From this page you can:
Home |
Search results
14 result(s) search for keyword(s) 'ฝ่ายอำนวยการ, อิทธิพล, ประสิทธิภาพ'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
SIU IS-T. ปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ ฝ่ายอำนวยการ 2 กองบังคับการอำนวยการ กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน / เสน่ห์ พงศาปาน / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : ปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ ฝ่ายอำนวยการ 2 กองบังคับการอำนวยการ กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน Original title : The Factors Influenced on Performance of Police Officers of General StaffSub-Division 2, General Staff Division, Border Patrol Police Bureau Material Type: printed text Authors: เสน่ห์ พงศาปาน, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: ix, 68 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-09
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน
[LCSH]ตำรวจ -- การปฏิบัติงานKeywords: ฝ่ายอำนวยการ,
อิทธิพล,
ประสิทธิภาพAbstract: การศึกษาค้นคว้าอิสระครั้งนี้ เป็นการศึกษาเพื่อศึกษาถึงปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ ฝ่ายอำนวยการ 2 กองบังคับการอำนวยการ กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน เป็นการศึกษาในเชิงคุณภาพ โดยผู้ศึกษาได้ใช้วิธีการเก็บข้อมูลศึกษา 2 วิธี คือ การศึกษาเอกสาร โดยรวบรวมข้อมูลจากเอกสารทางวิชาการ วารสาร สิ่งพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ รายงานวิจัย วิทยานิพนธ์ รายงานการประชุม คู่มือการปฏิบัติงาน ระเบียบ ประกาศ คำสั่ง เอกสารทางราชการ ที่เกี่ยวข้องกับปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติงานของข้าราชตำรวจ เป็นต้น และการศึกษาวิจัยภาคสนาม โดยการใช้แบบสัมภาษณ์ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติงาน ปัญหา อุปสรรค และศึกษาแนวทางในการปรับปรุงและเพื่อเสริมสร้างการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ ทั้งนี้ ผู้ศึกษาได้ทำการสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง ในการศึกษาจึงใช้วิธีการเก็บข้อมูลจากผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จำนวน 12 คน ผลการศึกษาตามวัตถุประสงค์ แยกเป็น 3 ด้าน คือ ด้านปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติงาน พบว่า การแต่งตั้งโยกย้ายประจำทุกปีแต่ไม่มีกำลังพลทดแทน ทำให้การจัดกำลังพลไม่มีเหมาะสมกับงานหรือความสามารถข้าราชตำรวจ ขาดความรู้ความชำนาญ ขาดจิตวิญญาณในการเป็นตำรวจอาชีพ ไม่เต็มใจทำงาน ขาดการจัดอบรมเพื่อพัฒนาบุคคลากรอย่างสม่ำเสมอต่อเนื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างผู้บังคับบัญชากับผู้ใต้บังคับบัญชามีน้อย ขาดแรงจูงใจ ขาดความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ และความกระตือรือร้นในการทำงาน ด้านปัญหาและอุปสรรคในการปฏิบัติงาน พบว่า ปัญหาด้านบุคลากร ยังขาดแคลนกำลังเจ้าหน้าที่ระดับปฏิบัติงาน ผู้บังคับบัญชาไม่มีความยุติธรรม มีการใช้ระบบอุปถัมภ์ในการพิจารณาความดีความชอบผู้บังคับบัญชาขาดความเอาใจใส่ในการปฏิบัติงานของผู้ใต้บังคับบัญชา ส่วนผู้ปฏิบัติขาดการเอาใจใส่ต่องานที่ได้รับมอบหมาย การจัดอบรมพัฒนาบุคลากรมีน้อย ขาดขวัญกำลังใจในการทำงาน ปัญหาด้านวัสดุอุปกรณ์ ขาดแคลนเครื่องมือเครื่องใช้สำหรับการปฏิบัติงาน ไม่เพียงพอ ไม่ทันสมัย ไม่มีประสิทธิภาพ ขาดการนำเทคโนโลยีมาปรับใช้ ปัญหาด้านอาคารสถานที่ มีความคับแคบ สภาพแวดล้อมในสำนักงานไม่เอื้อต่อการปฏิบัติงาน ปัญหาด้านสวัสดิการ ค่าครองชีพ สูงเงินเดือนไม่พอใช้ในการดำรงชีพ อาคารบ้านพักสวัสดิการไม่เพียงพอ สวัสดิการช่วยเหลือข้าราชการชั้นผู้น้อย เช่น ค่าครองชีพ ค่าเช่าบ้านพัก ค่าอาหารกลางวัน ค่าตัดเย็บเครื่องแบบปฏิบัติงาน มีน้อย ส่วนการเบิกค่าการศึกษาบุตรมีความล่าช้าไม่ทันต่อความต้องการใช้เงิน ขาดเงินงบประมาณในการบริหารหน่วย ด้านแนวทางการปรับปรุงแก้ไขและพัฒนาการปฏิบัติงาน พบว่า ต้องจัดหากำลังเจ้าหน้าที่ให้เพียงพอต่อปริมาณ ตรงกับความรู้ความสามารถ ความชำนาญ ต้องจัดอบรมพัฒนาบุคลากรอย่างต่อเนื่อง และต้องให้ความยุติธรรมกับข้าราชการตำรวจอย่างเท่าเทียมกัน เพื่อเสริมสร้างแรงจูงใจในการทำงาน รวมทั้ง จัดกิจกรรมนันทนาการร่วมกันเพื่อสร้างความสัมพันธ์ระหว่างเพื่อนร่วมงานและผู้บังคับบัญชา จัดหาสวัสดิการหรือส่งเสริมอาชีพให้แก่ข้าราชการตรวจและครอบครัว สร้างบรรยากาศในการทำงานและสร้างจิตสำนึกความรับผิดชอบต่อหน้าที่ ที่ได้รับมอบหมาย จัดให้มีการประชุมตามความเหมาะสมเพื่อเปิดโอกาสให้แจ้งปัญหาข้อขัดข้องในการทำงานของแต่ละบุคคลหรือสายงาน สนับสนุนเครื่องมือ และวัสดุอุปกรณ์ให้เพียงพอต่อการใช้งาน ทันต่อเทคโนโลยี รวมทั้งการบำรุงรักษาเครื่องมือในสำนักงานให้มีสภาพพร้อมใช้งานตลอดเวลา Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26895 SIU IS-T. ปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ ฝ่ายอำนวยการ 2 กองบังคับการอำนวยการ กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน = The Factors Influenced on Performance of Police Officers of General StaffSub-Division 2, General Staff Division, Border Patrol Police Bureau [printed text] / เสน่ห์ พงศาปาน, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - ix, 68 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-09
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน
[LCSH]ตำรวจ -- การปฏิบัติงานKeywords: ฝ่ายอำนวยการ,
อิทธิพล,
ประสิทธิภาพAbstract: การศึกษาค้นคว้าอิสระครั้งนี้ เป็นการศึกษาเพื่อศึกษาถึงปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ ฝ่ายอำนวยการ 2 กองบังคับการอำนวยการ กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน เป็นการศึกษาในเชิงคุณภาพ โดยผู้ศึกษาได้ใช้วิธีการเก็บข้อมูลศึกษา 2 วิธี คือ การศึกษาเอกสาร โดยรวบรวมข้อมูลจากเอกสารทางวิชาการ วารสาร สิ่งพิมพ์ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ รายงานวิจัย วิทยานิพนธ์ รายงานการประชุม คู่มือการปฏิบัติงาน ระเบียบ ประกาศ คำสั่ง เอกสารทางราชการ ที่เกี่ยวข้องกับปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติงานของข้าราชตำรวจ เป็นต้น และการศึกษาวิจัยภาคสนาม โดยการใช้แบบสัมภาษณ์ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติงาน ปัญหา อุปสรรค และศึกษาแนวทางในการปรับปรุงและเพื่อเสริมสร้างการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ ทั้งนี้ ผู้ศึกษาได้ทำการสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง ในการศึกษาจึงใช้วิธีการเก็บข้อมูลจากผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จำนวน 12 คน ผลการศึกษาตามวัตถุประสงค์ แยกเป็น 3 ด้าน คือ ด้านปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติงาน พบว่า การแต่งตั้งโยกย้ายประจำทุกปีแต่ไม่มีกำลังพลทดแทน ทำให้การจัดกำลังพลไม่มีเหมาะสมกับงานหรือความสามารถข้าราชตำรวจ ขาดความรู้ความชำนาญ ขาดจิตวิญญาณในการเป็นตำรวจอาชีพ ไม่เต็มใจทำงาน ขาดการจัดอบรมเพื่อพัฒนาบุคคลากรอย่างสม่ำเสมอต่อเนื่อง ความสัมพันธ์ระหว่างผู้บังคับบัญชากับผู้ใต้บังคับบัญชามีน้อย ขาดแรงจูงใจ ขาดความคิดริเริ่ม สร้างสรรค์ และความกระตือรือร้นในการทำงาน ด้านปัญหาและอุปสรรคในการปฏิบัติงาน พบว่า ปัญหาด้านบุคลากร ยังขาดแคลนกำลังเจ้าหน้าที่ระดับปฏิบัติงาน ผู้บังคับบัญชาไม่มีความยุติธรรม มีการใช้ระบบอุปถัมภ์ในการพิจารณาความดีความชอบผู้บังคับบัญชาขาดความเอาใจใส่ในการปฏิบัติงานของผู้ใต้บังคับบัญชา ส่วนผู้ปฏิบัติขาดการเอาใจใส่ต่องานที่ได้รับมอบหมาย การจัดอบรมพัฒนาบุคลากรมีน้อย ขาดขวัญกำลังใจในการทำงาน ปัญหาด้านวัสดุอุปกรณ์ ขาดแคลนเครื่องมือเครื่องใช้สำหรับการปฏิบัติงาน ไม่เพียงพอ ไม่ทันสมัย ไม่มีประสิทธิภาพ ขาดการนำเทคโนโลยีมาปรับใช้ ปัญหาด้านอาคารสถานที่ มีความคับแคบ สภาพแวดล้อมในสำนักงานไม่เอื้อต่อการปฏิบัติงาน ปัญหาด้านสวัสดิการ ค่าครองชีพ สูงเงินเดือนไม่พอใช้ในการดำรงชีพ อาคารบ้านพักสวัสดิการไม่เพียงพอ สวัสดิการช่วยเหลือข้าราชการชั้นผู้น้อย เช่น ค่าครองชีพ ค่าเช่าบ้านพัก ค่าอาหารกลางวัน ค่าตัดเย็บเครื่องแบบปฏิบัติงาน มีน้อย ส่วนการเบิกค่าการศึกษาบุตรมีความล่าช้าไม่ทันต่อความต้องการใช้เงิน ขาดเงินงบประมาณในการบริหารหน่วย ด้านแนวทางการปรับปรุงแก้ไขและพัฒนาการปฏิบัติงาน พบว่า ต้องจัดหากำลังเจ้าหน้าที่ให้เพียงพอต่อปริมาณ ตรงกับความรู้ความสามารถ ความชำนาญ ต้องจัดอบรมพัฒนาบุคลากรอย่างต่อเนื่อง และต้องให้ความยุติธรรมกับข้าราชการตำรวจอย่างเท่าเทียมกัน เพื่อเสริมสร้างแรงจูงใจในการทำงาน รวมทั้ง จัดกิจกรรมนันทนาการร่วมกันเพื่อสร้างความสัมพันธ์ระหว่างเพื่อนร่วมงานและผู้บังคับบัญชา