From this page you can:
Home |
Search results
15 result(s) search for keyword(s) 'อุปสรรคในการปฏิบัติงาน, ตำรวจ'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
SIU IS-T. อุปสรรคในการปฏิบัติงาน ของตำรวจกองกำกับการสืบสวนตำรวจภูธรจังหวัดสุราษฎร์ธานี / วัชรินทร์ นาคบำรุง / 2015
Collection Title: SIU IS-T Title : อุปสรรคในการปฏิบัติงาน ของตำรวจกองกำกับการสืบสวนตำรวจภูธรจังหวัดสุราษฎร์ธานี Original title : Obstacles in Performing Jobs of Polices in Investigation Sub-Division of Surattani Provincial Police Material Type: printed text Authors: วัชรินทร์ นาคบำรุง, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; สมพร เพชรสงค์, Associated Name Publication Date: 2015 Pagination: vii, 74 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2015-03
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2015.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ตำรวจ -- การปฏิบัติงาน
[LCSH]ตำรวจสืบสวน -- สุราษฎร์ธานีKeywords: อุปสรรคในการปฏิบัติงาน,
ตำรวจAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับอุปสรรคในการปฏิบัติงานของตำรวจกองกำกับการสืบสวนตำรวจภูธรจังหวัดสุราษฎร์ธานี และเปรียบเทียบอุปสรรคในการปฏิบัติงานของตำรวจกองกำกับการสืบสวนตำรวจภูธรจังหวัดสุราษฎร์ธานี จำแนกตามอายุ อายุราชการ ระดับการศึกษา และชั้นยศ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ ตำรวจในกองบังคับการสืบสวนตำรวจภูธรจังหวัดสุราษฎร์ธานี จำนวน 82 นาย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามแบบมาตรประมาณค่าที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบค่าที (t-test) ค่าเอฟ (F-test) และความแปรปรวนทางเดียว (One-Way Anova) เปรียบเทียบรายคู่ด้วยวิธีการของ LSD (LSD post hoc comparison)
ผลการวิจัยพบว่า อุปสรรคในการปฏิบัติงานของตำรวจกองกำกับการสืบสวนตำรวจภูธรจังหวัดสุราษฎร์ธานี ในภาพรวมของผู้ตอบแบบสอบถามมีความคิดเห็นทุกด้านอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ได้แก่ ด้านการรักษาความปลอดภัยบุคคลสำคัญ รองลงมา ด้านการสืบสวนหาข่าว ด้านการเจรจาต่อรอง และด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือด้านการป้องกันปราบปราม การเปรียบเทียบอุปสรรคในการปฏิบัติงานของตำรวจกองกำกับการสืบสวนตำรวจภูธรจังหวัดสุราษฎร์ธานี จำแนกตามอายุโดยรวมไม่แตกต่างกัน และเมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ด้านการป้องกันปราบปราม แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สำหรับด้านอื่นๆ พบว่าไม่แตกต่างกัน จำแนกตามอายุราชการ พบว่า โดยรวมไม่แตกต่างกัน และเมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ด้านการป้องกันปราบปราม แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สำหรับด้านอื่นๆ พบว่าไม่แตกต่างกัน จำแนกตามระดับการศึกษา โดยภาพรวมไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า ระดับการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรีเห็นว่าด้านการรักษาความปลอดภัยบุคคลสำคัญเป็นอุปสรรคในการปฏิบัติงานมากกว่าระดับปริญญาตรีขึ้นไป อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 จำแนกตามระดับชั้นยศ โดยภาพรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า ที่มียศชั้นสัญญาบัตร เห็นว่าด้านการสืบสวนหาข่าวเป็นอุปสรรคในการปฏิบัติงานมากกว่าชั้นยศประทวน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 และผู้ตอบแบบสอบถามที่มียศชั้นสัญญาบัตร เห็นว่าด้านการป้องกันปราบปรามเป็นอุปสรรคในการปฏิบัติงานมากกว่าชั้นยศประทวน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26657 SIU IS-T. อุปสรรคในการปฏิบัติงาน ของตำรวจกองกำกับการสืบสวนตำรวจภูธรจังหวัดสุราษฎร์ธานี = Obstacles in Performing Jobs of Polices in Investigation Sub-Division of Surattani Provincial Police [printed text] / วัชรินทร์ นาคบำรุง, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; สมพร เพชรสงค์, Associated Name . - 2015 . - vii, 74 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2015-03
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2015.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ตำรวจ -- การปฏิบัติงาน
[LCSH]ตำรวจสืบสวน -- สุราษฎร์ธานีKeywords: อุปสรรคในการปฏิบัติงาน,
ตำรวจAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับอุปสรรคในการปฏิบัติงานของตำรวจกองกำกับการสืบสวนตำรวจภูธรจังหวัดสุราษฎร์ธานี และเปรียบเทียบอุปสรรคในการปฏิบัติงานของตำรวจกองกำกับการสืบสวนตำรวจภูธรจังหวัดสุราษฎร์ธานี จำแนกตามอายุ อายุราชการ ระดับการศึกษา และชั้นยศ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ ตำรวจในกองบังคับการสืบสวนตำรวจภูธรจังหวัดสุราษฎร์ธานี จำนวน 82 นาย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามแบบมาตรประมาณค่าที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบค่าที (t-test) ค่าเอฟ (F-test) และความแปรปรวนทางเดียว (One-Way Anova) เปรียบเทียบรายคู่ด้วยวิธีการของ LSD (LSD post hoc comparison)
ผลการวิจัยพบว่า อุปสรรคในการปฏิบัติงานของตำรวจกองกำกับการสืบสวนตำรวจภูธรจังหวัดสุราษฎร์ธานี ในภาพรวมของผู้ตอบแบบสอบถามมีความคิดเห็นทุกด้านอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ได้แก่ ด้านการรักษาความปลอดภัยบุคคลสำคัญ รองลงมา ด้านการสืบสวนหาข่าว ด้านการเจรจาต่อรอง และด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือด้านการป้องกันปราบปราม การเปรียบเทียบอุปสรรคในการปฏิบัติงานของตำรวจกองกำกับการสืบสวนตำรวจภูธรจังหวัดสุราษฎร์ธานี จำแนกตามอายุโดยรวมไม่แตกต่างกัน และเมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ด้านการป้องกันปราบปราม แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สำหรับด้านอื่นๆ พบว่าไม่แตกต่างกัน จำแนกตามอายุราชการ พบว่า โดยรวมไม่แตกต่างกัน และเมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ด้านการป้องกันปราบปราม แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สำหรับด้านอื่นๆ พบว่าไม่แตกต่างกัน จำแนกตามระดับการศึกษา โดยภาพรวมไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า ระดับการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรีเห็นว่าด้านการรักษาความปลอดภัยบุคคลสำคัญเป็นอุปสรรคในการปฏิบัติงานมากกว่าระดับปริญญาตรีขึ้นไป อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 จำแนกตามระดับชั้นยศ โดยภาพรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า ที่มียศชั้นสัญญาบัตร เห็นว่าด้านการสืบสวนหาข่าวเป็นอุปสรรคในการปฏิบัติงานมากกว่าชั้นยศประทวน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 และผู้ตอบแบบสอบถามที่มียศชั้นสัญญาบัตร เห็นว่าด้านการป้องกันปราบปรามเป็นอุปสรรคในการปฏิบัติงานมากกว่าชั้นยศประทวน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26657 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000593101 SIU IS-T: IPAG-MPA-2015-03 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000593077 SIU IS-T: IPAG-MPA-2015-03 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. การจัดการความรู้ (KM) ในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ กรณีศึกษา ฝ่ายอำนวยการตำรวจภูธรจังหวัดสมุทรสงคราม / ปวีร์ญธรณ์ เหลือคลังทอง / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : การจัดการความรู้ (KM) ในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ กรณีศึกษา ฝ่ายอำนวยการตำรวจภูธรจังหวัดสมุทรสงคราม Original title : Knowledge Management in Operation of Police Officers: A Case of General Staff Sub-Division, Samut Songkhram Provincial Police Material Type: printed text Authors: ปวีร์ญธรณ์ เหลือคลังทอง, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: vii, 67 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-40
Independent Study [MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารองค์ความรู้
[LCSH]ตำรวจ -- การปฏิบัติงานKeywords: การจัดการความรู้,
ตำรวจAbstract: งานค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางในการจัดการความรู้ สภาพปัญหาและอุปสรรค แนวทางการปรับปรุงการดำเนินการจัดการความรู้ของฝ่ายอำนวยการตำรวจภูธรจังหวัดสมุทรสงคราม ใช้วิธีวิจัยเอกสารและวิธีวิจัยสนาม เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึกกลุ่มเป้าหมายที่เป็นตัวแทน จำนวน 12 คน
ผลการวิจัยพบว่า แนวทางในการจัดการความรู้ของข้าราชการตำรวจฝ่ายอำนวยการตำรวจภูธรจังหวัดสมุทรสงคราม มีการจัดความรู้ในรูปแบบการทำงานร่วมกันเป็นทีม มีการถ่ายทอดความรู้ผ่านการสอนงานแบบพี่เลี้ยง และมีการแสวงหาความรู้ใหม่ในการสืบค้นจากฐานข้อมูลในระบบสารสนเทศข้อมูลอาชญากรรม ซึ่งได้แก่ ระบบ POLIS : Police Information System และ ระบบ C.R.I.M.E.S (Criminal Record And Information Management Enterprise System) ของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ สภาพปัญหาและอุปสรรคที่พบ คือ ปัญหาด้านขาดแคลนบุคลากรทั้งด้านจำนวนและคุณสมบัติ การถ่ายทอดความรู้ไม่มีความต่อเนื่อง ไม่มีงบประมาณเป็นการเฉพาะ วัสดุสำนักงานและระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีไม่เพียงพอ ข้อเสนอแนะจากงานวิจัยพบว่าแนวทางการปรับปรุงการดำเนินการจัดการความรู้ คือ ควรขอรับการจัดสรรบุคลากรและงบประมาณเพิ่มเติม จากตำรวจภูธรภาค 7 มาเพิ่ม หรือขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากนอกหน่วยงาน ควรจัดอบรมข้าราชการตำรวจฝ่ายอำนวยการ เพื่อเพิ่มความรู้ในการปฏิบัติงาน การสร้างบรรยากาศในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ความคิดเห็นกับบุคลากรหน่วยงานอื่น โดยจัดกิจกรรมหรือการประชุมต่างๆ นอกสถานที่ และเชิญข้าราชการหน่วยงานอื่นเข้าร่วมประชุมแลกเปลี่ยนความรู้ด้วยกัน รวมทั้งควรมีการสร้างขวัญและกำลังใจในการทำงานCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27275 SIU IS-T. การจัดการความรู้ (KM) ในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ กรณีศึกษา ฝ่ายอำนวยการตำรวจภูธรจังหวัดสมุทรสงคราม = Knowledge Management in Operation of Police Officers: A Case of General Staff Sub-Division, Samut Songkhram Provincial Police [printed text] / ปวีร์ญธรณ์ เหลือคลังทอง, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - vii, 67 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-40
