการพัฒนาระบบการปฏิบัติงาน มีอิทธิพลต่อปัจจัยด้านวัฒนธรรมองค์การโดยรวม 2) ด้านการสร้างขวัญและกำลังใจให้ตำรวจ ด้านทัศนคติในการปฏิบัติงาน ด้านการพัฒนาสมรรถนะของตำรวจ และด้านการพัฒนาองค์ความรู้ให้ตำรวจ มีอิทธิพลต่อปัจจัยด้านลักษณะองค์การโดยรวม 3) ด้านการสร้างขวัญและกำลังใจให้ตำรวจ ด้านทัศนคติในการปฏิบัติงาน ด้านการพัฒนาสมรรถนะของตำรวจ ด้านการพัฒนาเครื่องมือในการปฏิบัติงาน และด้านการพัฒนาระบบการปฏิบัติงาน มีอิทธิพลต่อปัจจัยด้านทรัพยากรการบริหารโดยรวม 4)ด้านการสร้างขวัญและกำลังใจให้ตำรวจ ด้านการพัฒนาสมรรถนะของตำรวจ ด้านการพัฒนาเครื่องมือในการปฏิบัติงาน และด้านทัศนคติในการปฏิบัติงาน มีอิทธิพลต่อปัจจัยด้านภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงโดยรวม 5)ด้านการสร้างขวัญและกำลังใจให้ตำรวจ ด้านทัศนคติในการปฏิบัติงาน ด้านการพัฒนาสมรรถนะของตำรวจ และด้านการพัฒนาเครื่องมือในการปฏิบัติงาน มีอิทธิพลต่อปัจจัยด้านหลักธรรมาภิบาลโดยรวมCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28023 SIU THE-T. ผลสัมฤทธิ์การบริหารจัดการของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาล สำนักงานตำรวจแห่งชาติ = Achievement Management of the Patrol Special Operation Division, Metropolitan Police Bureau, Royal Thai Police [printed text] / ไพทูรย์ สิทธิบุญ, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019 . - xv, 292 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-13
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ตำรวจ -- การปฏิบัติงาน Keywords: พฤติกรรมการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ,
ผลสัมฤทธิ์การบริหารจัดการของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษAbstract: การศึกษาวิจัยเรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อการศึกษาวิจัย 1) เพื่อศึกษาพฤติกรรมการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ และ ผลสัมฤทธิ์การบริหารของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ 2) เพื่อศึกษาอิทธิพลระหว่างพฤติกรรมการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ และผลสัมฤทธิ์การบริหาร ที่มีผลต่อผลสัมฤทธิ์การบริหารจัดการของ กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ 3) เพื่อศึกษาสภาพปัญหา และอุปสรรค รวมถึงแนวทางในการบริหารจัดการที่จะช่วยให้การปฏิบัติงานบรรลุผลสัมฤทธิ์ในการบริหารจัดการของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ วิธีการวิจัย ผู้วิจัยใช้ แบบผสมผสาน (Mixed Methods Research) ดำเนินการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) ก่อนและตามด้วยการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) เครื่องมือในการวิจัย เชิงปริมาณ ใช้แบบสอบถาม จำนวน 306 ชุด และการวิจัยเชิงคุณภาพ ใช้วิธีสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง สถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ สถิติพรรณนา (Descriptive Statistics) สถิติอนุมาน (Inferential Statistics) การวิเคราะห์ข้อมูล เชิงสหสัมพันธ์ (Correlation Analysis) โดยกำหนดนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05 และ การวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ (Multiple Regression Analysis) ใช้เทคนิคการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน (Stepwise Multiple Regression) โดยกำหนดให้ระดับนัยสำคัญทางสถิติไว้ที่ .05 การตรวจวัดเครื่องมือการวิจัย การวิจัยเชิงปริมาณ ผู้วิจัยดำเนินการหาค่าความเที่ยงตรง (Validity) ของแบบสอบถามด้วยวิธีหาค่า Index of Item Objective Congruence : IOC โดยให้อาจารย์ที่ปรึกษาและผู้เชี่ยวชาญ รวม 5 คน เป็นผู้ตรวจแบบสอบถาม (Face Validity) เพื่อให้มีความเที่ยงตรงตามเนื้อหา จากนั้นนำแบบสอบถามที่ได้รับจากการหาค่า IOC มาทำการปรับปรุงแก้ไขวัดค่า IOC ได้ ระหว่าง 0.6-1.00 เพื่อให้งานวิจัยมีความน่าเชื่อถือ ผู้วิจัยได้นำแบบสอบถามที่ได้ปรับแก้ไขแล้วไปทดสอบ (Pre-Test) กับกลุ่มตำรวจกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ ซึ่งใกล้เคียงกับกลุ่มตัวอย่างจริง จำนวน 30 คน เพื่อหาค่าความเชื่อมั่น (Reliability) ด้วยวิธีการหาค่าสัมประสิทธิ์อัลฟ่าของครอนบาค (Cronbach ,Alpha Coefficient) เพื่อให้ได้ค่าไม่น้อยกว่า 0.70 จึงจะมีความเหมาะสมในการนำไปเก็บข้อมูล (สุจิตรา บุญยรัตพันธุ์, 2546, น. 135-141) (วันชัย จึงวิบูลย์สถิต, 2560, น. 104) และ (จีรวัฏฐ์ บุญวัฒนาภรณ์, 2556, น. 142) ผลการทดสอบ ด้านพฤติกรรมการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจสังกัดกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ ได้ค่า 0.965 และผลสัมฤทธิ์การบริหารจัดการของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ ที่มีผลต่อพฤติกรรมการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ ได้ค่า 0.995
ผลการวิจัยพบว่า
1) ด้านพฤติกรรมการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ และ ผลสัมฤทธิ์การบริหารของกองบังคับการ สายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ ตามวัตถุประสงค์ข้อ 1 โดยรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก (x ̅ = 3.489, S.D. = 0.809) ซึ่งประกอบด้วย ด้านทัศนคติในการปฏิบัติงาน (x ̅ = 3.598, S.D. = 0.809) ด้านความเข้มแข็งในการปฏิบัติงาน (x ̅ = 3.526, S.D. = 0.832) ด้านการปฏิบัติงานมุ่งสู่สากล (x ̅ = 3.493, S.D. = 0.826) และด้านความเป็นตำรวจมืออาชีพ (x ̅ = 3.341, S.D. = 0.726) 2) ด้านอิทธิพลระหว่างพฤติกรรมการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ และผลสัมฤทธิ์การบริหาร ที่มีผลต่อผลสัมฤทธิ์การบริหารจัดการของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ ตามวัตถุประสงค์ข้อ 2 โดยรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก (x ̅ = 3.508, S.D. = 0.789) ประกอบด้วย ด้านวัฒนธรรมองค์การ มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุดอยู่ในระดับมาก (x ̅ = 3.554, S.D. = 0.744) ด้านภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง (x ̅ = 3.530, S.D. = 0.804) ด้านลักษณะองค์การ (x ̅ = 3.517, S.D. = 0.812) ด้านธรรมาภิบาล (x ̅ = 3.505, S.D. = 0.806) และด้านทรัพยากรบริหาร (x ̅ = 3.438, S.D. = 0.825) 3) สภาพปัญหา และอุปสรรค รวมถึงแนวทางในการบริหารจัดการที่จะช่วยให้การปฏิบัติงานบรรลุผลสัมฤทธิ์ในการบริหารจัดการของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ ตามวัตถุประสงค์ ข้อที่ 3 พบว่า ด้านพฤติกรรมการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจและ ผลสัมฤทธิ์การบริหารของ กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ ด้านความเป็นตำรวจมืออาชีพ เป็นพฤติกรรมการปฏิบัติงานที่เป็นปัญหา อุปสรรค และส่งผลต่อสัมฤทธิ์การบริหารจัดการของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ ในระดับมาก รองลงมาตามลำดับ คือ ด้านการปฏิบัติงานมุ่งสู่สากลในระดับปานกลาง ด้านความเข้มแข็งในการปฏิบัติงานในระดับน้อย และด้านทัศนคติในการปฏิบัติงานในระดับน้อยที่สุด ด้านอิทธิพลระหว่างพฤติกรรมการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ และผลสัมฤทธิ์การบริหารที่มีผลต่อผลสัมฤทธิ์การบริหารจัดการของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ ด้านทรัพยากรบริหารเป็นปัญหา อุปสรรค และส่งผลต่อพฤติกรรมการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ ในระดับมากที่สุด รองลงมาตามลำดับ คือ ด้านธรรมาภิบาลในระดับมาก ด้านลักษณะองศ์การในระดับปานกลาง ด้านภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงในระดับน้อย และด้านวัฒนธรรมองศ์การในระดับน้อยที่สุด