จัดหาสวัสดิการหรือส่งเสริมอาชีพให้แก่ข้าราชการตรวจและครอบครัว สร้างบรรยากาศในการทำงานและสร้างจิตสำนึกความรับผิดชอบต่อหน้าที่ ที่ได้รับมอบหมาย จัดให้มีการประชุมตามความเหมาะสมเพื่อเปิดโอกาสให้แจ้งปัญหาข้อขัดข้องในการทำงานของแต่ละบุคคลหรือสายงาน สนับสนุนเครื่องมือ และวัสดุอุปกรณ์ให้เพียงพอต่อการใช้งาน ทันต่อเทคโนโลยี รวมทั้งการบำรุงรักษาเครื่องมือในสำนักงานให้มีสภาพพร้อมใช้งานตลอดเวลา Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26895 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000593762 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-09 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000593754 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-09 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU RS-T. การปรับปรุงประสิทธิภาพพลังงาน บริษัทโตชิบา คอนซูมเมอร์โปรดัคส์ (ประเทศไทย) จำกัด / มนูญ คเณราช / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU RS-T Title : การปรับปรุงประสิทธิภาพพลังงาน บริษัทโตชิบา คอนซูมเมอร์โปรดัคส์ (ประเทศไทย) จำกัด Original title : Energy Efficiency Improvement for Toshiba Consumer Products (Thailand) Co., Ltd. Material Type: printed text Authors: มนูญ คเณราช, Author ; อภิชาต ประดิษฐสมานนท์, Associated Name ; ดำรง ขุมมงคล, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: x, 105 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-03
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การอนุรักษ์พลังงาน
[LCSH]พลังงานไฟฟ้าKeywords: ประสิทธิภาพ,
พลังงานไฟฟ้า,
พลังงานความร้อน,
การอนุรักษ์พลังงาน,
ดัชนีชี้วัดประสิทธิภาพพลังงานเฉพาะAbstract: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางในการประหยัดพลังงานไฟฟ้าภายในบริษัทโตชิบาคอนซูมเมอรโปรดัคส์ (ประเทศไทย) จำกัด เพื่อหาประสิทธิภาพการใช้พลังงานโดยเก็บข้อมูลการใช้พลังงานต่างๆ ภายในโรงงาน สำรวจพฤติกรรมการทำงานของกระบวนการต่างๆ รวมถึงการหามาตรการการประหยัดพลังงาน
ผลการวิจัยพบว่า ในปี 2558 ดัชนีการใช้พลังงานไฟฟ้าต่อการผลิตตู้เย็นมีค่า 42.45 kWh/ตู้ และดัชนีการใช้พลังงานไฟฟ้าต่อการผลิตเครื่องซักผ้ามีค่า 25.05 kWh/เครื่อง ซึ่งหากจะเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงานภายในโรงงานจะต้องทำการลดการใช้พลังงานไฟฟ้าลง จึงได้เสนอ 9 มาตรการประหยัดพลังงานคือ (1) มาตรการลดการทำงานของเครื่องจักรในช่วงพักกลางวัน (2) มาตรการลดระยะเวลาการอุ่นเครื่องฉีดพลาสติกช่วงเช้าวันจันทร์ (3) มาตรการลดการทำงานของเครื่องปั๊มขึ้นรูป (Press M/C) ที่โรงงานตู้เย็น (4) มาตรการรวมโหลดหม้อแปลงไฟฟ้าของอาคารเครื่องซักผ้า (5) มาตรการลดการใช้พลังงานไฟฟ้าในเครื่องทำน้ำเย็น (Chiller) ที่โรงฉีดพลาสติก (6) มาตรการปรับปรุงการระบายความร้อนของเครื่องปรับอากาศที่สำนักงานส่วนกลาง (7) มาตรการการปรับความเร็วรอบมอเตอร์ปั๊มน้ำหล่อเย็นโดยใช้ Inverter ที่ Cooling tower สำหรับกระบวนการฉีดพลาสติก (8) มาตรการปรับปรุงระบบแสงสว่างโดยใช้หลอดประหยัดพลังงานชนิดหลอด LED 183 วัตต์ และ (9) มาตรการปรับปรุงชุดความร้อนของเครื่องฉีดพลาสติกโดยใช้ Infrared Heater ซึ่งจากมาตรการดังกล่าวนี้หากนำไปปฏิบัติ จะสามารถลดการใช้พลังงานไฟฟ้าลงได้ 3,700,781 kWh/ปี และจะทำให้ค่าดัชนีการใช้พลังงานไฟฟ้าต่อการผลิตของตู้เย็นและเครื่องซักผ้าลดลง โดยค่าดัชนีการใช้พลังงานไฟฟ้าต่อการผลิตของตู้เย็นจะมีค่า 39.26 kWh/ตู้ และดัชนีการใช้พลังงานไฟฟ้าต่อการผลิตเครื่องซักผ้าจะมีค่า 23.17 kWh/เครื่อง ซึ่งถือว่าประสิทธิภาพการใช้พลังงานในโรงงานแห่งนี้จะมีประสิทธิภาพดีขึ้นCurricular : BSMT/GE/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26897 SIU RS-T. การปรับปรุงประสิทธิภาพพลังงาน บริษัทโตชิบา คอนซูมเมอร์โปรดัคส์ (ประเทศไทย) จำกัด = Energy Efficiency Improvement for Toshiba Consumer Products (Thailand) Co., Ltd. [printed text] / มนูญ คเณราช, Author ; อภิชาต ประดิษฐสมานนท์, Associated Name ; ดำรง ขุมมงคล, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - x, 105 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-03
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การอนุรักษ์พลังงาน
[LCSH]พลังงานไฟฟ้าKeywords: ประสิทธิภาพ,
พลังงานไฟฟ้า,
พลังงานความร้อน,
การอนุรักษ์พลังงาน,
ดัชนีชี้วัดประสิทธิภาพพลังงานเฉพาะAbstract: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางในการประหยัดพลังงานไฟฟ้าภายในบริษัทโตชิบาคอนซูมเมอรโปรดัคส์ (ประเทศไทย) จำกัด เพื่อหาประสิทธิภาพการใช้พลังงานโดยเก็บข้อมูลการใช้พลังงานต่างๆ ภายในโรงงาน สำรวจพฤติกรรมการทำงานของกระบวนการต่างๆ รวมถึงการหามาตรการการประหยัดพลังงาน
ผลการวิจัยพบว่า ในปี 2558 ดัชนีการใช้พลังงานไฟฟ้าต่อการผลิตตู้เย็นมีค่า 42.45 kWh/ตู้ และดัชนีการใช้พลังงานไฟฟ้าต่อการผลิตเครื่องซักผ้ามีค่า 25.05 kWh/เครื่อง ซึ่งหากจะเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงานภายในโรงงานจะต้องทำการลดการใช้พลังงานไฟฟ้าลง จึงได้เสนอ 9 มาตรการประหยัดพลังงานคือ (1) มาตรการลดการทำงานของเครื่องจักรในช่วงพักกลางวัน (2) มาตรการลดระยะเวลาการอุ่นเครื่องฉีดพลาสติกช่วงเช้าวันจันทร์ (3) มาตรการลดการทำงานของเครื่องปั๊มขึ้นรูป (Press M/C) ที่โรงงานตู้เย็น (4) มาตรการรวมโหลดหม้อแปลงไฟฟ้าของอาคารเครื่องซักผ้า (5) มาตรการลดการใช้พลังงานไฟฟ้าในเครื่องทำน้ำเย็น (Chiller) ที่โรงฉีดพลาสติก (6) มาตรการปรับปรุงการระบายความร้อนของเครื่องปรับอากาศที่สำนักงานส่วนกลาง (7) มาตรการการปรับความเร็วรอบมอเตอร์ปั๊มน้ำหล่อเย็นโดยใช้ Inverter ที่ Cooling tower สำหรับกระบวนการฉีดพลาสติก (8) มาตรการปรับปรุงระบบแสงสว่างโดยใช้หลอดประหยัดพลังงานชนิดหลอด LED 183 วัตต์ และ (9) มาตรการปรับปรุงชุดความร้อนของเครื่องฉีดพลาสติกโดยใช้ Infrared Heater ซึ่งจากมาตรการดังกล่าวนี้หากนำไปปฏิบัติ จะสามารถลดการใช้พลังงานไฟฟ้าลงได้ 3,700,781 kWh/ปี และจะทำให้ค่าดัชนีการใช้พลังงานไฟฟ้าต่อการผลิตของตู้เย็นและเครื่องซักผ้าลดลง โดยค่าดัชนีการใช้พลังงานไฟฟ้าต่อการผลิตของตู้เย็นจะมีค่า 39.26 kWh/ตู้ และดัชนีการใช้พลังงานไฟฟ้าต่อการผลิตเครื่องซักผ้าจะมีค่า 23.17 kWh/เครื่อง ซึ่งถือว่าประสิทธิภาพการใช้พลังงานในโรงงานแห่งนี้จะมีประสิทธิภาพดีขึ้นCurricular : BSMT/GE/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26897 Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000593770 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-03 c.1 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan 32002000593796 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-03 c.2 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan SIU RS-T. ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพการจัดการขยะติดเชื้อของบุคลากรกลุ่มการพยาบาล โรงพยาบาลปทุมธานี / พีรพงศ์ ตั้งจิตเจริญ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU RS-T Title : ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพการจัดการขยะติดเชื้อของบุคลากรกลุ่มการพยาบาล โรงพยาบาลปทุมธานี Original title : Factors Affecting on the Efficiency of Infectious Waste Management of Nursing Division Personnel, Pathumthani Hospital Material Type: printed text Authors: พีรพงศ์ ตั้งจิตเจริญ, Author ; ชัญญา โภคะสุวรรณ, Associated Name ; ปิยพร ณ นคร, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: ix, 101 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-07
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ขยะติดเชื้อ -- การจัดการ -- ปทุมธานี Keywords: ประสิทธิภาพการจัดการ,
ขยะติดเชื้อ,