Independent Study [MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารองค์ความรู้
[LCSH]ตำรวจ -- การปฏิบัติงานKeywords: การจัดการความรู้,
ตำรวจAbstract: งานค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางในการจัดการความรู้ สภาพปัญหาและอุปสรรค แนวทางการปรับปรุงการดำเนินการจัดการความรู้ของฝ่ายอำนวยการตำรวจภูธรจังหวัดสมุทรสงคราม ใช้วิธีวิจัยเอกสารและวิธีวิจัยสนาม เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึกกลุ่มเป้าหมายที่เป็นตัวแทน จำนวน 12 คน
ผลการวิจัยพบว่า แนวทางในการจัดการความรู้ของข้าราชการตำรวจฝ่ายอำนวยการตำรวจภูธรจังหวัดสมุทรสงคราม มีการจัดความรู้ในรูปแบบการทำงานร่วมกันเป็นทีม มีการถ่ายทอดความรู้ผ่านการสอนงานแบบพี่เลี้ยง และมีการแสวงหาความรู้ใหม่ในการสืบค้นจากฐานข้อมูลในระบบสารสนเทศข้อมูลอาชญากรรม ซึ่งได้แก่ ระบบ POLIS : Police Information System และ ระบบ C.R.I.M.E.S (Criminal Record And Information Management Enterprise System) ของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ สภาพปัญหาและอุปสรรคที่พบ คือ ปัญหาด้านขาดแคลนบุคลากรทั้งด้านจำนวนและคุณสมบัติ การถ่ายทอดความรู้ไม่มีความต่อเนื่อง ไม่มีงบประมาณเป็นการเฉพาะ วัสดุสำนักงานและระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีไม่เพียงพอ ข้อเสนอแนะจากงานวิจัยพบว่าแนวทางการปรับปรุงการดำเนินการจัดการความรู้ คือ ควรขอรับการจัดสรรบุคลากรและงบประมาณเพิ่มเติม จากตำรวจภูธรภาค 7 มาเพิ่ม หรือขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากนอกหน่วยงาน ควรจัดอบรมข้าราชการตำรวจฝ่ายอำนวยการ เพื่อเพิ่มความรู้ในการปฏิบัติงาน การสร้างบรรยากาศในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ความคิดเห็นกับบุคลากรหน่วยงานอื่น โดยจัดกิจกรรมหรือการประชุมต่างๆ นอกสถานที่ และเชิญข้าราชการหน่วยงานอื่นเข้าร่วมประชุมแลกเปลี่ยนความรู้ด้วยกัน รวมทั้งควรมีการสร้างขวัญและกำลังใจในการทำงานCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27275 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000595049 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-40 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000595031 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-40 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. การนำนโยบายด้านความมั่นคงของกองบัญชาการตำรวจสันติบาล สำนักงานตำรวจแห่งชาติไปปฏิบัติ / ดารัณ จุนสมุทร / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2021
Collection Title: SIU THE-T Title : การนำนโยบายด้านความมั่นคงของกองบัญชาการตำรวจสันติบาล สำนักงานตำรวจแห่งชาติไปปฏิบัติ Original title : Implementation of Security Policies of Special Branch Bureau, Royal Thai Police Material Type: printed text Authors: ดารัณ จุนสมุทร, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2021 Pagination: ix, 183 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2021-02
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2021Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารงาน
[LCSH]ข้าราชการตำรวจ -- -- การปฏิบัติงาน
[LCSH]ความมั่นคง -- ไทยKeywords: ความมั่นคง, การนำนโยบายไปปฏิบัติ, การบริหารงาน, ตำรวจสันติบาล Abstract: งานวิจัยนี้มีจุดประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสภาพการนำนโยบายด้านความมั่นคง ของกองบัญชาการตำรวจสันติบาล สำนักงานตำรวจแห่งชาติไปปฏิบัติ 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลสำเร็จต่อการนำนโยบายด้านความมั่นคง ของกองบัญชาการตำรวจสันติบาล สำนักงานตำรวจแห่งชาติไปปฏิบัติ 3) เพื่อเสนอแนวทางในการนำนโยบายด้านความมั่นคง ของกองบัญชาการตำรวจสันติบาล สำนักงานตำรวจแห่งชาติไปปฏิบัติ ผู้วิจัยใช้การวิจัยแบบผสานวิธี (Mixed Methods Research) คือ (1) การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยการสัมภาษณ์เชิงลึกของผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จากผู้บริหารกองบัญชาการตำรวจสันติบาล จำนวน 11 คน โดยใช้การวิเคราะห์แบบการจำแนกชนิดของข้อมูล (2) การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) การใช้ข้อมูลแบบสอบถาม กลุ่มตัวอย่างจากกองบัญชาการตำรวจสันติบาล จำนวน 400 คน โดยใช้สมการถดถอยเชิงพหุคูณ
ผลการวิจัยเชิงคุณภาพ พบว่า สภาพการนำนโยบายไปปฏิบัติ ด้านการบริหารงานมี 3 ด้าน บรรลุผลสำเร็จตามเป้าหมายคือ ประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ ประสิทธิภาพตามแผนปฏิบัติราชการและการพัฒนาองค์กร ส่วนคุณภาพการให้บริการไม่บรรลุผลสำเร็จ และแนวทางในการนำนโยบายไปปฏิบัติ ผู้นำยุคใหม่ต้องปรับตัวให้เท่าทันต่อสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป อาศัยความร่วมมือของผู้ตามที่สอดคล้องกับแรงจูงใจ ด้วยการเปิดโอกาสการมีส่วนร่วมในการคิด วางแผนและการตัดสินใจ ส่วนการวิจัยเชิงปริมาณ ปัจจัยที่ส่งผลสำเร็จต่อการนำนโยบายไปปฏิบัติ พบว่า ปัจจัยเชิงนโยบาย ด้านภาวะผู้นำ มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก (x̄ = 4.46, S.D. = 0.72) และการบริหารงานที่ส่งผลสำเร็จต่อการนำนโยบายไปปฏิบัติ ด้านการพัฒนาองค์กร มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก (x̄ = 4.24, S.D. = 0.73)
ข้อเสนอแนะ ควรมีงบประมาณที่เพียงพอด้านคุณภาพการให้บริการ ที่สามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและโปร่งใสCurricular : GE/MPA/DPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28403 SIU THE-T. การนำนโยบายด้านความมั่นคงของกองบัญชาการตำรวจสันติบาล สำนักงานตำรวจแห่งชาติไปปฏิบัติ = Implementation of Security Policies of Special Branch Bureau, Royal Thai Police [printed text] / ดารัณ จุนสมุทร, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2021 . - ix, 183 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2021-02
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2021
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารงาน
[LCSH]ข้าราชการตำรวจ -- -- การปฏิบัติงาน
[LCSH]ความมั่นคง -- ไทยKeywords: ความมั่นคง, การนำนโยบายไปปฏิบัติ, การบริหารงาน, ตำรวจสันติบาล Abstract: งานวิจัยนี้มีจุดประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสภาพการนำนโยบายด้านความมั่นคง ของกองบัญชาการตำรวจสันติบาล สำนักงานตำรวจแห่งชาติไปปฏิบัติ 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลสำเร็จต่อการนำนโยบายด้านความมั่นคง ของกองบัญชาการตำรวจสันติบาล สำนักงานตำรวจแห่งชาติไปปฏิบัติ 3) เพื่อเสนอแนวทางในการนำนโยบายด้านความมั่นคง ของกองบัญชาการตำรวจสันติบาล สำนักงานตำรวจแห่งชาติไปปฏิบัติ ผู้วิจัยใช้การวิจัยแบบผสานวิธี (Mixed Methods Research) คือ (1) การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยการสัมภาษณ์เชิงลึกของผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จากผู้บริหารกองบัญชาการตำรวจสันติบาล จำนวน 11 คน โดยใช้การวิเคราะห์แบบการจำแนกชนิดของข้อมูล (2) การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) การใช้ข้อมูลแบบสอบถาม กลุ่มตัวอย่างจากกองบัญชาการตำรวจสันติบาล จำนวน 400 คน โดยใช้สมการถดถอยเชิงพหุคูณ
ผลการวิจัยเชิงคุณภาพ พบว่า สภาพการนำนโยบายไปปฏิบัติ ด้านการบริหารงานมี 3 ด้าน บรรลุผลสำเร็จตามเป้าหมายคือ ประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ ประสิทธิภาพตามแผนปฏิบัติราชการและการพัฒนาองค์กร ส่วนคุณภาพการให้บริการไม่บรรลุผลสำเร็จ และแนวทางในการนำนโยบายไปปฏิบัติ ผู้นำยุคใหม่ต้องปรับตัวให้เท่าทันต่อสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป อาศัยความร่วมมือของผู้ตามที่สอดคล้องกับแรงจูงใจ ด้วยการเปิดโอกาสการมีส่วนร่วมในการคิด วางแผนและการตัดสินใจ ส่วนการวิจัยเชิงปริมาณ ปัจจัยที่ส่งผลสำเร็จต่อการนำนโยบายไปปฏิบัติ พบว่า ปัจจัยเชิงนโยบาย ด้านภาวะผู้นำ มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก (x̄ = 4.46, S.D. = 0.72) และการบริหารงานที่ส่งผลสำเร็จต่อการนำนโยบายไปปฏิบัติ ด้านการพัฒนาองค์กร มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก (x̄ = 4.24, S.D. = 0.73)
ข้อเสนอแนะ ควรมีงบประมาณที่เพียงพอด้านคุณภาพการให้บริการ ที่สามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและโปร่งใสCurricular : GE/MPA/DPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28403 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607834 SIU THE-T: IPAG-DPA-2021-02 c.1 Thesis Main Library Thesis Corner Available 32002000607886 SIU THE-T: IPAG-DPA-2021-02 c.2 Thesis Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. การบริหารการปฏิบัติงานของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 6 / ระวี หนูสี / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2019