ผลการทดสอบสมมติฐาน โดยวิเคราะห์แบบถดถอยพหุคูณ พบว่า 1) ด้านการสร้างขวัญและกำลังใจให้ตำรวจ ด้านทัศนคติในการปฏิบัติงาน ด้านการพัฒนาเครื่องมือในการปฏิบัติงาน และด้านการพัฒนาระบบการปฏิบัติงาน มีอิทธิพลต่อปัจจัยด้านวัฒนธรรมองค์การโดยรวม 2) ด้านการสร้างขวัญและกำลังใจให้ตำรวจ ด้านทัศนคติในการปฏิบัติงาน ด้านการพัฒนาสมรรถนะของตำรวจ และด้านการพัฒนาองค์ความรู้ให้ตำรวจ มีอิทธิพลต่อปัจจัยด้านลักษณะองค์การโดยรวม 3) ด้านการสร้างขวัญและกำลังใจให้ตำรวจ ด้านทัศนคติในการปฏิบัติงาน ด้านการพัฒนาสมรรถนะของตำรวจ ด้านการพัฒนาเครื่องมือในการปฏิบัติงาน และด้านการพัฒนาระบบการปฏิบัติงาน มีอิทธิพลต่อปัจจัยด้านทรัพยากรการบริหารโดยรวม 4)ด้านการสร้างขวัญและกำลังใจให้ตำรวจ ด้านการพัฒนาสมรรถนะของตำรวจ ด้านการพัฒนาเครื่องมือในการปฏิบัติงาน และด้านทัศนคติในการปฏิบัติงาน มีอิทธิพลต่อปัจจัยด้านภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงโดยรวม 5)ด้านการสร้างขวัญและกำลังใจให้ตำรวจ ด้านทัศนคติในการปฏิบัติงาน ด้านการพัฒนาสมรรถนะของตำรวจ และด้านการพัฒนาเครื่องมือในการปฏิบัติงาน มีอิทธิพลต่อปัจจัยด้านหลักธรรมาภิบาลโดยรวมCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28023 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607424 SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-13 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000607437 SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-13 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. อุปสรรคในการปฏิบัติงาน ของตำรวจกองกำกับการสืบสวนตำรวจภูธรจังหวัดสุราษฎร์ธานี / วัชรินทร์ นาคบำรุง / 2015
Collection Title: SIU IS-T Title : อุปสรรคในการปฏิบัติงาน ของตำรวจกองกำกับการสืบสวนตำรวจภูธรจังหวัดสุราษฎร์ธานี Original title : Obstacles in Performing Jobs of Polices in Investigation Sub-Division of Surattani Provincial Police Material Type: printed text Authors: วัชรินทร์ นาคบำรุง, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; สมพร เพชรสงค์, Associated Name Publication Date: 2015 Pagination: vii, 74 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2015-03
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2015.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ตำรวจ -- การปฏิบัติงาน
[LCSH]ตำรวจสืบสวน -- สุราษฎร์ธานีKeywords: อุปสรรคในการปฏิบัติงาน,
ตำรวจAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับอุปสรรคในการปฏิบัติงานของตำรวจกองกำกับการสืบสวนตำรวจภูธรจังหวัดสุราษฎร์ธานี และเปรียบเทียบอุปสรรคในการปฏิบัติงานของตำรวจกองกำกับการสืบสวนตำรวจภูธรจังหวัดสุราษฎร์ธานี จำแนกตามอายุ อายุราชการ ระดับการศึกษา และชั้นยศ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ ตำรวจในกองบังคับการสืบสวนตำรวจภูธรจังหวัดสุราษฎร์ธานี จำนวน 82 นาย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามแบบมาตรประมาณค่าที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบค่าที (t-test) ค่าเอฟ (F-test) และความแปรปรวนทางเดียว (One-Way Anova) เปรียบเทียบรายคู่ด้วยวิธีการของ LSD (LSD post hoc comparison)
ผลการวิจัยพบว่า อุปสรรคในการปฏิบัติงานของตำรวจกองกำกับการสืบสวนตำรวจภูธรจังหวัดสุราษฎร์ธานี ในภาพรวมของผู้ตอบแบบสอบถามมีความคิดเห็นทุกด้านอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ได้แก่ ด้านการรักษาความปลอดภัยบุคคลสำคัญ รองลงมา ด้านการสืบสวนหาข่าว ด้านการเจรจาต่อรอง และด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือด้านการป้องกันปราบปราม การเปรียบเทียบอุปสรรคในการปฏิบัติงานของตำรวจกองกำกับการสืบสวนตำรวจภูธรจังหวัดสุราษฎร์ธานี จำแนกตามอายุโดยรวมไม่แตกต่างกัน และเมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ด้านการป้องกันปราบปราม แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สำหรับด้านอื่นๆ พบว่าไม่แตกต่างกัน จำแนกตามอายุราชการ พบว่า โดยรวมไม่แตกต่างกัน และเมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ด้านการป้องกันปราบปราม แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สำหรับด้านอื่นๆ พบว่าไม่แตกต่างกัน จำแนกตามระดับการศึกษา โดยภาพรวมไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า ระดับการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรีเห็นว่าด้านการรักษาความปลอดภัยบุคคลสำคัญเป็นอุปสรรคในการปฏิบัติงานมากกว่าระดับปริญญาตรีขึ้นไป อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 จำแนกตามระดับชั้นยศ โดยภาพรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า ที่มียศชั้นสัญญาบัตร เห็นว่าด้านการสืบสวนหาข่าวเป็นอุปสรรคในการปฏิบัติงานมากกว่าชั้นยศประทวน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 และผู้ตอบแบบสอบถามที่มียศชั้นสัญญาบัตร เห็นว่าด้านการป้องกันปราบปรามเป็นอุปสรรคในการปฏิบัติงานมากกว่าชั้นยศประทวน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26657 SIU IS-T. อุปสรรคในการปฏิบัติงาน ของตำรวจกองกำกับการสืบสวนตำรวจภูธรจังหวัดสุราษฎร์ธานี = Obstacles in Performing Jobs of Polices in Investigation Sub-Division of Surattani Provincial Police [printed text] / วัชรินทร์ นาคบำรุง, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; สมพร เพชรสงค์, Associated Name . - 2015 . - vii, 74 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2015-03
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2015.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ตำรวจ -- การปฏิบัติงาน
[LCSH]ตำรวจสืบสวน -- สุราษฎร์ธานีKeywords: อุปสรรคในการปฏิบัติงาน,
ตำรวจAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับอุปสรรคในการปฏิบัติงานของตำรวจกองกำกับการสืบสวนตำรวจภูธรจังหวัดสุราษฎร์ธานี และเปรียบเทียบอุปสรรคในการปฏิบัติงานของตำรวจกองกำกับการสืบสวนตำรวจภูธรจังหวัดสุราษฎร์ธานี จำแนกตามอายุ อายุราชการ ระดับการศึกษา และชั้นยศ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ ตำรวจในกองบังคับการสืบสวนตำรวจภูธรจังหวัดสุราษฎร์ธานี จำนวน 82 นาย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามแบบมาตรประมาณค่าที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบค่าที (t-test) ค่าเอฟ (F-test) และความแปรปรวนทางเดียว (One-Way Anova) เปรียบเทียบรายคู่ด้วยวิธีการของ LSD (LSD post hoc comparison)
ผลการวิจัยพบว่า อุปสรรคในการปฏิบัติงานของตำรวจกองกำกับการสืบสวนตำรวจภูธรจังหวัดสุราษฎร์ธานี ในภาพรวมของผู้ตอบแบบสอบถามมีความคิดเห็นทุกด้านอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ได้แก่ ด้านการรักษาความปลอดภัยบุคคลสำคัญ รองลงมา ด้านการสืบสวนหาข่าว ด้านการเจรจาต่อรอง และด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือด้านการป้องกันปราบปราม การเปรียบเทียบอุปสรรคในการปฏิบัติงานของตำรวจกองกำกับการสืบสวนตำรวจภูธรจังหวัดสุราษฎร์ธานี จำแนกตามอายุโดยรวมไม่แตกต่างกัน และเมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ด้านการป้องกันปราบปราม แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สำหรับด้านอื่นๆ พบว่าไม่แตกต่างกัน จำแนกตามอายุราชการ พบว่า โดยรวมไม่แตกต่างกัน และเมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ด้านการป้องกันปราบปราม แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สำหรับด้านอื่นๆ พบว่าไม่แตกต่างกัน จำแนกตามระดับการศึกษา โดยภาพรวมไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า ระดับการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรีเห็นว่าด้านการรักษาความปลอดภัยบุคคลสำคัญเป็นอุปสรรคในการปฏิบัติงานมากกว่าระดับปริญญาตรีขึ้นไป อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 จำแนกตามระดับชั้นยศ โดยภาพรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า ที่มียศชั้นสัญญาบัตร เห็นว่าด้านการสืบสวนหาข่าวเป็นอุปสรรคในการปฏิบัติงานมากกว่าชั้นยศประทวน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 และผู้ตอบแบบสอบถามที่มียศชั้นสัญญาบัตร เห็นว่าด้านการป้องกันปราบปรามเป็นอุปสรรคในการปฏิบัติงานมากกว่าชั้นยศประทวน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26657 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000593101 SIU IS-T: IPAG-MPA-2015-03 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000593077 SIU IS-T: IPAG-MPA-2015-03 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available