บุคลากรกลุ่มการพยาบาลAbstract: การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาเชิงสำรวจ (Survey Research) มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิภาพการจัดการมูลฝอยติดเชื้อโดยวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ของปัจจัยต่างๆ ที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการจัดการมูลฝอยติดเชื้อและเพื่อหาวิธีการหรือมาตรการที่เหมาะสมในการจัดการมูลฝอยติดเชื้อของบุคลากรกลุ่มการพยาบาลในโรงพยาบาลปทุมธานีกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษานี้เป็นบุคลากรที่ปฏิบัติงานในกลุ่มการพยาบาลโรงพยาบาลปทุมธานี จำนวน199 คนซึ่งทำการเก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามโดยสอบถามในประเด็นที่เกี่ยวกับข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ปฏิบัติความรู้และการรับรู้โอกาสเสี่ยงของการเกิดโรคจากมูลฝอยติดเชื้อรวมถึงแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรสาธารณสุขและทำการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) ได้แก่ความถี่และร้อยละการวิเคราะห์ความแตกต่างของตัวแปรใช้ค่าสถิติค่าเฉลี่ย ( Curricular : BSMT/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27182 SIU RS-T. ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพการจัดการขยะติดเชื้อของบุคลากรกลุ่มการพยาบาล โรงพยาบาลปทุมธานี = Factors Affecting on the Efficiency of Infectious Waste Management of Nursing Division Personnel, Pathumthani Hospital [printed text] / พีรพงศ์ ตั้งจิตเจริญ, Author ; ชัญญา โภคะสุวรรณ, Associated Name ; ปิยพร ณ นคร, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - ix, 101 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-07
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ขยะติดเชื้อ -- การจัดการ -- ปทุมธานี Keywords: ประสิทธิภาพการจัดการ,
ขยะติดเชื้อ,
บุคลากรกลุ่มการพยาบาลAbstract: การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาเชิงสำรวจ (Survey Research) มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิภาพการจัดการมูลฝอยติดเชื้อโดยวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ของปัจจัยต่างๆ ที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการจัดการมูลฝอยติดเชื้อและเพื่อหาวิธีการหรือมาตรการที่เหมาะสมในการจัดการมูลฝอยติดเชื้อของบุคลากรกลุ่มการพยาบาลในโรงพยาบาลปทุมธานีกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษานี้เป็นบุคลากรที่ปฏิบัติงานในกลุ่มการพยาบาลโรงพยาบาลปทุมธานี จำนวน199 คนซึ่งทำการเก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามโดยสอบถามในประเด็นที่เกี่ยวกับข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ปฏิบัติความรู้และการรับรู้โอกาสเสี่ยงของการเกิดโรคจากมูลฝอยติดเชื้อรวมถึงแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรสาธารณสุขและทำการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) ได้แก่ความถี่และร้อยละการวิเคราะห์ความแตกต่างของตัวแปรใช้ค่าสถิติค่าเฉลี่ย ( Curricular : BSMT/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27182 Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000594463 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-07 c.1 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan 32002000594455 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-07 c.2 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan SIU IS-T. ประสิทธิภาพการสื่อสารภายในองค์กรของพนักงานฝ่ายข่าว: สถานีโทรทัศน์ช่อง 8 / ณธภัฐน์ วงษ์สะอาด / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : ประสิทธิภาพการสื่อสารภายในองค์กรของพนักงานฝ่ายข่าว: สถานีโทรทัศน์ช่อง 8 Original title : The Effective Organizational Communication of the News Department Staff: A Case of the television station channel 8 Material Type: printed text Authors: ณธภัฐน์ วงษ์สะอาด, Author ; เพชรรัตน์ โล้วิชากรติกุล, Associated Name ; อุษณีย์ เสวกวัชรี, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: vii, 61 น. Layout: ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: SOM-MBA-2017-03
Independent Study. [MS[MBA]]--Shinawatra University, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การสื่อสาร
[LCSH]สถานีโทรทัศน์ -- ช่อง 8Keywords: ประสิทธิภาพ,
การสื่อสารภายในองค์กร,
พนักงานฝ่ายข่าวAbstract: การวิจัยเรื่องประสิทธิภาพของการสื่อสารองค์กรของพนักงานฝ่ายข่าวสถานีโทรทัศน์ช่อง 8 มีจุดมุ่งหมาย 1) เพื่อศึกษาความพึงพอใจต่อประสิทธิภาพการสื่อสารภายในองค์กรของพนักงานฝ่ายข่าวสถานีโทรทัศน์ช่อง 8 2) เพื่อศึกษาเปรียบเทียบปัจจัยกระบวนการในการสื่อสารภายในองค์กรโดยจำแนกตามลักษณะส่วนบุคคลของพนักงานได้แก่เพศ อายุ ระดับการศึกษา ตำแหน่งงาน และระยะเวลาในการปฏิบัติงาน ประชากรที่ใช้ในการศึกษาได้แก่ พนักงานฝ่ายข่าวสถานีโทรทัศน์ช่อง 8 ในปี พ.ศ. 2559 จำนวน 100 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลครั้งนี้ได้แก่ แบบสอบถามเกี่ยวกับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากร 5 ด้านสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ได้แก่ ค่าร้อยละค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มใช้การทดสอบที (t - Test) ส่วนการทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยจากกลุ่มตัวอย่างมากกว่า 2 กลุ่มใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว (One - Way ANOVA)
ผลการวิจัยพบว่าพนักงานฝ่ายข่าวสถานีโทรทัศน์ช่อง 8 ที่มีเพศต่างกันมีปัจจัยกระบวนการในการสื่อสารภายในองค์กรไม่แตกต่างกันพนักงานฝ่ายข่าวสถานีโทรทัศน์ช่อง 8 ที่มีอายุต่างกันมีปัจจัยกระบวนการในการสื่อสารภายในองค์กรแตกต่างกันยกเว้นด้านข้อมูลข่าวสาร ด้านช่องทางการสื่อสาร และด้านประสิทธิภาพในการสื่อสารในองค์กร พนักงานฝ่ายข่าวสถานีโทรทัศน์ช่อง 8 ที่มีระดับการศึกษาต่างกันมีปัจจัยกระบวนการในการสื่อสารภายในองค์กรแตกต่างกันยกเว้นด้านข้อมูลข่าวสาร พนักงานฝ่ายข่าวสถานีโทรทัศน์ช่อง 8 ที่มีตำแหน่งงานต่างกันมีปัจจัยกระบวนการในการสื่อสารภายในองค์กรแตกต่างกัน ยกเว้นด้านประสิทธิภาพในการสื่อสารในองค์กร พนักงานฝ่ายข่าวสถานีโทรทัศน์ช่อง 8 ที่มีระยะเวลาในการปฏิบัติงานต่างกันมีปัจจัยกระบวนการในการสื่อสารภายในองค์กรแตกต่างกัน ยกเว้นด้านข้อมูลข่าวสารและด้านช่องทางการสื่อสารCurricular : BBA/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27542 SIU IS-T. ประสิทธิภาพการสื่อสารภายในองค์กรของพนักงานฝ่ายข่าว: สถานีโทรทัศน์ช่อง 8 = The Effective Organizational Communication of the News Department Staff: A Case of the television station channel 8 [printed text] / ณธภัฐน์ วงษ์สะอาด, Author ; เพชรรัตน์ โล้วิชากรติกุล, Associated Name ; อุษณีย์ เสวกวัชรี, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - vii, 61 น. : ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: SOM-MBA-2017-03
Independent Study. [MS[MBA]]--Shinawatra University, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การสื่อสาร
[LCSH]สถานีโทรทัศน์ -- ช่อง 8Keywords: ประสิทธิภาพ,
การสื่อสารภายในองค์กร,
พนักงานฝ่ายข่าวAbstract: การวิจัยเรื่องประสิทธิภาพของการสื่อสารองค์กรของพนักงานฝ่ายข่าวสถานีโทรทัศน์ช่อง 8 มีจุดมุ่งหมาย 1) เพื่อศึกษาความพึงพอใจต่อประสิทธิภาพการสื่อสารภายในองค์กรของพนักงานฝ่ายข่าวสถานีโทรทัศน์ช่อง 8 2) เพื่อศึกษาเปรียบเทียบปัจจัยกระบวนการในการสื่อสารภายในองค์กรโดยจำแนกตามลักษณะส่วนบุคคลของพนักงานได้แก่เพศ อายุ ระดับการศึกษา ตำแหน่งงาน และระยะเวลาในการปฏิบัติงาน ประชากรที่ใช้ในการศึกษาได้แก่ พนักงานฝ่ายข่าวสถานีโทรทัศน์ช่อง 8 ในปี พ.ศ. 2559 จำนวน 100 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลครั้งนี้ได้แก่ แบบสอบถามเกี่ยวกับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากร 5 ด้านสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ได้แก่ ค่าร้อยละค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มใช้การทดสอบที (t - Test) ส่วนการทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยจากกลุ่มตัวอย่างมากกว่า 2 กลุ่มใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว (One - Way ANOVA)
ผลการวิจัยพบว่าพนักงานฝ่ายข่าวสถานีโทรทัศน์ช่อง 8 ที่มีเพศต่างกันมีปัจจัยกระบวนการในการสื่อสารภายในองค์กรไม่แตกต่างกันพนักงานฝ่ายข่าวสถานีโทรทัศน์ช่อง 8 ที่มีอายุต่างกันมีปัจจัยกระบวนการในการสื่อสารภายในองค์กรแตกต่างกันยกเว้นด้านข้อมูลข่าวสาร ด้านช่องทางการสื่อสาร และด้านประสิทธิภาพในการสื่อสารในองค์กร พนักงานฝ่ายข่าวสถานีโทรทัศน์ช่อง 8 ที่มีระดับการศึกษาต่างกันมีปัจจัยกระบวนการในการสื่อสารภายในองค์กรแตกต่างกันยกเว้นด้านข้อมูลข่าวสาร พนักงานฝ่ายข่าวสถานีโทรทัศน์ช่อง 8 ที่มีตำแหน่งงานต่างกันมีปัจจัยกระบวนการในการสื่อสารภายในองค์กรแตกต่างกัน ยกเว้นด้านประสิทธิภาพในการสื่อสารในองค์กร พนักงานฝ่ายข่าวสถานีโทรทัศน์ช่อง 8 ที่มีระยะเวลาในการปฏิบัติงานต่างกันมีปัจจัยกระบวนการในการสื่อสารภายในองค์กรแตกต่างกัน ยกเว้นด้านข้อมูลข่าวสารและด้านช่องทางการสื่อสารCurricular : BBA/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27542 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000596567 SIU IS-T: SOM-MBA-2017-03 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000596534 SIU IS-T: SOM-MBA-2017-03 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการกระทำผิดกฎหมายจราจรประเภทรถยนต์ ในเขตพื้นที่อำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทรา / ไพศาล ปิ่มขุนทศ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU IS-T Title : ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการกระทำผิดกฎหมายจราจรประเภทรถยนต์ ในเขตพื้นที่อำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทรา Original title : (Factors influencing the illegal traffic behaviors of cars in Bang Khla District Chachoengsao Province) Material Type: printed text Authors: ไพศาล ปิ่มขุนทศ, Author ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name ; วรเดช จันทรศร, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: vii, 71 น. Layout: ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-22