Collection Title: SIU THE-T Title : การบริหารการปฏิบัติงานของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 6 Original title : Administration of Immigration Police Operations Immigration Division 6 Material Type: printed text Authors: ระวี หนูสี, Author ; พิภพ วชังเงิน, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2019 Pagination: x, 182 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-14
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารงานบุคคล
[LCSH]ตำรวจตรวจคนเข้าเมืองKeywords: การบริหารการปฏิบัติงาน,
ตำรวจตรวจคนเข้าเมือง,
กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 6Abstract: การวิจัยเรื่องการบริหารการปฏิบัติงานของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง6 มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการบริหารการปฏิบัติงานของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 6 2) เพื่อศึกษาพฤติกรรมการให้บริการของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 6 3) เพื่อเปรียบเทียบปัจจัยที่มีผลต่อการบริหารการปฏิบัติงานของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 6 จำแนกตามข้อมูลส่วนบุคคล 4) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการให้บริการ ของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กับปัจจัยที่มีผลต่อการบริหารการปฏิบัติงานของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 6 ระเบียบวิธีการวิจัยแบบผสานวิธี (Mixed Methods Research)โดยผู้วิจัยนำวิธีการ วิจัยเชิงคุณภาพ และเชิงปริมาณ กล่าวคือผู้วิจัยใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพก่อนร่วมกัน เพื่อให้ได้คำตอบตามวัตถุประสงค์ในแต่ละข้อ กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยเชิงปริมาณคือ ข้าราชการตำรวจตรวจคนเข้าเมือง 6 จำนวน 400 คน และกลุ่มตัวอย่างในการวิจัยเชิงคุณภาพ จำนวน 30 คน สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ร้อยละ ความถี่ ค่าพิสัย ค่าเฉลี่ย ค่ามัธยฐาน และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบสมมติฐาน โดยมีสถิติที่ใช้ ได้แก่ t – test, F – test และการวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ Pearson’s product correlation
ผลการวิจัยพบว่า 1) การบริหารการปฏิบัติงานของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 6 ด้านการบริหาร ด้านการอำนวยความยุติธรรม ด้านการรักษาความมั่นคงปลอดภัยในราชอาณาจักร ด้านการรองรับประชาคมอาเซียน ด้านการบริการคนเข้าเมือง และด้านการป้องกันปราบปรามอาชญากรรม มีการบริหารการปฏิบัติงานอยู่ในระดับมากในทุกด้าน 2)พฤติกรรมการให้บริการของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 6 ด้านความรับผิดชอบต่อหน้าที่ด้านกระบวนการให้บริการ และด้านสภาพแวดล้อมของการบริการ มีพฤติกรรมการให้บริการอยู่ในระดับมากในทุกด้าน 3) ปัจจัยส่วนบุคคล ด้านเพศ ไม่ส่งผลต่อการบริหารการปฏิบัติงานของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 6 ส่วนปัจจัยส่วนบุคคล ด้านอายุ ส่งผลต่อการบริหารจัดการการปฏิบัติงาน ด้านการรักษาความมั่นคงปลอดภัยในราชอาณาจักร แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ปัจจัยส่วนบุคคล ด้านระดับการศึกษา ส่งผลต่อการบริหารการปฏิบัติงานด้านการป้องกันปราบปรามอาชญากรรม ด้านการบริการคนเข้าเมือง และด้านการอำนวยความยุติธรรม แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และปัจจัยส่วนบุคคลด้านอายุราชการส่งผลต่อการบริหารการปฏิบัติงาน ด้านการรักษาความมั่นคงปลอดภัยในราชอาณาจักร และด้านการบริหาร แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 4) พฤติกรรมการให้บริการ ด้านความรับผิดชอบต่อหน้าที่ ด้านกระบวนการให้บริการ และด้านสภาพแวดล้อมของการบริการกับปัจจัยที่ส่งผลต่อการบริหารการปฏิบัติงานมีความสัมพันธ์กันในระดับต่ำมาก ทุกด้านCurricular : GE/MPA/DPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27959 SIU THE-T. การบริหารการปฏิบัติงานของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 6 = Administration of Immigration Police Operations Immigration Division 6 [printed text] / ระวี หนูสี, Author ; พิภพ วชังเงิน, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019 . - x, 182 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-14
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารงานบุคคล
[LCSH]ตำรวจตรวจคนเข้าเมืองKeywords: การบริหารการปฏิบัติงาน,
ตำรวจตรวจคนเข้าเมือง,
กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 6Abstract: การวิจัยเรื่องการบริหารการปฏิบัติงานของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง6 มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการบริหารการปฏิบัติงานของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 6 2) เพื่อศึกษาพฤติกรรมการให้บริการของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 6 3) เพื่อเปรียบเทียบปัจจัยที่มีผลต่อการบริหารการปฏิบัติงานของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 6 จำแนกตามข้อมูลส่วนบุคคล 4) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการให้บริการ ของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กับปัจจัยที่มีผลต่อการบริหารการปฏิบัติงานของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 6 ระเบียบวิธีการวิจัยแบบผสานวิธี (Mixed Methods Research)โดยผู้วิจัยนำวิธีการ วิจัยเชิงคุณภาพ และเชิงปริมาณ กล่าวคือผู้วิจัยใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพก่อนร่วมกัน เพื่อให้ได้คำตอบตามวัตถุประสงค์ในแต่ละข้อ กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยเชิงปริมาณคือ ข้าราชการตำรวจตรวจคนเข้าเมือง 6 จำนวน 400 คน และกลุ่มตัวอย่างในการวิจัยเชิงคุณภาพ จำนวน 30 คน สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ร้อยละ ความถี่ ค่าพิสัย ค่าเฉลี่ย ค่ามัธยฐาน และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบสมมติฐาน โดยมีสถิติที่ใช้ ได้แก่ t – test, F – test และการวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ Pearson’s product correlation
ผลการวิจัยพบว่า 1) การบริหารการปฏิบัติงานของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 6 ด้านการบริหาร ด้านการอำนวยความยุติธรรม ด้านการรักษาความมั่นคงปลอดภัยในราชอาณาจักร ด้านการรองรับประชาคมอาเซียน ด้านการบริการคนเข้าเมือง และด้านการป้องกันปราบปรามอาชญากรรม มีการบริหารการปฏิบัติงานอยู่ในระดับมากในทุกด้าน 2)พฤติกรรมการให้บริการของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 6 ด้านความรับผิดชอบต่อหน้าที่ด้านกระบวนการให้บริการ และด้านสภาพแวดล้อมของการบริการ มีพฤติกรรมการให้บริการอยู่ในระดับมากในทุกด้าน 3) ปัจจัยส่วนบุคคล ด้านเพศ ไม่ส่งผลต่อการบริหารการปฏิบัติงานของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 6 ส่วนปัจจัยส่วนบุคคล ด้านอายุ ส่งผลต่อการบริหารจัดการการปฏิบัติงาน ด้านการรักษาความมั่นคงปลอดภัยในราชอาณาจักร แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ปัจจัยส่วนบุคคล ด้านระดับการศึกษา ส่งผลต่อการบริหารการปฏิบัติงานด้านการป้องกันปราบปรามอาชญากรรม ด้านการบริการคนเข้าเมือง และด้านการอำนวยความยุติธรรม แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และปัจจัยส่วนบุคคลด้านอายุราชการส่งผลต่อการบริหารการปฏิบัติงาน ด้านการรักษาความมั่นคงปลอดภัยในราชอาณาจักร และด้านการบริหาร แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 4) พฤติกรรมการให้บริการ ด้านความรับผิดชอบต่อหน้าที่ ด้านกระบวนการให้บริการ และด้านสภาพแวดล้อมของการบริการกับปัจจัยที่ส่งผลต่อการบริหารการปฏิบัติงานมีความสัมพันธ์กันในระดับต่ำมาก ทุกด้านCurricular : GE/MPA/DPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27959 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607962 SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-14 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000607964 SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-14 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. การพัฒนาและความก้าวหน้าของข้าราชการตำรวจ กรณีศึกษา สถานีตำรวจน้ำ 3 กองกำกับการ 10 กองบังคับการตำรวจน้ำ / ปัณณภัสร์ ปัญญา / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : การพัฒนาและความก้าวหน้าของข้าราชการตำรวจ กรณีศึกษา สถานีตำรวจน้ำ 3 กองกำกับการ 10 กองบังคับการตำรวจน้ำ Original title : Career Advancement of Polices: A Case of 3rd Marine Police Station, Subdivision 10, Marine Police Division Material Type: printed text Authors: ปัณณภัสร์ ปัญญา, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: vi, 54 น. Layout: ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-38
Independent Study [MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การพัฒนา
[LCSH]ตำรวจน้ำ -- ไทยKeywords: ความก้าวหน้า,
ตำรวจน้ำ,
อาชีพAbstract: การศึกษาเรื่อง การศึกษางานค้นคว้าอิสระนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาบุคลากรของเพื่อศึกษาความก้าวหน้าและการพัฒนาบุคลากร และเพื่อศึกษาแนวทางในการปรับปรุงการพัฒนาบุคลากรของข้าราชการตำรวจ สถานีตำรวจน้ำ 3 กองกำกับการ 10 กองบังคับการตำรวจน้ำ ใช้วิธีวิจัยเอกสารและวิธีวิจัยสนาม โดยใช้การสัมภาษณ์กลุ่มเป้าหมายที่เป็นตัวแทน จำนวน 5 คน ผลการวิจัยพบว่า ควรปรับทัศนคติของบุคลากรในหน่วยงานให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน เพื่อหลอมบุคลากรทุกระดับ ให้มีทัศนคติ ค่านิยม ความคิด วิธีการทำงาน และเป้าหมายทิศทางเดียวกันเพื่อมุ่งเป้าหมายความสำเร็จเดียวกัน ควรให้ความสำคัญกับบุคลากรในหน่วยงานอย่างเท่าเทียมกัน ผู้บังคับบัญชาควรให้ความสำคัญกับผู้ใต้บังคับบัญชาในทุกตำแหน่งอย่างเท่าเทียมกัน อย่าให้ความสำคัญกับตำแหน่งหนึ่งตำแหน่งใด เพราะอาจจะทำให้เกิดความแบ่งแยกกันระหว่างบุคลากร และควรสนับสนุนให้บุคลากรได้รับการฝึกอบรม การเข้าร่วมประชุมสัมมนา หรือดูงานนอกสถานที่ เพื่อว่าจะเป็นการเพิ่มศักยภาพของบุคลากร และสามารถนำความรู้มาใช้ในการปฏิบัติงาน เพื่อเสริมสร้างความแข็งแกร่งให้กับหน่วยงานต่อไป Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27314 SIU IS-T. การพัฒนาและความก้าวหน้าของข้าราชการตำรวจ กรณีศึกษา สถานีตำรวจน้ำ 3 กองกำกับการ 10 กองบังคับการตำรวจน้ำ = Career Advancement of Polices: A Case of 3rd Marine Police Station, Subdivision 10, Marine Police Division [printed text] / ปัณณภัสร์ ปัญญา, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - vi, 54 น. : ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-38
Independent Study [MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การพัฒนา
[LCSH]ตำรวจน้ำ -- ไทยKeywords: ความก้าวหน้า,
ตำรวจน้ำ,
อาชีพAbstract: การศึกษาเรื่อง การศึกษางานค้นคว้าอิสระนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาบุคลากรของเพื่อศึกษาความก้าวหน้าและการพัฒนาบุคลากร และเพื่อศึกษาแนวทางในการปรับปรุงการพัฒนาบุคลากรของข้าราชการตำรวจ สถานีตำรวจน้ำ 3 กองกำกับการ 10 กองบังคับการตำรวจน้ำ ใช้วิธีวิจัยเอกสารและวิธีวิจัยสนาม โดยใช้การสัมภาษณ์กลุ่มเป้าหมายที่เป็นตัวแทน จำนวน 5 คน ผลการวิจัยพบว่า ควรปรับทัศนคติของบุคลากรในหน่วยงานให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน เพื่อหลอมบุคลากรทุกระดับ ให้มีทัศนคติ ค่านิยม ความคิด วิธีการทำงาน และเป้าหมายทิศทางเดียวกันเพื่อมุ่งเป้าหมายความสำเร็จเดียวกัน ควรให้ความสำคัญกับบุคลากรในหน่วยงานอย่างเท่าเทียมกัน ผู้บังคับบัญชาควรให้ความสำคัญกับผู้ใต้บังคับบัญชาในทุกตำแหน่งอย่างเท่าเทียมกัน อย่าให้ความสำคัญกับตำแหน่งหนึ่งตำแหน่งใด เพราะอาจจะทำให้เกิดความแบ่งแยกกันระหว่างบุคลากร และควรสนับสนุนให้บุคลากรได้รับการฝึกอบรม การเข้าร่วมประชุมสัมมนา หรือดูงานนอกสถานที่ เพื่อว่าจะเป็นการเพิ่มศักยภาพของบุคลากร และสามารถนำความรู้มาใช้ในการปฏิบัติงาน เพื่อเสริมสร้างความแข็งแกร่งให้กับหน่วยงานต่อไป Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27314 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000595247 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-38 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available 32002000595213 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-38 c.2 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. การมีส่วนร่วมของประชาชนในงานตำรวจชุมชนและมวลชนสัมพันธ์ในการป้องกันอาชญากรรม กรณีศึกษา พื้นที่รับผิดชอบของสถานีตำรวจภูธรรัตนาธิเบศร์ / ไพรริน โมศิริ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : การมีส่วนร่วมของประชาชนในงานตำรวจชุมชนและมวลชนสัมพันธ์ในการป้องกันอาชญากรรม กรณีศึกษา พื้นที่รับผิดชอบของสถานีตำรวจภูธรรัตนาธิเบศร์ Original title : People Participation in Police’s Community Relations and Crime Prevention Jobs: A Case of Ratanatibet Provincial Police Station Material Type: printed text Authors: ไพรริน โมศิริ, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: vii, 57 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-32
Independent Study [MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การป้องกันอาชญากรรม -- นนทบุรี -- รัตนาธิเบศร์
[LCSH]ตำรวจชุมชน
[LCSH]พลเมือง -- การมีส่วนร่วมKeywords: การมีส่วนร่วม,
ชุมชน,
การป้องกัน,
ตำรวจAbstract: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาระดับ ปัญหา และอุปสรรค ในการมีส่วนร่วมของประชาชน และศึกษาแนวทางการพัฒนาการมีส่วนร่วมของประชาชนในงานตำรวจชุมชนและมวลชนสัมพันธ์ ในการป้องกันปัญหาอาชญากรรมในพื้นที่รับผิดชอบของสถานีตำรวจภูธรรัตนาธิเบศร์ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ ประชาชนที่อาศัยอยู่ในตำบลบางกระสอ อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี เขตพื้นที่ของสถานีตำรวจภูธรรัตนาธิเบศร์ จำนวน 400 คน ใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูลและใช้สถิติเชิงพรรณาในการวิเคราะห์ข้อมูล
ผลการวิจัย พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุตั้งแต่ 31 - 40 ปี สถานภาพโสด มีระดับการศึกษาในปริญญาตรี มีอาชีพเป็นพนักงานบริษัทเอกชน มีรายได้เฉลี่ย 15,000 ถึง 20,000 บาท ต่อเดือน พักอาศัยอยู่ในชุมชน 6 - 10 ปี พักอาศัยเป็นแฟลตหรืออพาร์ทเมนต์ โดยกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ไม่เคยมีประสบการณ์การตกเป็นเหยื่ออาชญากรรม นอกจากนี้ผลการวิเคราะห์ข้อมูลการมีส่วนร่วมของประชาชนยัง พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีส่วนร่วมโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ประชาชนผู้ตอบแบบสอบถามมีส่วนร่วมสูงที่สุดตามค่าเฉลี่ย คือ ด้านการวางแผนซึ่งอยู่ในระดับปานกลาง รองลงมาคือการมีส่วนร่วมด้านการปฏิบัติงาน และการมีส่วนร่วมด้านการประเมินผล เลียงตามลำดับ ส่วนด้านปัญหาและอุปสรรคในการมีส่วนร่วมของประชาชนงานตำรวจชุมชนและมวลชนสัมพันธ์พบว่าอยู่ในระดับปานกลางCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27276 SIU IS-T. การมีส่วนร่วมของประชาชนในงานตำรวจชุมชนและมวลชนสัมพันธ์ในการป้องกันอาชญากรรม กรณีศึกษา พื้นที่รับผิดชอบของสถานีตำรวจภูธรรัตนาธิเบศร์ = People Participation in Police’s Community Relations and Crime Prevention Jobs: A Case of Ratanatibet Provincial Police Station [printed text] / ไพรริน โมศิริ, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - vii, 57 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-32
Independent Study [MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การป้องกันอาชญากรรม -- นนทบุรี -- รัตนาธิเบศร์
[LCSH]ตำรวจชุมชน
[LCSH]พลเมือง -- การมีส่วนร่วมKeywords: การมีส่วนร่วม,
ชุมชน,
การป้องกัน,
ตำรวจAbstract: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาระดับ ปัญหา และอุปสรรค ในการมีส่วนร่วมของประชาชน และศึกษาแนวทางการพัฒนาการมีส่วนร่วมของประชาชนในงานตำรวจชุมชนและมวลชนสัมพันธ์ ในการป้องกันปัญหาอาชญากรรมในพื้นที่รับผิดชอบของสถานีตำรวจภูธรรัตนาธิเบศร์ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ ประชาชนที่อาศัยอยู่ในตำบลบางกระสอ อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี เขตพื้นที่ของสถานีตำรวจภูธรรัตนาธิเบศร์ จำนวน 400 คน ใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูลและใช้สถิติเชิงพรรณาในการวิเคราะห์ข้อมูล
ผลการวิจัย พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุตั้งแต่ 31 - 40 ปี สถานภาพโสด มีระดับการศึกษาในปริญญาตรี มีอาชีพเป็นพนักงานบริษัทเอกชน มีรายได้เฉลี่ย 15,000 ถึง 20,000 บาท ต่อเดือน พักอาศัยอยู่ในชุมชน 6 - 10 ปี พักอาศัยเป็นแฟลตหรืออพาร์ทเมนต์ โดยกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ไม่เคยมีประสบการณ์การตกเป็นเหยื่ออาชญากรรม นอกจากนี้ผลการวิเคราะห์ข้อมูลการมีส่วนร่วมของประชาชนยัง พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีส่วนร่วมโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ประชาชนผู้ตอบแบบสอบถามมีส่วนร่วมสูงที่สุดตามค่าเฉลี่ย คือ ด้านการวางแผนซึ่งอยู่ในระดับปานกลาง รองลงมาคือการมีส่วนร่วมด้านการปฏิบัติงาน และการมีส่วนร่วมด้านการประเมินผล เลียงตามลำดับ ส่วนด้านปัญหาและอุปสรรคในการมีส่วนร่วมของประชาชนงานตำรวจชุมชนและมวลชนสัมพันธ์พบว่าอยู่ในระดับปานกลางCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27276 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000595056 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-32 c.1 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000595064 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-32 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available SIU IS-T. การให้บริการของเจ้าหน้าที่ตำรวจจราจรในทัศนคติของประชาชน ในเขตอำเภอท่าชนะ จังหวัดสุราษฎร์ธานี / ณัฐพงศ์ ขอจุลซ้วน / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2015
Collection Title: SIU IS-T Title : การให้บริการของเจ้าหน้าที่ตำรวจจราจรในทัศนคติของประชาชน ในเขตอำเภอท่าชนะ จังหวัดสุราษฎร์ธานี Original title : Resident’s Attitudes toward Services from Traffic Police in Ta-Chana District, Surattani Province Material Type: printed text Authors: ณัฐพงศ์ ขอจุลซ้วน, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; สมพร เพชรสงค์, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2015 Pagination: x, 100 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2015-06
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2015.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ตำรวจ -- สุราษฎร์ธานี -- ท่าชนะ
[LCSH]ตำรวจจราจร
[LCSH]ประชาชน -- ทัศนคติ -- ตำรวจKeywords: ทัศนคติ,
การบริการ,