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]รถยนต์
[LCSH]รถยนต์ -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับKeywords: อิทธิพลต่อพฤติกรรมการกระทำผิดกฎหมายจราจรประเภทรถยนต์ Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการกระทำความผิดกฎหมายจราจรประเภทรถยนต์ ในพื้นที่อำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทรา 2) เพื่อศึกษาเปรียบปัจจัยด้านประชากรศาสตร์กับปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการกระทำความผิดกฎหมายจราจรประเภทรถยนต์ ในพื้นที่ อำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทรา 3) เพื่อเป็นแนวทางในการนำเสนอปัญหา อุปสรรค และปรับปรุงหน่วยงานการจราจรประเภทรถยนต์ ในพื้นที่อำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทรา
การวิจัยหลักครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณโดยใช้แบบสอบถามแบบปลายปิดและแบบปลายเปิดเป็นเครื่องสำคัญในการวิจัย โดยมีขนาดกลุ่มตัวอย่างประชากรจำนวน 110 คน จากการศึกษาพบว่า พฤติกรรมของผู้ขับขี่รถยนต์มีอิทธิพลต่อการกระทำผิดกฎหมายจราจรประเภทรถยนต์ในเขตพื้นที่อำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทรา จำแนกตามประชากรศาสตร์ที่ ได้แก่ 1. เพศ 2. อายุ 3. สถานภาพสมรส 4. การศึกษา 5.รายได้และ 6. ประสบการณ์การขับรถยนต์สรุปได้ว่า จากการศึกษาพบว่า ผู้ขับขี่รถยนต์ส่วนใหญ่ เป็นเพศชาย มีอายุระหว่าง 26 – 30 ปี ส่วนใหญ่สถานภาพโสด ส่วนใหญ่มีระดับการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรี รายได้ส่วนใหญ่อยู่ระหว่าง 10,000 – 20,000 บาท และมีประสบการณ์ขับรถยนต์ส่วนใหญ่อยู่ระหว่าง 10 – 15 ปี นอกจากนี้ ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการกระทำผิดกฎหมายจราจรประเภทรถยนต์ในเขตพื้นที่ อำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทรา ได้แก่ ด้านลักษณะความพร้อมของยานพาหนะและ ด้านลักษณะความพร้อมของผู้ขับขี่มีพฤติกรรมส่วนใหญ่อยู่ในระดับมาก ส่วนด้านสภาพแวดล้อมในการขับขี่บนท้องถนนด้านความปลอดภัยในการขับขี่ด้านความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายจราจรด้านการติดตั้งสัญลักษณ์เครื่องหมายจราจรและด้านปฏิบัติตามกฎหมายจราจร มีพฤติกรรมอยู่ในระดับปานกลาง ข้อเสนอแนะในการวิจัย ควรจัดกิจกรรมเพื่อกระตุ้นจิตสำนึกและประชาสัมพันธ์ให้ความรู้แก่ประชาชนเกี่ยวกับกฎหมายจราจร และขอความร่วมมือจากสถานศึกษาในการเข้าไปให้ความรู้ด้านการจราจรแก่เด็กนักเรียนให้มีความรู้ในการป้องกันตนเองจากอุบัติเหตุได้และให้เกิดความสำนึกในความปลอดภัยพร้อมทั้งให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเข้าไปดำเนินการจัดกิจกรรมให้ความรู้ด้านกฎหมายจราจรกับประชาชนในชุมชนCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26611 SIU IS-T. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการกระทำผิดกฎหมายจราจรประเภทรถยนต์ ในเขตพื้นที่อำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทรา = (Factors influencing the illegal traffic behaviors of cars in Bang Khla District Chachoengsao Province) [printed text] / ไพศาล ปิ่มขุนทศ, Author ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name ; วรเดช จันทรศร, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - vii, 71 น. : ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-22
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]รถยนต์
[LCSH]รถยนต์ -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับKeywords: อิทธิพลต่อพฤติกรรมการกระทำผิดกฎหมายจราจรประเภทรถยนต์ Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการกระทำความผิดกฎหมายจราจรประเภทรถยนต์ ในพื้นที่อำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทรา 2) เพื่อศึกษาเปรียบปัจจัยด้านประชากรศาสตร์กับปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการกระทำความผิดกฎหมายจราจรประเภทรถยนต์ ในพื้นที่ อำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทรา 3) เพื่อเป็นแนวทางในการนำเสนอปัญหา อุปสรรค และปรับปรุงหน่วยงานการจราจรประเภทรถยนต์ ในพื้นที่อำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทรา
การวิจัยหลักครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณโดยใช้แบบสอบถามแบบปลายปิดและแบบปลายเปิดเป็นเครื่องสำคัญในการวิจัย โดยมีขนาดกลุ่มตัวอย่างประชากรจำนวน 110 คน จากการศึกษาพบว่า พฤติกรรมของผู้ขับขี่รถยนต์มีอิทธิพลต่อการกระทำผิดกฎหมายจราจรประเภทรถยนต์ในเขตพื้นที่อำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทรา จำแนกตามประชากรศาสตร์ที่ ได้แก่ 1. เพศ 2. อายุ 3. สถานภาพสมรส 4. การศึกษา 5.รายได้และ 6. ประสบการณ์การขับรถยนต์สรุปได้ว่า จากการศึกษาพบว่า ผู้ขับขี่รถยนต์ส่วนใหญ่ เป็นเพศชาย มีอายุระหว่าง 26 – 30 ปี ส่วนใหญ่สถานภาพโสด ส่วนใหญ่มีระดับการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรี รายได้ส่วนใหญ่อยู่ระหว่าง 10,000 – 20,000 บาท และมีประสบการณ์ขับรถยนต์ส่วนใหญ่อยู่ระหว่าง 10 – 15 ปี นอกจากนี้ ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการกระทำผิดกฎหมายจราจรประเภทรถยนต์ในเขตพื้นที่ อำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทรา ได้แก่ ด้านลักษณะความพร้อมของยานพาหนะและ ด้านลักษณะความพร้อมของผู้ขับขี่มีพฤติกรรมส่วนใหญ่อยู่ในระดับมาก ส่วนด้านสภาพแวดล้อมในการขับขี่บนท้องถนนด้านความปลอดภัยในการขับขี่ด้านความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมายจราจรด้านการติดตั้งสัญลักษณ์เครื่องหมายจราจรและด้านปฏิบัติตามกฎหมายจราจร มีพฤติกรรมอยู่ในระดับปานกลาง ข้อเสนอแนะในการวิจัย ควรจัดกิจกรรมเพื่อกระตุ้นจิตสำนึกและประชาสัมพันธ์ให้ความรู้แก่ประชาชนเกี่ยวกับกฎหมายจราจร และขอความร่วมมือจากสถานศึกษาในการเข้าไปให้ความรู้ด้านการจราจรแก่เด็กนักเรียนให้มีความรู้ในการป้องกันตนเองจากอุบัติเหตุได้และให้เกิดความสำนึกในความปลอดภัยพร้อมทั้งให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเข้าไปดำเนินการจัดกิจกรรมให้ความรู้ด้านกฎหมายจราจรกับประชาชนในชุมชนCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26611 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000592608 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-22 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000592574 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-22 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิิทธิภาพในการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการตำรวจ กองกำกับการ 1 กองบังคับการตำรวจท่องเที่ยว / สยาม โพธิ์เตี้ย / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU IS-T Title : ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิิทธิภาพในการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการตำรวจ กองกำกับการ 1 กองบังคับการตำรวจท่องเที่ยว Original title : Factors Affecting the Performance of the Police Officers in the Tourist Police Sub Division 1 Material Type: printed text Authors: สยาม โพธิ์เตี้ย, Author ; สมชาย รัตนโกมุท, Associated Name ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: viii, 69 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-10
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ข้าราชการตำรวจ
[LCSH]ตำรวจท่องเที่ยว -- การทำงาน
[LCSH]ประสิทธิภาพในการทำงานKeywords: ปัจจัยที่ส่งผล,
ประสิทธิภาพในการปฏิบัติหน้าที่,
ข้าราชการตำรวจ,
กองกำกับการ 1,
กองบังคับการตำรวจท่องเที่ยวCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27299 SIU IS-T. ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิิทธิภาพในการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการตำรวจ กองกำกับการ 1 กองบังคับการตำรวจท่องเที่ยว = Factors Affecting the Performance of the Police Officers in the Tourist Police Sub Division 1 [printed text] / สยาม โพธิ์เตี้ย, Author ; สมชาย รัตนโกมุท, Associated Name ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - viii, 69 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-10
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ข้าราชการตำรวจ
[LCSH]ตำรวจท่องเที่ยว -- การทำงาน
[LCSH]ประสิทธิภาพในการทำงานKeywords: ปัจจัยที่ส่งผล,
ประสิทธิภาพในการปฏิบัติหน้าที่,
ข้าราชการตำรวจ,
กองกำกับการ 1,
กองบังคับการตำรวจท่องเที่ยวCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27299 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000595114 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-10 c.1 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000595122 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-10 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ปัจจัยในการตัดสินใจเลือกซื้อการประกันภัยรถยนต์ กับบริษัทประกันภัยในจังหวัดเพชรบูรณ์ / ทิพวัลย์ ศักดาพิทักษ์
Collection Title: SIU IS-T Title : ปัจจัยในการตัดสินใจเลือกซื้อการประกันภัยรถยนต์ กับบริษัทประกันภัยในจังหวัดเพชรบูรณ์ Original title : Factors Affecting the Purchasing Decision to Motor Insurance with Insurance Company in Phetchabun Material Type: printed text Authors: ทิพวัลย์ ศักดาพิทักษ์, Author ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name ; กรวิชญ์ บุญส่ง, Associated Name Pagination: xiv, 111 p. Layout: ill, tables Size: 30 cm. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: SOM-MBA-2014-03
Independent Study. [MS[MBA]]--Shinawatra University, 2014.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]Consumers -- Decision purchasing
[LCSH]รถยนต์ -- เพชรบูรณ์
[LCSH]สินค้า -- ประกันภัยKeywords: การรับรู้ถึงความเสี่ยง
การเลือกบนทางเลือก
บริการที่ลูกค้าคาดหวัง
อิทธิพลทางครอบครัวAbstract: การค้นคว้าอิสระเรื่อง ปัจจัยในการตัดสินใจเลือกซื้อการประกันภัยรถยนต์กับบริษัทประกันภัยในจังหวัดเพชรบูรณ์ มีวัตถุประสงค์ เพื่อ ศึกษาข้อมูลส่วนบุคคล ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด และเปรียบเทียบความแตกต่างของปัจจัยส่วนบุคคล ต่อปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อประกันภัย โดยทำการศึกษากลุ่มตัวอย่างจังหวัดเพชรบูรณ์ Curricular : GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26200 SIU IS-T. ปัจจัยในการตัดสินใจเลือกซื้อการประกันภัยรถยนต์ กับบริษัทประกันภัยในจังหวัดเพชรบูรณ์ = Factors Affecting the Purchasing Decision to Motor Insurance with Insurance Company in Phetchabun [printed text] / ทิพวัลย์ ศักดาพิทักษ์, Author ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name ; กรวิชญ์ บุญส่ง, Associated Name . - [s.d.] . - xiv, 111 p. : ill, tables ; 30 cm.
500.00
SIU IS-T: SOM-MBA-2014-03
Independent Study. [MS[MBA]]--Shinawatra University, 2014.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]Consumers -- Decision purchasing
[LCSH]รถยนต์ -- เพชรบูรณ์
[LCSH]สินค้า -- ประกันภัยKeywords: การรับรู้ถึงความเสี่ยง
การเลือกบนทางเลือก
บริการที่ลูกค้าคาดหวัง
อิทธิพลทางครอบครัวAbstract: การค้นคว้าอิสระเรื่อง ปัจจัยในการตัดสินใจเลือกซื้อการประกันภัยรถยนต์กับบริษัทประกันภัยในจังหวัดเพชรบูรณ์ มีวัตถุประสงค์ เพื่อ ศึกษาข้อมูลส่วนบุคคล ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด และเปรียบเทียบความแตกต่างของปัจจัยส่วนบุคคล ต่อปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อประกันภัย โดยทำการศึกษากลุ่มตัวอย่างจังหวัดเพชรบูรณ์ Curricular : GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26200 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000590685 SIU IS-T: SOM-MBA-2014-03 c.1 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available SIU THE-T. หลักธรรมาภิบาลและปัจจัยการบริหารงานที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของสภาคณาจารย์และข้าราชการมหาวิทยาลัยราชภัฏ / เทวฤทธิ์ วิญญา / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2021
Collection Title: SIU THE-T Title : หลักธรรมาภิบาลและปัจจัยการบริหารงานที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของสภาคณาจารย์และข้าราชการมหาวิทยาลัยราชภัฏ Original title : Good Governance Principle and Administrative Factors Affecting Performance Efficiencies of Faculty Senates in Rajabhat Universities Material Type: printed text Authors: เทวฤทธิ์ วิญญา, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2021 Pagination: x, 141 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2021-01
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2021Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหาร
[LCSH]ธรรมาภิบาล
[LCSH]มหาวิทยาลัยราชภัฏ -- ข้าราชการ -- การทำงานKeywords: ธรรมาภิบาล, ปัจจัยการบริหาร, ประสิทธิภาพ Abstract: การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระดับการรับรู้ถึงการนำเอาหลักธรรมาภิบาลของสภาคณาจารย์และข้าราชการ มหาวิทยาลัยราชภัฏมาใช้ในการปฏิบัติงาน 2) เพื่อศึกษาระดับการรับรู้ถึงปัจจัยการบริหารงานของสภาคณาจารย์และข้าราชการมหาวิทยาลัยราชภัฏ 3) เพื่อศึกษาถึงระดับประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของสภาคณาจารย์และข้าราชการมหาวิทยาลัยราชภัฏ 4) เพื่อศึกษาระดับของหลักธรรมาภิบาลและปัจจัยการบริหารงานที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของสภาคณาจารย์และข้าราชการมหาวิทยาลัยราชภัฏ 5) เพื่อศึกษาปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับหลักธรรมาภิบาลและปัจจัยการบริหารงานที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของสภาคณาจารย์และข้าราชการมหาวิทยาลัยราชภัฏ
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบผสานวิธี (Mixed Methods Reseach) โดยมีทั้งการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Reseach) และการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Reseach) เพื่อนำเอาข้อมูลทั้ง 2 แบบมาสังเคราะห์ตามวัตถุประสงค์การวิจัย โดยการวิจัยเชิงปริมาณผู้วิจัยใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างคือสภาคณาจารย์และข้าราชการมหาวิทยาลัยราชภัฏทั้ง 20 แห่ง จำนวน 118 คน ส่วนการวิจัยเชิงคุณภาพการเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยวิธี Focus group จากคณะกรรมการสภาคณาจารย์และข้าราชการมหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มภาคเหนือ 8 จำนวน 40 คน การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณโดยใช้ค่าความถี่ (Frequency) และค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ยเลขคณิต (Arithmetic men) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) และใช้สถิติ Regression ส่วนการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ เป็นการวิเคราะห์ข้อมูลการบรรยายเชิงพรรณนา และมีการอภิปรายผลการวิจัย
ผลการวิจัยสรุปได้ดังต่อไปนี้