ตำรวจจราจรAbstract: การศึกษาวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับการให้บริการของเจ้าหน้าที่ตำรวจจราจรในทัศนคติของประชาชน จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล และศึกษาข้อเสนอแนะของประชาชน เพื่อปรับปรุงการให้บริการของเจ้าหน้าที่ตำรวจจราจร ในเขตอำเภอท่าชนะ จังหวัดสุราษฎร์ธานี ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูลจากประชาชนในเขตอำเภอท่าชนะ จำนวน 400 คน สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่า t-test, F-test
ผลการวิจัยพบว่า การให้บริการของเจ้าหน้าที่ตำรวจจราจรในทัศนคติของประชาชน โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง โดยเรียงลำดับจากมากไปหาน้อย คือ ด้านความเชื่อมั่นไว้วางใจได้ ด้านการให้ความมั่นใจ ด้านการเข้าใจและรู้จัก ด้านความเป็นรูปธรรม และด้านการตอบสนอง ตามลำดับการเปรียบเทียบการให้บริการของเจ้าหน้าที่ตำรวจจราจรในทัศนคติของประชาชน จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล พบว่า เพศ สถานภาพ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ และรายได้เฉลี่ยต่อเดือน แตกต่างกัน ข้อเสนอแนะของประชาชนในการให้บริการของเจ้าหน้าที่ตำรวจจราจรในทัศนคติของประชาชน พบว่า สัญญาณไฟจราจรควรเป็นแบบตัวเลข จัดทำป้ายหรือเครื่องหมายจราจรให้ชัดเจน ตำรวจจราจรปฏิบัติหน้าที่อย่างเสมอภาคและมีความซื่อสัตย์สุจริต ในการปฏิบัติหน้าที่รับฟังความคิดเห็นของประชาชน แสดงกิริยามารยาทที่ดีต่อประชาชน และไปถึงที่เกิดเหตุให้รวดเร็ว ควรจัดหาวิธีที่ทำให้ประชาชนมีความรู้สึกปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน และควบคุมการจราจรอย่างสม่ำเสมอCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26660 SIU IS-T. การให้บริการของเจ้าหน้าที่ตำรวจจราจรในทัศนคติของประชาชน ในเขตอำเภอท่าชนะ จังหวัดสุราษฎร์ธานี = Resident’s Attitudes toward Services from Traffic Police in Ta-Chana District, Surattani Province [printed text] / ณัฐพงศ์ ขอจุลซ้วน, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; สมพร เพชรสงค์, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2015 . - x, 100 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2015-06
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2015.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ตำรวจ -- สุราษฎร์ธานี -- ท่าชนะ
[LCSH]ตำรวจจราจร
[LCSH]ประชาชน -- ทัศนคติ -- ตำรวจKeywords: ทัศนคติ,
การบริการ,
ตำรวจจราจรAbstract: การศึกษาวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับการให้บริการของเจ้าหน้าที่ตำรวจจราจรในทัศนคติของประชาชน จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล และศึกษาข้อเสนอแนะของประชาชน เพื่อปรับปรุงการให้บริการของเจ้าหน้าที่ตำรวจจราจร ในเขตอำเภอท่าชนะ จังหวัดสุราษฎร์ธานี ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูลจากประชาชนในเขตอำเภอท่าชนะ จำนวน 400 คน สถิติที่ใช้ ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบค่า t-test, F-test
ผลการวิจัยพบว่า การให้บริการของเจ้าหน้าที่ตำรวจจราจรในทัศนคติของประชาชน โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง โดยเรียงลำดับจากมากไปหาน้อย คือ ด้านความเชื่อมั่นไว้วางใจได้ ด้านการให้ความมั่นใจ ด้านการเข้าใจและรู้จัก ด้านความเป็นรูปธรรม และด้านการตอบสนอง ตามลำดับการเปรียบเทียบการให้บริการของเจ้าหน้าที่ตำรวจจราจรในทัศนคติของประชาชน จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล พบว่า เพศ สถานภาพ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ และรายได้เฉลี่ยต่อเดือน แตกต่างกัน ข้อเสนอแนะของประชาชนในการให้บริการของเจ้าหน้าที่ตำรวจจราจรในทัศนคติของประชาชน พบว่า สัญญาณไฟจราจรควรเป็นแบบตัวเลข จัดทำป้ายหรือเครื่องหมายจราจรให้ชัดเจน ตำรวจจราจรปฏิบัติหน้าที่อย่างเสมอภาคและมีความซื่อสัตย์สุจริต ในการปฏิบัติหน้าที่รับฟังความคิดเห็นของประชาชน แสดงกิริยามารยาทที่ดีต่อประชาชน และไปถึงที่เกิดเหตุให้รวดเร็ว ควรจัดหาวิธีที่ทำให้ประชาชนมีความรู้สึกปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน และควบคุมการจราจรอย่างสม่ำเสมอCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26660 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000593168 SIU IS-T: IPAG-MPA-2015-06 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000593135 SIU IS-T: IPAG-MPA-2015-06 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ความต้องการในการพัฒนาของข้าราชการตำรวจ สังกัดกองบัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติด / จามรี หนูสิงห์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : ความต้องการในการพัฒนาของข้าราชการตำรวจ สังกัดกองบัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติด Original title : Demand for Self-Development of Polices at Narcotics Suppression Bureau Material Type: printed text Authors: จามรี หนูสิงห์, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: viii, 84 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-36
Independent Study [MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การพัฒนา
[LCSH]ข้าราชการตำรวจKeywords: การพัฒนา,
ตำรวจ,
สังกัดกองบัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติดAbstract: การศึกษางานค้นคว้าอิสระ เรื่อง ความต้องการในการพัฒนาข้าราชการตำรวจในสังกัดกองบัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติด มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความต้องการการพัฒนาของข้าราชการตำรวจใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 310 คน ที่เป็นข้าราชการตำรวจในสังกัดกองบัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติดทำการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลจากการวิจัยพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุ 31 ถึง 40 ปี มีสถานภาพสมรส ระดับการศึกษาปริญญาตรี มีระยะเวลาที่รับราชการตำรวจ ในสังกัดกองบัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติดเป็นเวลา 11 ถึง 15 ปี ระดับชั้นประทวน อัตราเงินเดือน 15,001 ถึง 20,000 บาท โดยข้าราชการตำรวจที่ตอบแบบสอบถามมีระดับความต้องการการพัฒนาโดยรวมทุกด้านอยู่ในระดับมาก ได้แก่ ความต้องการในการพัฒนาในด้านการฝึกอบรม ด้านการเป็นพี่เลี้ยง ด้านการศึกษาดูงาน ด้านการศึกษาด้วยตนเอง จากการทดสอบสมมติฐาน พบว่า เพศ อายุ สถานภาพ การสมรส ระดับการศึกษา ระยะเวลาที่รับราชการ ระดับชั้นยศ และอัตราเงินเดือนที่แตกต่างกันมีระดับความต้องการในการพัฒนาไม่ต่างกันCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27274 SIU IS-T. ความต้องการในการพัฒนาของข้าราชการตำรวจ สังกัดกองบัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติด = Demand for Self-Development of Polices at Narcotics Suppression Bureau [printed text] / จามรี หนูสิงห์, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - viii, 84 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-36
Independent Study [MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การพัฒนา
[LCSH]ข้าราชการตำรวจKeywords: การพัฒนา,
ตำรวจ,
สังกัดกองบัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติดAbstract: การศึกษางานค้นคว้าอิสระ เรื่อง ความต้องการในการพัฒนาข้าราชการตำรวจในสังกัดกองบัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติด มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความต้องการการพัฒนาของข้าราชการตำรวจใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 310 คน ที่เป็นข้าราชการตำรวจในสังกัดกองบัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติดทำการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลจากการวิจัยพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุ 31 ถึง 40 ปี มีสถานภาพสมรส ระดับการศึกษาปริญญาตรี มีระยะเวลาที่รับราชการตำรวจ ในสังกัดกองบัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติดเป็นเวลา 11 ถึง 15 ปี ระดับชั้นประทวน อัตราเงินเดือน 15,001 ถึง 20,000 บาท โดยข้าราชการตำรวจที่ตอบแบบสอบถามมีระดับความต้องการการพัฒนาโดยรวมทุกด้านอยู่ในระดับมาก ได้แก่ ความต้องการในการพัฒนาในด้านการฝึกอบรม ด้านการเป็นพี่เลี้ยง ด้านการศึกษาดูงาน ด้านการศึกษาด้วยตนเอง จากการทดสอบสมมติฐาน พบว่า เพศ อายุ สถานภาพ การสมรส ระดับการศึกษา ระยะเวลาที่รับราชการ ระดับชั้นยศ และอัตราเงินเดือนที่แตกต่างกันมีระดับความต้องการในการพัฒนาไม่ต่างกันCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27274 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000595015 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-36 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000595023 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-36 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ความสุขในการทำงานของข้าราชการตำรวจในสังกัดกองบัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติด / โสภา วรรณศิริ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : ความสุขในการทำงานของข้าราชการตำรวจในสังกัดกองบัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติด Original title : Happiness in Working of Polices in Narcotics Suppression Bureau Material Type: printed text Authors: โสภา วรรณศิริ, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: viii, 65 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-35
Independent Study [MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ข้าราชการตำรวจ
[LCSH]ความสุขในการทำงานKeywords: ความสุขในการทำงาน,
ข้าราชการตำรวจ,