1) ระดับการรับรู้ถึงการนำเอาหลักธรรมาภิบาลของสภาคณาจารย์และข้าราชการมหาวิทยาลัยราชภัฏมาใช้ในการปฏิบัติงาน พบว่าความคิดเห็นของสมาชิกสภาคณาจารย์และข้าราชการต่อการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของสภาคณาจารย์และข้าราชการที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของสภาคณาจารย์และข้าราชการมหาวิทยาลัยราชภัฏ อยู่ในระดับดีมากที่สุด มีค่าเฉลี่ย 4.28 (S.D = 0.70) 2) ระดับการรับรู้ถึงปัจจัยการบริหารงานของสภาคณาจารย์และข้าราชการมหาวิทยาลัยราชภัฏ พบว่าความคิดเห็นความคิดเห็นของสมาชิกสภาคณาจารย์และข้าราชการมหาวิทยาลัยราชภัฏเกี่ยวกับปัจจัยด้านโครงสร้างของสภาคณาจารย์และข้าราชการกับการบริหารงาน โดยภาพรวมอยู่ในระดับดีมาก มีค่าเฉลี่ย 4.20 (S.D = 0.73) 3) ระดับประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของสภาคณาจารย์และข้าราชการมหาวิทยาลัยราชภัฏ พบว่าความคิดเห็นของสมาชิกสภาคณาจารย์ฯ ที่มีต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของสภาคณาจารย์และข้าราชการมหาวิทยาลัยราชภัฏ โดยภาพรวมอยู่ในระดับดีมากที่สุด มีค่าเฉลี่ย 4.31 (S.D = 0.71) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่ามากที่สุดคือ การนำเสนอเชิงนโยบายและแผนพัฒนามหาวิทยาลัยด้านต่าง ๆ ต่อมหาวิทยาลัย มีค่าเฉลี่ย 4.68 (S.D = 0.67) 4) ระดับของหลักธรรมาภิบาลและปัจจัยการบริหารงานที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของสภาคณาจารย์และข้าราชการ มหาวิทยาลัยราชภัฏ พบว่าความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยการบริหารทั้ง 5 ปัจจัยกับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของสภาคณาจารย์และข้าราชการมหาวิทยาลัยราชภัฏ โดยภาพรวมอยู่ในระดับน้อยที่สุด โดยพบว่ามีเพียงหลักธรรมาภิบาล มีความสัมพันธ์ในระดับน้อยที่สุดในทิศทางบวก (Pxy = .152) ส่วนอีก 4 ปัจจัยจะมีความสัมพันธ์กับประสิทธิภาพในปฏิบัติงานของสภาคณาจารย์และข้าราชการในระดับน้อยที่สุดทิศทางลบ 5) ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับหลักธรรมาภิบาลและปัจจัยการบริหารงานที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของสภาคณาจารย์และข้าราชการมหาวิทยาลัยราชภัฏพบว่า ปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงานของสภาคณาจารย์และข้าราชการมหาวิทยาลัยราชภัฏ ปัญหาในการบริหารของสภาคณาจารย์และข้าราชการมหาวิทยาลัยราชภัฏ ขาดการสนับสนุนทางด้านงบประมาณจากมหาวิทยาลัย สภาคณาจารย์ไม่ได้แสดงบทบาทต่อมหาวิทยาลัยอย่างเต็มที่ บุคลากรในสภาคณาจารย์ฯ มีภาระความรับผิดในการสอนและการบริหารสภาทำให้ไม่ปฏิบัติที่ได้มีประสิทธิภาพเท่าที่ควรCurricular : GE/MPA/DPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28402 SIU THE-T. หลักธรรมาภิบาลและปัจจัยการบริหารงานที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของสภาคณาจารย์และข้าราชการมหาวิทยาลัยราชภัฏ = Good Governance Principle and Administrative Factors Affecting Performance Efficiencies of Faculty Senates in Rajabhat Universities [printed text] / เทวฤทธิ์ วิญญา, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2021 . - x, 141 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2021-01
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2021
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหาร
[LCSH]ธรรมาภิบาล
[LCSH]มหาวิทยาลัยราชภัฏ -- ข้าราชการ -- การทำงานKeywords: ธรรมาภิบาล, ปัจจัยการบริหาร, ประสิทธิภาพ Abstract: การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระดับการรับรู้ถึงการนำเอาหลักธรรมาภิบาลของสภาคณาจารย์และข้าราชการ มหาวิทยาลัยราชภัฏมาใช้ในการปฏิบัติงาน 2) เพื่อศึกษาระดับการรับรู้ถึงปัจจัยการบริหารงานของสภาคณาจารย์และข้าราชการมหาวิทยาลัยราชภัฏ 3) เพื่อศึกษาถึงระดับประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของสภาคณาจารย์และข้าราชการมหาวิทยาลัยราชภัฏ 4) เพื่อศึกษาระดับของหลักธรรมาภิบาลและปัจจัยการบริหารงานที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของสภาคณาจารย์และข้าราชการมหาวิทยาลัยราชภัฏ 5) เพื่อศึกษาปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับหลักธรรมาภิบาลและปัจจัยการบริหารงานที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของสภาคณาจารย์และข้าราชการมหาวิทยาลัยราชภัฏ
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบผสานวิธี (Mixed Methods Reseach) โดยมีทั้งการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Reseach) และการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Reseach) เพื่อนำเอาข้อมูลทั้ง 2 แบบมาสังเคราะห์ตามวัตถุประสงค์การวิจัย โดยการวิจัยเชิงปริมาณผู้วิจัยใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างคือสภาคณาจารย์และข้าราชการมหาวิทยาลัยราชภัฏทั้ง 20 แห่ง จำนวน 118 คน ส่วนการวิจัยเชิงคุณภาพการเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยวิธี Focus group จากคณะกรรมการสภาคณาจารย์และข้าราชการมหาวิทยาลัยราชภัฏกลุ่มภาคเหนือ 8 จำนวน 40 คน การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณโดยใช้ค่าความถี่ (Frequency) และค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ยเลขคณิต (Arithmetic men) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) และใช้สถิติ Regression ส่วนการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพ เป็นการวิเคราะห์ข้อมูลการบรรยายเชิงพรรณนา และมีการอภิปรายผลการวิจัย
ผลการวิจัยสรุปได้ดังต่อไปนี้
1) ระดับการรับรู้ถึงการนำเอาหลักธรรมาภิบาลของสภาคณาจารย์และข้าราชการมหาวิทยาลัยราชภัฏมาใช้ในการปฏิบัติงาน พบว่าความคิดเห็นของสมาชิกสภาคณาจารย์และข้าราชการต่อการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลของสภาคณาจารย์และข้าราชการที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของสภาคณาจารย์และข้าราชการมหาวิทยาลัยราชภัฏ อยู่ในระดับดีมากที่สุด มีค่าเฉลี่ย 4.28 (S.D = 0.70) 2) ระดับการรับรู้ถึงปัจจัยการบริหารงานของสภาคณาจารย์และข้าราชการมหาวิทยาลัยราชภัฏ พบว่าความคิดเห็นความคิดเห็นของสมาชิกสภาคณาจารย์และข้าราชการมหาวิทยาลัยราชภัฏเกี่ยวกับปัจจัยด้านโครงสร้างของสภาคณาจารย์และข้าราชการกับการบริหารงาน โดยภาพรวมอยู่ในระดับดีมาก มีค่าเฉลี่ย 4.20 (S.D = 0.73) 3) ระดับประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของสภาคณาจารย์และข้าราชการมหาวิทยาลัยราชภัฏ พบว่าความคิดเห็นของสมาชิกสภาคณาจารย์ฯ ที่มีต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของสภาคณาจารย์และข้าราชการมหาวิทยาลัยราชภัฏ โดยภาพรวมอยู่ในระดับดีมากที่สุด มีค่าเฉลี่ย 4.31 (S.D = 0.71) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่ามากที่สุดคือ การนำเสนอเชิงนโยบายและแผนพัฒนามหาวิทยาลัยด้านต่าง ๆ ต่อมหาวิทยาลัย มีค่าเฉลี่ย 4.68 (S.D = 0.67) 4) ระดับของหลักธรรมาภิบาลและปัจจัยการบริหารงานที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของสภาคณาจารย์และข้าราชการ มหาวิทยาลัยราชภัฏ พบว่าความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยการบริหารทั้ง 5 ปัจจัยกับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของสภาคณาจารย์และข้าราชการมหาวิทยาลัยราชภัฏ โดยภาพรวมอยู่ในระดับน้อยที่สุด โดยพบว่ามีเพียงหลักธรรมาภิบาล มีความสัมพันธ์ในระดับน้อยที่สุดในทิศทางบวก (Pxy = .152) ส่วนอีก 4 ปัจจัยจะมีความสัมพันธ์กับประสิทธิภาพในปฏิบัติงานของสภาคณาจารย์และข้าราชการในระดับน้อยที่สุดทิศทางลบ 5) ปัญหาอุปสรรคและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับหลักธรรมาภิบาลและปัจจัยการบริหารงานที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของสภาคณาจารย์และข้าราชการมหาวิทยาลัยราชภัฏพบว่า ปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงานของสภาคณาจารย์และข้าราชการมหาวิทยาลัยราชภัฏ ปัญหาในการบริหารของสภาคณาจารย์และข้าราชการมหาวิทยาลัยราชภัฏ ขาดการสนับสนุนทางด้านงบประมาณจากมหาวิทยาลัย สภาคณาจารย์ไม่ได้แสดงบทบาทต่อมหาวิทยาลัยอย่างเต็มที่ บุคลากรในสภาคณาจารย์ฯ มีภาระความรับผิดในการสอนและการบริหารสภาทำให้ไม่ปฏิบัติที่ได้มีประสิทธิภาพเท่าที่ควรCurricular : GE/MPA/DPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28402 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607856 SIU THE-T: IPAG-DPA-2021-01 c.1 Thesis Main Library Thesis Corner Available 32002000607854 SIU THE-T: IPAG-DPA-2021-01 c.2 Thesis Main Library Thesis Corner Available ความสัมพันธ์ของความแตกฉานทางสุขภาพ ผลจากการได้รับความรู้ เกี่ยวกับสุขภาพ และอิทธิพลทางสังคมกับผลลัพธ์ทางคลินิกของผู้ป่วย / นภาพร วาณิชย์กุล in วารสารสภาการพยาบาล, Vol.32 No.2 (Apr-Jun) 2017-2560 ([09/21/2017])
[article]
Title : ความสัมพันธ์ของความแตกฉานทางสุขภาพ ผลจากการได้รับความรู้ เกี่ยวกับสุขภาพ และอิทธิพลทางสังคมกับผลลัพธ์ทางคลินิกของผู้ป่วย : โรคเบาหวานชนิดที่ 2 และ/หรือความดันโลหิตสูง Original title : Health Literacy, Health Education Outcomes and Social Influence, and Their Relationships with Type-2 Diabetes and/or Hypertension Patients’ Clinical Outcomes* Material Type: printed text Authors: นภาพร วาณิชย์กุล, Author ; สุขมาพร พึ่งผาสุก, Author ; ทิพา ต่อสกุลแก้ว, Author ; เกศรินทร์ อุทริยะประสิทธิ์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.111-115 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.32 No.2 (Apr-Jun) 2017-2560 [09/21/2017] . - p.111-115Keywords: ความแตกฉานทางสุขภาพ. ผลจากการได้รับความรู้เกี่ยวกับสุขภาพ. อิทธิพลทางสังคมผลลัพธ์ทางคลินิก. เบาหวานชนิดที่ 2. ความดันโลหิตสูง. Abstract: วัตถุประสงค์ของการวิจัย: เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของความแตกฉานทางสุขภาพ ผลจาก
การได้รับความรู้เกี่ยวกับสุขภาพ และอิทธิพลทางสังคม กับผลลัพธ์ทางคลินิกในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 และ/ หรือความดันโลหิตสูงการออกแบบวิจัย: การวิจัยเชิงบรรยายวิเคราะห์ความสัมพันธ์
วิธีการดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างจำนวน 205 ราย เป็นผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 และ/ หรือความดันโลหิตสูง ของแผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลระดับทุติยภูมิ 3 แห่ง ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือเครื่องมือในการวิจัยประกอบด้วย แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคลและผลลัพธ์ทางคลินิก แบบสอบถามความแตกฉานทางสุขภาพ ผลจากการได้รับความรู้เกี่ยวกับสุขภาพ และอิทธิพลทางสังคม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงบรรยายและสถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบสเปียร์แมนผลการวิจัย: พบว่ากลุ่มตัวอย่างมีอายุเฉลี่ย 60.8 ปี (SD =12.3)57.1% เป็นเพศหญิง และมีโรคประจำตัวอย่างน้อย 2 โรค (67.8%) สามารถควบคุมโรคได้ดี 38.6% มีความแตกฉานทางสุขภาพอยู่ในระดับปานกลาง (mean ± SD = 2.25 ± 0.65 คะแนน) ผลจากการได้รับความรู้เกี่ยวกับสุขภาพอยู่ในระดับสูง (mean ± SD = 3.57 ± 0.43 คะแนน) อิทธิพลทางสังคมมีระดับปานกลาง(mean ± SD = 2.53 + 0.4 คะแนน) และผลลัพธ์ทางคลินิกอยู่ในระดับต่ำ (mean ± SD = 1.36 ± 1.5)ความแตกฉานทางสุขภาพ อิทธิพลทางสังคม และผลจากการได้รับความรู้เกี่ยวกับสุขภาพ มีความสัมพันธ์ทางลบกับผลลัพธ์ทางคลินิกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติข้อเสนอแนะ: บุคลากรทางการแพทย์ควรประเมินความแตกฉานทางสุขภาพ ผลจากการได้รับความรู้เกี่ยวกับสุขภาพ อิทธิพลทางสังคม ของผู้ป่วยเพื่อใช้ในการวางแผนการพยาบาลในการพัฒนาผลลัพธ์ทางคลินิกของผู้ป่วยต่อไปLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27359 [article] ความสัมพันธ์ของความแตกฉานทางสุขภาพ ผลจากการได้รับความรู้ เกี่ยวกับสุขภาพ และอิทธิพลทางสังคมกับผลลัพธ์ทางคลินิกของผู้ป่วย = Health Literacy, Health Education Outcomes and Social Influence, and Their Relationships with Type-2 Diabetes and/or Hypertension Patients’ Clinical Outcomes* : โรคเบาหวานชนิดที่ 2 และ/หรือความดันโลหิตสูง [printed text] / นภาพร วาณิชย์กุล, Author ; สุขมาพร พึ่งผาสุก, Author ; ทิพา ต่อสกุลแก้ว, Author ; เกศรินทร์ อุทริยะประสิทธิ์, Author . - 2017 . - p.111-115.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.32 No.2 (Apr-Jun) 2017-2560 [09/21/2017] . - p.111-115Keywords: ความแตกฉานทางสุขภาพ. ผลจากการได้รับความรู้เกี่ยวกับสุขภาพ. อิทธิพลทางสังคมผลลัพธ์ทางคลินิก. เบาหวานชนิดที่ 2. ความดันโลหิตสูง. Abstract: วัตถุประสงค์ของการวิจัย: เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของความแตกฉานทางสุขภาพ ผลจาก
การได้รับความรู้เกี่ยวกับสุขภาพ และอิทธิพลทางสังคม กับผลลัพธ์ทางคลินิกในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 และ/ หรือความดันโลหิตสูงการออกแบบวิจัย: การวิจัยเชิงบรรยายวิเคราะห์ความสัมพันธ์
วิธีการดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างจำนวน 205 ราย เป็นผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 และ/ หรือความดันโลหิตสูง ของแผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลระดับทุติยภูมิ 3 แห่ง ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือเครื่องมือในการวิจัยประกอบด้วย แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคลและผลลัพธ์ทางคลินิก แบบสอบถามความแตกฉานทางสุขภาพ ผลจากการได้รับความรู้เกี่ยวกับสุขภาพ และอิทธิพลทางสังคม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงบรรยายและสถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบสเปียร์แมนผลการวิจัย: พบว่ากลุ่มตัวอย่างมีอายุเฉลี่ย 60.8 ปี (SD =12.3)57.1% เป็นเพศหญิง และมีโรคประจำตัวอย่างน้อย 2 โรค (67.8%) สามารถควบคุมโรคได้ดี 38.6% มีความแตกฉานทางสุขภาพอยู่ในระดับปานกลาง (mean ± SD = 2.25 ± 0.65 คะแนน) ผลจากการได้รับความรู้เกี่ยวกับสุขภาพอยู่ในระดับสูง (mean ± SD = 3.57 ± 0.43 คะแนน) อิทธิพลทางสังคมมีระดับปานกลาง(mean ± SD = 2.53 + 0.4 คะแนน) และผลลัพธ์ทางคลินิกอยู่ในระดับต่ำ (mean ± SD = 1.36 ± 1.5)ความแตกฉานทางสุขภาพ อิทธิพลทางสังคม และผลจากการได้รับความรู้เกี่ยวกับสุขภาพ มีความสัมพันธ์ทางลบกับผลลัพธ์ทางคลินิกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติข้อเสนอแนะ: บุคลากรทางการแพทย์ควรประเมินความแตกฉานทางสุขภาพ ผลจากการได้รับความรู้เกี่ยวกับสุขภาพ อิทธิพลทางสังคม ของผู้ป่วยเพื่อใช้ในการวางแผนการพยาบาลในการพัฒนาผลลัพธ์ทางคลินิกของผู้ป่วยต่อไปLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27359 ประสิทธิภาพการบริหารศูนย์รับแจ้งเหตุฉุกเฉิน 191 กองบัญชาการตำรวจนครบาล / ธานินทร์ มุมทอง / ปทุมธานี : มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2020
Title : ประสิทธิภาพการบริหารศูนย์รับแจ้งเหตุฉุกเฉิน 191 กองบัญชาการตำรวจนครบาล Original title : Management Efficiency of the Emergency Notification Center 191 Metropolitan Police Bureau Material Type: printed text Authors: ธานินทร์ มุมทอง, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name Publisher: ปทุมธานี : มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2020 Pagination: xv, 258 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-23
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ศูนย์รับแจ้งเหตุฉุกเฉิน 191 -- การบริหาร
[LCSH]องค์กร -- การจัดการKeywords: ประสิทธิภาพการบริหาร, แนวทางการบริหาร, ศูนย์รับแจ้งเหตุฉุกเฉิน 191 Curricular : MBA/MPA/DPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28274 ประสิทธิภาพการบริหารศูนย์รับแจ้งเหตุฉุกเฉิน 191 กองบัญชาการตำรวจนครบาล = Management Efficiency of the Emergency Notification Center 191 Metropolitan Police Bureau [printed text] / ธานินทร์ มุมทอง, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name . - ปทุมธานี : มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020 . - xv, 258 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-23
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ศูนย์รับแจ้งเหตุฉุกเฉิน 191 -- การบริหาร
[LCSH]องค์กร -- การจัดการKeywords: ประสิทธิภาพการบริหาร, แนวทางการบริหาร, ศูนย์รับแจ้งเหตุฉุกเฉิน 191 Curricular : MBA/MPA/DPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28274 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32 002000607502 SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-23 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available 32002000607501 SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-23 c.2 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available ปัจจัยส่วนบุคคล การสนับสนุนทางสังคม และประสิทธิภาพการดูดนมของทารกก่อนจำหน่าย / อุษา วงศ์พินิจ in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.17 No.1 (Jan-Apr) 2016 ([06/20/2016])
[article]
Title : ปัจจัยส่วนบุคคล การสนับสนุนทางสังคม และประสิทธิภาพการดูดนมของทารกก่อนจำหน่าย : ในการทำนายการเลี้่ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 1 เดือน ในมารดาที่มีบุตรคนแรก Original title : Personal factor social support and effective sucking at discharge in prediction exclusive breastfeeding at one month among first-time mother Material Type: printed text Authors: อุษา วงศ์พินิจ, Author ; นิตยา สินสุกใส, Author ; ฉวีวรรณ อยู่สำราญ, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.88-95 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.17 No.1 (Jan-Apr) 2016 [06/20/2016] . - p.88-95Keywords: ปัจจัยส่วนบุคคล.การสนับสนุนทางสังคม.ประสิทธิภาพการดูดนมทารกการทำนายการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25565 [article] ปัจจัยส่วนบุคคล การสนับสนุนทางสังคม และประสิทธิภาพการดูดนมของทารกก่อนจำหน่าย = Personal factor social support and effective sucking at discharge in prediction exclusive breastfeeding at one month among first-time mother : ในการทำนายการเลี้่ยงลูกด้วยนมแม่อย่างเดียว 1 เดือน ในมารดาที่มีบุตรคนแรก [printed text] / อุษา วงศ์พินิจ, Author ; นิตยา สินสุกใส, Author ; ฉวีวรรณ อยู่สำราญ, Author . - 2016 . - p.88-95.