ตำรวจปราบปรามยาเสพติดAbstract: งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาการสร้างความสุขในการทำงานของข้าราชการตำรวจในสังกัดกองบัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติด มีกลุ่มตัวอย่างเป็นข้าราชการตำรวจสังกัดกองบัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติด จำนวน 310 คน ใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูล ใช้สถิติเชิงพรรณาในการวิเคราะห์ข้อมูลส่วนบุคคลและสถิติเชิงอนุมานในการทดสอบสมมุติฐาน
ผลการวิจัย พบว่าส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุระหว่าง 31 – 40 ปี มีสถานภาพการสมรส มีระดับการศึกษาปริญญาตรี ระดับชั้นยศ จ.ส.ต. – ด.ต. จำนวน 218 คน มีประสบการณ์การทำงาน 6 – 10 ปี รายได้ต่อเดือน ระหว่าง 15,001 – 20,000 บาท ผลการวิเคราะห์ข้อมูลด้านลักษณะงาน ด้านความรับผิดชอบ และด้านเพื่อนร่วมงาน อยู่ในระดับปานกลาง นอกจากนี้ผลการวิจัยพบว่าเจ้าหน้าที่ตำรวจในกองบังคับการปราบปรามยาเสพติดมีความสุขในการทำงานอยู่ในระดับปานกลาง และผลการทดสอบสมมุติฐานพบว่ามีความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำกับความสุขในการทำงานCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27270 SIU IS-T. ความสุขในการทำงานของข้าราชการตำรวจในสังกัดกองบัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติด = Happiness in Working of Polices in Narcotics Suppression Bureau [printed text] / โสภา วรรณศิริ, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - viii, 65 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-35
Independent Study [MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ข้าราชการตำรวจ
[LCSH]ความสุขในการทำงานKeywords: ความสุขในการทำงาน,
ข้าราชการตำรวจ,
ตำรวจปราบปรามยาเสพติดAbstract: งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาการสร้างความสุขในการทำงานของข้าราชการตำรวจในสังกัดกองบัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติด มีกลุ่มตัวอย่างเป็นข้าราชการตำรวจสังกัดกองบัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติด จำนวน 310 คน ใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูล ใช้สถิติเชิงพรรณาในการวิเคราะห์ข้อมูลส่วนบุคคลและสถิติเชิงอนุมานในการทดสอบสมมุติฐาน
ผลการวิจัย พบว่าส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุระหว่าง 31 – 40 ปี มีสถานภาพการสมรส มีระดับการศึกษาปริญญาตรี ระดับชั้นยศ จ.ส.ต. – ด.ต. จำนวน 218 คน มีประสบการณ์การทำงาน 6 – 10 ปี รายได้ต่อเดือน ระหว่าง 15,001 – 20,000 บาท ผลการวิเคราะห์ข้อมูลด้านลักษณะงาน ด้านความรับผิดชอบ และด้านเพื่อนร่วมงาน อยู่ในระดับปานกลาง นอกจากนี้ผลการวิจัยพบว่าเจ้าหน้าที่ตำรวจในกองบังคับการปราบปรามยาเสพติดมีความสุขในการทำงานอยู่ในระดับปานกลาง และผลการทดสอบสมมุติฐานพบว่ามีความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำกับความสุขในการทำงานCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27270 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000594935 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-35 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000594943 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-35 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. บทบาทของเจ้าหน้าที่ตำรวจกองกำกับการสายตรวจ กับการป้องกันและปราบปรามการพนันฟุตบอล / ภูมิกวิน พลภาคภูมิ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2014
Collection Title: SIU IS-T Title : บทบาทของเจ้าหน้าที่ตำรวจกองกำกับการสายตรวจ กับการป้องกันและปราบปรามการพนันฟุตบอล Original title : Patrol Unit Police’s Roles in Football Betting Suppression Material Type: printed text Authors: ภูมิกวิน พลภาคภูมิ, Author ; เจษฎา นพคุณ ตั้งจิตนบ, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2014 Pagination: viii, 56 หน้า Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-01
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]Police -- Thailand
[LCSH]Roles
[LCSH]Sports betting
[LCSH]การป้องกันและปราบปราม
[LCSH]การพนันฟุตบอล
[LCSH]ตำรวจ -- ไทยKeywords: บทบาท
การปราบปรามการพนันฟุตบอล
ทัศคติต่อการพนันฟุตบอล
ตำรวจสายตรวจ 191Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) บทบาทของสายตรวจ 191 ในการป้องกันและปราบปรามการพนันฟุตบอล และ 2) ความสัมพันธ์ระหว่างบทบาทในการป้องกันและปราบปรามการพนันฟุตบอลกับปัจจัยส่วนบุคคลและทัศนคติต่อการพนันฟุตบอลของสายตรวจ 191 Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26077 SIU IS-T. บทบาทของเจ้าหน้าที่ตำรวจกองกำกับการสายตรวจ กับการป้องกันและปราบปรามการพนันฟุตบอล = Patrol Unit Police’s Roles in Football Betting Suppression [printed text] / ภูมิกวิน พลภาคภูมิ, Author ; เจษฎา นพคุณ ตั้งจิตนบ, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014 . - viii, 56 หน้า : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-01
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]Police -- Thailand
[LCSH]Roles
[LCSH]Sports betting
[LCSH]การป้องกันและปราบปราม
[LCSH]การพนันฟุตบอล
[LCSH]ตำรวจ -- ไทยKeywords: บทบาท
การปราบปรามการพนันฟุตบอล
ทัศคติต่อการพนันฟุตบอล
ตำรวจสายตรวจ 191Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) บทบาทของสายตรวจ 191 ในการป้องกันและปราบปรามการพนันฟุตบอล และ 2) ความสัมพันธ์ระหว่างบทบาทในการป้องกันและปราบปรามการพนันฟุตบอลกับปัจจัยส่วนบุคคลและทัศนคติต่อการพนันฟุตบอลของสายตรวจ 191 Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26077 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000591428 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-01 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000506822 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-01 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. ปัจจัยการบริหารงานที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์การปฏิบัติราชการของกองบัญชาการตำรวจนครบาล สำนักงานตำรวจแห่งชาติ / เชาวลิต บริบูรณ์รัตน์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2020
Collection Title: SIU THE-T Title : ปัจจัยการบริหารงานที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์การปฏิบัติราชการของกองบัญชาการตำรวจนครบาล สำนักงานตำรวจแห่งชาติ Original title : Administrative Factors Affecting Performance Achievement of the Royal Thai Police Metropolitan Police Bureau Material Type: printed text Authors: เชาวลิต บริบูรณ์รัตน์, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2020 Pagination: x, 236 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-17
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]กองบัญชาการตำรวจนครบาล -- ข้าราชการ
[LCSH]ข้าราชการ -- การทำงาน
[LCSH]สำนักงานตำรวจแห่งชาติ -- การบริหารKeywords: ปัจจัยการบริหารงาน,
ผลสัมฤทธิ์,
ตำรวจนครบาลAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระดับความสำคัญของปัจจัยการบริหารงาน และระดับผลสัมฤทธิ์การปฏิบัติราชการ 2) เพื่อศึกษาปัจจัยการบริหารงานที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์การปฏิบัติราชการ และ 3) เพื่อนำเสนอแนวทางที่เหมาะสมในการบริหารงานเพื่อนำไปสู่การผลสัมฤทธิ์การปฏิบัติราชการของกองบัญชาการตำรวจนครบาล สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ข้าราชการตำรวจในสังกัดกองบัญชาการตำรวจนครบาล จำนวน 400 ราย และผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ ผู้บังคับบัญชาระดับกองบัญชาการ จำนวน 5 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ แบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ ข้อมูลเชิงคุณภาพวิเคราะห์เนื้อหา สังเคราะห์เป็นประเด็นร่วมหรือประเด็นหลัก และอธิบายเนื้อหา
ผลการวิจัย พบว่า
1) ปัจจัยการบริหารงานของกองบัญชาการตำรวจนครบาล สำนักงานตำรวจแห่งชาติใน
ภาพรวมมีความสำคัญอยู่ระดับมาก โดยพบว่า ปัจจัยการบริหารงานที่มีระดับความสำคัญมากที่สุด ได้แก่ ด้านวัฒนธรรมองค์การ รองลงมา ได้แก่ ด้านหลักธรรมาภิบาล ด้านลักษณะขององค์การ ด้านภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง และด้านทรัพยากรการบริหาร ตามลำดับ และผลสัมฤทธิ์การปฏิบัติราชการในภาพรวมมีระดับผลสัมฤทธิ์อยู่ระดับมาก โดยพบว่า ผลสัมฤทธิ์การปฏิบัติราชการที่มีระดับผลสัมฤทธิ์มากที่สุด ได้แก่ ด้านประสิทธิผลตามพันธกิจ รองลงมา ได้แก่ ด้านการพัฒนาองค์การ ด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ และด้านคุณภาพการให้บริการ ตามลำดับ
2) ปัจจัยการบริหารงานด้านหลักธรรมาภิบาล ด้านทรัพยากรการบริหาร และด้านวัฒนธรรมองค์การส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์การปฏิบัติราชการของกองบัญชาการตำรวจนครบาลในภาพรวมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และ
3) แนวทางที่เหมาะสมในปัจจัยการบริหารงานภารกิจ ได้แก่ การเพิ่มกำลังพลให้เหมาะสม เพียงพอแก่การปฏิบัติหน้าที่ การให้ผลตอบแทนที่เหมาะสม การจัดหาเครื่องมือเครื่องใช้ต่างๆ อย่างเพียงพอ รวมถึงการจัดกิจกรรมร่วมกับชุมชนเพื่อสร้างความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับตำรวจและประชาชนยิ่งขึ้น จะทำให้ประชาชนให้ความร่วมมือกับเจ้าหน้าที่ส่งผลให้การทำงานให้บรรลุผลง่ายขึ้นCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28049 SIU THE-T. ปัจจัยการบริหารงานที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์การปฏิบัติราชการของกองบัญชาการตำรวจนครบาล สำนักงานตำรวจแห่งชาติ = Administrative Factors Affecting Performance Achievement of the Royal Thai Police Metropolitan Police Bureau [printed text] / เชาวลิต บริบูรณ์รัตน์, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020 . - x, 236 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-17
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]กองบัญชาการตำรวจนครบาล -- ข้าราชการ
[LCSH]ข้าราชการ -- การทำงาน
[LCSH]สำนักงานตำรวจแห่งชาติ -- การบริหารKeywords: ปัจจัยการบริหารงาน,
ผลสัมฤทธิ์,
ตำรวจนครบาลAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระดับความสำคัญของปัจจัยการบริหารงาน และระดับผลสัมฤทธิ์การปฏิบัติราชการ 2) เพื่อศึกษาปัจจัยการบริหารงานที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์การปฏิบัติราชการ และ 3) เพื่อนำเสนอแนวทางที่เหมาะสมในการบริหารงานเพื่อนำไปสู่การผลสัมฤทธิ์การปฏิบัติราชการของกองบัญชาการตำรวจนครบาล สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ข้าราชการตำรวจในสังกัดกองบัญชาการตำรวจนครบาล จำนวน 400 ราย และผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ ผู้บังคับบัญชาระดับกองบัญชาการ จำนวน 5 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ แบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ ข้อมูลเชิงคุณภาพวิเคราะห์เนื้อหา สังเคราะห์เป็นประเด็นร่วมหรือประเด็นหลัก และอธิบายเนื้อหา
ผลการวิจัย พบว่า
1) ปัจจัยการบริหารงานของกองบัญชาการตำรวจนครบาล สำนักงานตำรวจแห่งชาติใน
ภาพรวมมีความสำคัญอยู่ระดับมาก โดยพบว่า ปัจจัยการบริหารงานที่มีระดับความสำคัญมากที่สุด ได้แก่ ด้านวัฒนธรรมองค์การ รองลงมา ได้แก่ ด้านหลักธรรมาภิบาล ด้านลักษณะขององค์การ ด้านภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง และด้านทรัพยากรการบริหาร ตามลำดับ และผลสัมฤทธิ์การปฏิบัติราชการในภาพรวมมีระดับผลสัมฤทธิ์อยู่ระดับมาก โดยพบว่า ผลสัมฤทธิ์การปฏิบัติราชการที่มีระดับผลสัมฤทธิ์มากที่สุด ได้แก่ ด้านประสิทธิผลตามพันธกิจ รองลงมา ได้แก่ ด้านการพัฒนาองค์การ ด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ และด้านคุณภาพการให้บริการ ตามลำดับ
2) ปัจจัยการบริหารงานด้านหลักธรรมาภิบาล ด้านทรัพยากรการบริหาร และด้านวัฒนธรรมองค์การส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์การปฏิบัติราชการของกองบัญชาการตำรวจนครบาลในภาพรวมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และ
3) แนวทางที่เหมาะสมในปัจจัยการบริหารงานภารกิจ ได้แก่ การเพิ่มกำลังพลให้เหมาะสม เพียงพอแก่การปฏิบัติหน้าที่ การให้ผลตอบแทนที่เหมาะสม การจัดหาเครื่องมือเครื่องใช้ต่างๆ อย่างเพียงพอ รวมถึงการจัดกิจกรรมร่วมกับชุมชนเพื่อสร้างความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับตำรวจและประชาชนยิ่งขึ้น จะทำให้ประชาชนให้ความร่วมมือกับเจ้าหน้าที่ส่งผลให้การทำงานให้บรรลุผลง่ายขึ้นCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28049 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607376 SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-17 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available 32002000607378 SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-17 c.2 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. แนวทางการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลที่เหมาะสมของกองบัญชาการตำรวจสันติบาล / รณกร รัตนะพร / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2021
Collection Title: SIU THE-T Title : แนวทางการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลที่เหมาะสมของกองบัญชาการตำรวจสันติบาล Original title : Management Guideline According to Good Governance for Suitable of Police Special Branch Bureau Material Type: printed text Authors: รณกร รัตนะพร, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2021 Pagination: x, 152 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2021-03
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2021Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหาร
[LCSH]ตำรวจ
[LCSH]ธรรมาภิบาลKeywords: ธรรมาภิบาล, การบริหาร, ตำรวจสันติบาล Abstract: งานวิจัยมีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาแนวทางการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลที่เหมาะสม 2) เพื่อศึกษาปัจจัยปัญหาและอุปสรรคต่อแนวทางการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลที่เหมาะสม 3) เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อแนวทางการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลที่เหมาะสม การวิจัยแบบผสานวิธี (Mixed Methods Research) คือ (1) การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ด้วยการสัมภาษณ์ผู้บริหารกองบัญชาการตำรวจสันติบาล จำนวน 11 คน โดยการวิเคราะห์เนื้อหา (2) การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) ด้วยการเก็บรวบรวมข้อมูลแบบสอบถาม กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 400 คน โดยการวิเคราะห์สมการถดถอยเชิงพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า 1) แนวทางการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลที่เหมาะสม คือการบริหารงานรูปแบบใหม่ที่ที่เรียกว่า “Special Team” S = security, P = participation, E = efficiency, C = creative, I = innovation, A = activeness, L = law, T = transparent, E = ethics, A = accountability, and M = moral 2) ปัจจัยปัญหาและอุปสรรคต่อแนวทางการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลที่เหมาะสม เป็นการบริหารงานตามกฎ ระเบียบที่มีความซับซ้อน ไม่สอดคล้องกับกระแสความเปลี่ยนแปลงของสังคมได้อย่างทันการณ์ 3) ปัจจัยที่ส่งผลต่อแนวทางการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลที่เหมาะสม (1) ปัจจัยด้านการบริหารจัดการ ด้านค่านิยมร่วมอยู่ในระดับมากที่สุด ( = 4.54, S.D. = 0.62) และ (2) หลักธรรมาภิบาล 10 หลัก ด้านหลักความเสมอภาคอยู่ในระดับมากที่สุด ( = 4.71, S.D. = 0.55) สามารถทำนายหลักธรรมาภิบาลที่เหมาะสม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
ข้อเสนอแนะ ควรมีการบริหารจัดการองค์ความรู้ นำมาปรับใช้ในด้านการให้บริการแก่ประชาชน และถ่ายทอดความรู้ ประสบการณ์ แก่หน่วยงานได้เต็มศักยภาพของแต่ละคนCurricular : GE/MPA/DPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28405 SIU THE-T. แนวทางการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลที่เหมาะสมของกองบัญชาการตำรวจสันติบาล = Management Guideline According to Good Governance for Suitable of Police Special Branch Bureau [printed text] / รณกร รัตนะพร, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2021 . - x, 152 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2021-03
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2021
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหาร
[LCSH]ตำรวจ
[LCSH]ธรรมาภิบาลKeywords: ธรรมาภิบาล, การบริหาร, ตำรวจสันติบาล Abstract: งานวิจัยมีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาแนวทางการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลที่เหมาะสม 2) เพื่อศึกษาปัจจัยปัญหาและอุปสรรคต่อแนวทางการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลที่เหมาะสม 3) เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อแนวทางการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลที่เหมาะสม การวิจัยแบบผสานวิธี (Mixed Methods Research) คือ (1) การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ด้วยการสัมภาษณ์ผู้บริหารกองบัญชาการตำรวจสันติบาล จำนวน 11 คน โดยการวิเคราะห์เนื้อหา (2) การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) ด้วยการเก็บรวบรวมข้อมูลแบบสอบถาม กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 400 คน โดยการวิเคราะห์สมการถดถอยเชิงพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า 1) แนวทางการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลที่เหมาะสม คือการบริหารงานรูปแบบใหม่ที่ที่เรียกว่า “Special Team” S = security, P = participation, E = efficiency, C = creative, I = innovation, A = activeness, L = law, T = transparent, E = ethics, A = accountability, and M = moral 2) ปัจจัยปัญหาและอุปสรรคต่อแนวทางการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลที่เหมาะสม เป็นการบริหารงานตามกฎ ระเบียบที่มีความซับซ้อน ไม่สอดคล้องกับกระแสความเปลี่ยนแปลงของสังคมได้อย่างทันการณ์ 3) ปัจจัยที่ส่งผลต่อแนวทางการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลที่เหมาะสม (1) ปัจจัยด้านการบริหารจัดการ ด้านค่านิยมร่วมอยู่ในระดับมากที่สุด ( = 4.54, S.D. = 0.62) และ (2) หลักธรรมาภิบาล 10 หลัก ด้านหลักความเสมอภาคอยู่ในระดับมากที่สุด ( = 4.71, S.D. = 0.55) สามารถทำนายหลักธรรมาภิบาลที่เหมาะสม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
ข้อเสนอแนะ ควรมีการบริหารจัดการองค์ความรู้ นำมาปรับใช้ในด้านการให้บริการแก่ประชาชน และถ่ายทอดความรู้ ประสบการณ์ แก่หน่วยงานได้เต็มศักยภาพของแต่ละคนCurricular : GE/MPA/DPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28405 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607851 SIU THE-T: IPAG-DPA-2021-03 c.1 Thesis Main Library Thesis Corner Available 32002000607852 SIU THE-T: IPAG-DPA-2021-03 c.2 Thesis Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. แนวทางในการสร้างแรงจูงใจในการทำงานของข้าราชการตำรวจในสังกัดกองบัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติด / สุนันทา สาภูงา / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : แนวทางในการสร้างแรงจูงใจในการทำงานของข้าราชการตำรวจในสังกัดกองบัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติด Original title : Motivation Building Direction of Polices in Narcotics Suppression Police Bureau Material Type: printed text Authors: สุนันทา สาภูงา, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: viii, 73 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-34