Languages : Thai (tha)ผลของโปรแกรมการส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการบริหาร การหายใจต่อการรับรู้สมรรถนะแห่งตนแ / ณัฏฐา ดวงตา in วารสารสภาการพยาบาล, Vol.32 No.2 (Apr-Jun) 2017-2560 ([09/21/2017])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมการส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการบริหาร การหายใจต่อการรับรู้สมรรถนะแห่งตนแ : และประสิทธิภาพการหายใจในผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง Material Type: printed text Authors: ณัฏฐา ดวงตา, Author ; สุนทรา เลี้ยงเชวงวงศ์, Author ; สมพล สงวนรังศิริกุล, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.95-110 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.32 No.2 (Apr-Jun) 2017-2560 [09/21/2017] . - p.95-110Keywords: การส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตน. การบริหารการหายใจ. การรับรู้สมรรถนะแห่งตน. ประสิทธิภาพการหายใจ. ผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง. Abstract: วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาผลของการส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการบริหารการหายใจต่อการรับรู้สมรรถนะแห่งตน และประสิทธิภาพการหายใจในผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังการออกแบบการวิจัย: การวิจัยเชิงทดลองแบบสองกลุ่มวัดก่อนและหลังการทดลองวิธีดำาเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจงจำานวน 84 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 42 คน โดยวิธีการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วยโปรแกรมการส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการบริหารการหายใจ คู่มือความรู้ด้านสุขภาพและการบริหารการหายใจ วีดิทัศน์การบริหารการหายใจ ระยะเวลาในการวิจัยทั้งหมด 8 สัปดาห์ เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสัมภาษณ์ข้อมูลส่วนบุคคล แบบประเมินประสิทธิภาพการหายใจ ประกอบด้วยแบบสัมภาษณ์ปัญหาการหายใจของเซนต์จอร์จ แบบสัมภาษณ์อาการหายใจลำาบาก อาการไอและภาวะคั่งของเสมหะ อัตราเร็วสูงสุดของลมขณะหายใจออกและระยะทางเดินบนพื้นราบ 6 นาที วิเคราะห์ข้อมูลร้อยละ ค่าเฉลี่ยChi-squares, Fisher’s exact test ,Paired t-test, Independent t-test และ ANCOVA testผลการวิจัย: ภายหลังการทดลอง พบว่า กลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยคะแนนการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการบริหารการหายใจดีกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .001) ค่าเฉลี่ยคะแนนปัญหาการหายใจลดลงมากกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .01) ส่วนค่าเฉลี่ยคะแนนอาการหายใจลำาบาก อาการไอและการคั่งของเสมหะ อัตราเร็วสูงสุดของลมขณะหายใจออก และระยะทางการเดินบนพื้นราบ 6 นาที ของทั้งสองกลุ่มไม่แตกต่างกันข้อเสนอแนะ : ควรมีการศึกษาติดตามในระยะยาวเพื่อให้เกิดประสิทธิผลต่อสมรรถภาพการทำงานของปอด Link for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27358 [article] ผลของโปรแกรมการส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการบริหาร การหายใจต่อการรับรู้สมรรถนะแห่งตนแ : และประสิทธิภาพการหายใจในผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง [printed text] / ณัฏฐา ดวงตา, Author ; สุนทรา เลี้ยงเชวงวงศ์, Author ; สมพล สงวนรังศิริกุล, Author . - 2017 . - p.95-110.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.32 No.2 (Apr-Jun) 2017-2560 [09/21/2017] . - p.95-110Keywords: การส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตน. การบริหารการหายใจ. การรับรู้สมรรถนะแห่งตน. ประสิทธิภาพการหายใจ. ผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง. Abstract: วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาผลของการส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการบริหารการหายใจต่อการรับรู้สมรรถนะแห่งตน และประสิทธิภาพการหายใจในผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังการออกแบบการวิจัย: การวิจัยเชิงทดลองแบบสองกลุ่มวัดก่อนและหลังการทดลองวิธีดำาเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจงจำานวน 84 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 42 คน โดยวิธีการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วยโปรแกรมการส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการบริหารการหายใจ คู่มือความรู้ด้านสุขภาพและการบริหารการหายใจ วีดิทัศน์การบริหารการหายใจ ระยะเวลาในการวิจัยทั้งหมด 8 สัปดาห์ เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสัมภาษณ์ข้อมูลส่วนบุคคล แบบประเมินประสิทธิภาพการหายใจ ประกอบด้วยแบบสัมภาษณ์ปัญหาการหายใจของเซนต์จอร์จ แบบสัมภาษณ์อาการหายใจลำาบาก อาการไอและภาวะคั่งของเสมหะ อัตราเร็วสูงสุดของลมขณะหายใจออกและระยะทางเดินบนพื้นราบ 6 นาที วิเคราะห์ข้อมูลร้อยละ ค่าเฉลี่ยChi-squares, Fisher’s exact test ,Paired t-test, Independent t-test และ ANCOVA testผลการวิจัย: ภายหลังการทดลอง พบว่า กลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยคะแนนการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการบริหารการหายใจดีกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .001) ค่าเฉลี่ยคะแนนปัญหาการหายใจลดลงมากกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .01) ส่วนค่าเฉลี่ยคะแนนอาการหายใจลำาบาก อาการไอและการคั่งของเสมหะ อัตราเร็วสูงสุดของลมขณะหายใจออก และระยะทางการเดินบนพื้นราบ 6 นาที ของทั้งสองกลุ่มไม่แตกต่างกันข้อเสนอแนะ : ควรมีการศึกษาติดตามในระยะยาวเพื่อให้เกิดประสิทธิผลต่อสมรรถภาพการทำงานของปอด Link for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27358 หลุดจากกับดัก / วิโรจน์ ลักขณาอดิศร / กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น - 2552
Title : หลุดจากกับดัก Original title : Balanced scorecard Material Type: printed text Authors: วิโรจน์ ลักขณาอดิศร, Author Publisher: กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น Publication Date: 2552 Pagination: 256 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 21.2 ซม. ISBN (or other code): 978-6-16-080062-9 Price: 190.00 บ. General note: ปัญหาในการใช้ Balanced scorecard (BSC) ในประเทศไทยคือ องค์กรส่วนใหญ่ไม่เข้าใจว่า BSC เป็นเครื่องมือในการวางกลยุทธ์ ดังนั้น จึงใช้เป็นเพียงเครื่องมือในการกำหนดตัวชี้วัดเพื่อการประเมินผลการปฏิบัติงานภายใน จึงทำให้หลาย ๆ องค์กรพบปัญหามากมาย เช่น มีแผ่นที่กลยุทธและตัวชี้วัดทั่ว ๆ ไป ที่ใช้ในการประเมินผลการปฏิบัติงานตามปกติเท่านั้น ไม่มีจุดมุ่งเน้น (focus) ที่เด่นชัด จำนวนตัวชี้วัดและงานเอกสารมากมาย ระบบประเมินผลการปฏิบัติงานมีความซับซ้อน มีขั้นตอนการอนุมัติมาก ทำให้องค์กรขับเคลื่อนเพื่อสร้างการเปลี่ยนแปลงได้ช้า
หนังสือเล่มนี้อธิบายหลักการ แนวคิด BSC การนำไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดเพื่อให้องค์กรสามารถสร้างการเปลี่ยนแปลงสู่การขับเคลื่อนทางกลยุทธได้Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การประเมิน
[LCSH]การวางแผนเชิงกลยุทธ์
[LCSH]ประสิทธิผลองค์กรKeywords: ฺBalanced Scorecard (BSC), วางแผนกลยุทธ, ประสิทธิภาพและประสิทธิผล Curricular : BBA/GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27549 หลุดจากกับดัก = Balanced scorecard [printed text] / วิโรจน์ ลักขณาอดิศร, Author . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น, 2552 . - 256 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 21.2 ซม.
ISBN : 978-6-16-080062-9 : 190.00 บ.
ปัญหาในการใช้ Balanced scorecard (BSC) ในประเทศไทยคือ องค์กรส่วนใหญ่ไม่เข้าใจว่า BSC เป็นเครื่องมือในการวางกลยุทธ์ ดังนั้น จึงใช้เป็นเพียงเครื่องมือในการกำหนดตัวชี้วัดเพื่อการประเมินผลการปฏิบัติงานภายใน จึงทำให้หลาย ๆ องค์กรพบปัญหามากมาย เช่น มีแผ่นที่กลยุทธและตัวชี้วัดทั่ว ๆ ไป ที่ใช้ในการประเมินผลการปฏิบัติงานตามปกติเท่านั้น ไม่มีจุดมุ่งเน้น (focus) ที่เด่นชัด จำนวนตัวชี้วัดและงานเอกสารมากมาย ระบบประเมินผลการปฏิบัติงานมีความซับซ้อน มีขั้นตอนการอนุมัติมาก ทำให้องค์กรขับเคลื่อนเพื่อสร้างการเปลี่ยนแปลงได้ช้า
หนังสือเล่มนี้อธิบายหลักการ แนวคิด BSC การนำไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดเพื่อให้องค์กรสามารถสร้างการเปลี่ยนแปลงสู่การขับเคลื่อนทางกลยุทธได้
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การประเมิน
[LCSH]การวางแผนเชิงกลยุทธ์
[LCSH]ประสิทธิผลองค์กรKeywords: ฺBalanced Scorecard (BSC), วางแผนกลยุทธ, ประสิทธิภาพและประสิทธิผล Curricular : BBA/GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27549 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000596724 HD58.9 .ว37 2552 Book Graduate Library General Shelf Available อิทธิพลของภาวะผู้นำบารมีของหัวหน้าหอผู้ป่วยต่อความยึดมั่นผูกพันในองค์การของ พยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลทั่วไป เขตบริการสุขภาพที่ 2 / ธนกร ขรพัต in วารสารการพยาบาลและสุขภาพ, Vol.11 No.2 (พ.ค-ส.ค) 2560 ([03/20/2018])
[article]
Title : อิทธิพลของภาวะผู้นำบารมีของหัวหน้าหอผู้ป่วยต่อความยึดมั่นผูกพันในองค์การของ พยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลทั่วไป เขตบริการสุขภาพที่ 2 Original title : The Influence of Charismatic Leadership of Head Nurse on Organization Commitment among Nurses in General Hospital, Regional Health 2 Material Type: printed text Authors: ธนกร ขรพัต, Author ; จรรจา สันตยากร, Author Publication Date: 2018 Article on page: p.54-67 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลและสุขภาพ > Vol.11 No.2 (พ.ค-ส.ค) 2560 [03/20/2018] . - p.54-67Keywords: อิทธิพลของภาวะผู้นำบารมีหัวหน้าหอผู้ป่วย.ความยึดมั่นผูกพันในองค์การ.พยาบาลวิชาชีพ. โรงพยาบาลทั่วไป เขตบริการสุขภาพที่ 2. Link for e-copy: http://www.nurse.nu.ac.th/journals/index.php Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27572 [article] อิทธิพลของภาวะผู้นำบารมีของหัวหน้าหอผู้ป่วยต่อความยึดมั่นผูกพันในองค์การของ พยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลทั่วไป เขตบริการสุขภาพที่ 2 = The Influence of Charismatic Leadership of Head Nurse on Organization Commitment among Nurses in General Hospital, Regional Health 2 [printed text] / ธนกร ขรพัต, Author ; จรรจา สันตยากร, Author . - 2018 . - p.54-67.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)