Independent Study [MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]กองบัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติด
[LCSH]การจูงใจในการทำงาน
[LCSH]ข้าราชการตำรวจKeywords: การทำงาน,
แรงจูงใจ,
ตำรวจAbstract: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเพื่อเปรียบเทียบระดับแรงจูงใจในการทำงานของข้าราชการตำรวจในสังกัดกองบัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติด กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา คือ ข้าราชการตำรวจในสังกัดกองบัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติด จำนวน 310 คน ใช้สถิติ เช่น ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ในการวิเคราะห์ข้อมูลส่วนบุคคลและใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว One-Way ANOVA ในการทดสอบสมมติฐาน
ผลการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนมากมีอายุระหว่าง 31 ถึง 40 ปี ระดับการศึกษาปริญญาตรี มีระดับตำแหน่งชั้นยศ ส.ต.ต. ถึง ส.ต.อ. มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 10,000 ถึง 20,000 บาท และมีอายุราชการระหว่าง 1 ถึง 10 ปี ผลการวิจัยพบว่า ข้าราชการตำรวจในสังกัดกองบัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติด มีระดับแรงจูงในการทำงาน โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านความรับผิดชอบ รองลงมา คือ ด้านความสำเร็จในการงาน ด้านลักษณะงานที่ปฏิบัติ ด้านความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน และด้านการได้รับการยอมรับนับถือ ตามลำดับ ผลการทดสอบความสัมพันธ์ระหว่าปัจจัยส่วนบุคคลกับแรงจูงใจในการทำงาน พบว่า ข้าราชการตำรวจที่มีอายุ ระดับการศึกษา ระดับตำแหน่งชั้นยศ รายได้ และอายุราชการ แตกต่างกัน มีแรงจูงใจในการทำงาน ในสังกัดกองบัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติดไม่แตกต่างกันCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27271 SIU IS-T. แนวทางในการสร้างแรงจูงใจในการทำงานของข้าราชการตำรวจในสังกัดกองบัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติด = Motivation Building Direction of Polices in Narcotics Suppression Police Bureau [printed text] / สุนันทา สาภูงา, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - viii, 73 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-34
Independent Study [MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]กองบัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติด
[LCSH]การจูงใจในการทำงาน
[LCSH]ข้าราชการตำรวจKeywords: การทำงาน,
แรงจูงใจ,
ตำรวจAbstract: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเพื่อเปรียบเทียบระดับแรงจูงใจในการทำงานของข้าราชการตำรวจในสังกัดกองบัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติด กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา คือ ข้าราชการตำรวจในสังกัดกองบัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติด จำนวน 310 คน ใช้สถิติ เช่น ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ในการวิเคราะห์ข้อมูลส่วนบุคคลและใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว One-Way ANOVA ในการทดสอบสมมติฐาน
ผลการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนมากมีอายุระหว่าง 31 ถึง 40 ปี ระดับการศึกษาปริญญาตรี มีระดับตำแหน่งชั้นยศ ส.ต.ต. ถึง ส.ต.อ. มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 10,000 ถึง 20,000 บาท และมีอายุราชการระหว่าง 1 ถึง 10 ปี ผลการวิจัยพบว่า ข้าราชการตำรวจในสังกัดกองบัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติด มีระดับแรงจูงในการทำงาน โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านความรับผิดชอบ รองลงมา คือ ด้านความสำเร็จในการงาน ด้านลักษณะงานที่ปฏิบัติ ด้านความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน และด้านการได้รับการยอมรับนับถือ ตามลำดับ ผลการทดสอบความสัมพันธ์ระหว่าปัจจัยส่วนบุคคลกับแรงจูงใจในการทำงาน พบว่า ข้าราชการตำรวจที่มีอายุ ระดับการศึกษา ระดับตำแหน่งชั้นยศ รายได้ และอายุราชการ แตกต่างกัน มีแรงจูงใจในการทำงาน ในสังกัดกองบัญชาการตำรวจปราบปรามยาเสพติดไม่แตกต่างกันCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27271 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000594950 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-34 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000594968 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-34 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ ฝ่ายสนับสนุน 3 กองบังคับการสนับสนุน กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน / สามารถ ทวีกาญจน์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ ฝ่ายสนับสนุน 3 กองบังคับการสนับสนุน กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน Original title : Motivation to Work Police Support Sub Division 3, Support Division, Border Patrol Police Bureau Material Type: printed text Authors: สามารถ ทวีกาญจน์, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: ix, 60 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-07
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การจูงใจในการทำงาน
[LCSH]ข้าราชการตำรวจ
[LCSH]ตำรวจตระเวนชายแดนKeywords: แรงจูงใจในการปฏิบัติงาน,
ตำรวจตระเวนชายแดน,
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์Abstract: การศึกษาค้นคว้าอิสระเรื่องแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ ฝ่ายสนับสนุน 3 กองบังคับการสนับสนุน กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน ครั้งนี้เป็นการศึกษาเชิงปริมาณโดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล เพื่อศึกษาถึงระดับแรงจูงใจ และปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ ฝ่ายสนับสนุน 3 กองบังคับการสนับสนุน กองบัญชาการตำรวจตระเวน จากกลุ่มตัวอย่างข้าราชการตำรวจชั้นสัญญาบัตรระดับ รองสารวัตร และชั้นประทวน จำนวน 63 คน ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุระหว่าง 31 – 40 ปี มีการศึกษาระดับปริญญาตรี ระดับชั้นยศจ่าสิบตำรวจ และดาบตำรวจ มีอัตราเงินเดือนระหว่าง 20,001 – 25,000 บาท
ผลการศึกษาครั้งนี้พบว่า แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ ฝ่ายสนับสนุน 3 กองบังคับการสนับสนุน กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านอยู่ในระดับมาก 10 ด้าน คือ ด้านความสำเร็จในการปฏิบัติงาน ด้านการได้รับการยอมรับ ด้านลักษณะงานที่ปฏิบัติ ด้านความรับผิดชอบ ด้านความก้าวหน้าในการปฏิบัติงาน ด้านนโยบาย การบริหาร ด้านการปกครองบังคับบัญชา ด้านความสัมพันธ์กับผู้บังคับบัญชา ด้านความสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงาน ด้านสภาพแวดล้อมในการปฏิบัติงาน ส่วนด้านค่าตอบแทนและสวัสดิการ อยู่ในระดับปานกลาง ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า ข้าราชการตำรวจ ฝ่ายสนับสนุน 3 กองบังคับการ สนับสนุน กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน ที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา ระดับชั้นยศ เงินเดือน และอายุราชการ ต่างกัน มีแรงจูงใจในการปฏิบัติงานที่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05
ข้อเสนอแนะจากการศึกษา
1. ควรมีการศึกษาในระดับกองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน เพื่อจะได้ทราบถึงความคิดเห็นของข้าราชการตำรวจที่ปฏิบัติหน้าที่ให้ครอบคลุมทุกสายงาน และทุกมิติพื้นที่ ได้อย่างครอบคลุม ซึ่งจะได้รับความคิดเห็นที่หลากหลายมากยิ่งขึ้น
2. ควรมีการศึกษาถึงปัจจัยอื่น ๆ ที่มีผลต่อระดับแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน และมีการเปรียบเทียบกับตัวแปรอิสระ เพื่อสามารถอธิบายความสัมพันธ์ และปัจจัยต่าง ๆ ได้อย่างครอบคลุม
3. ควรศึกษาถึงแนวทางการเสริมสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ โดยพิจารณาให้ครบ ครอบคลุมทุกด้านเพื่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานได้อย่างเต็มศักยภาพ และเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดแก่หน่วยงานCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26783 SIU IS-T. แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ ฝ่ายสนับสนุน 3 กองบังคับการสนับสนุน กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน = Motivation to Work Police Support Sub Division 3, Support Division, Border Patrol Police Bureau [printed text] / สามารถ ทวีกาญจน์, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - ix, 60 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-07
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การจูงใจในการทำงาน
[LCSH]ข้าราชการตำรวจ
[LCSH]ตำรวจตระเวนชายแดนKeywords: แรงจูงใจในการปฏิบัติงาน,
ตำรวจตระเวนชายแดน,
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์Abstract: การศึกษาค้นคว้าอิสระเรื่องแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ ฝ่ายสนับสนุน 3 กองบังคับการสนับสนุน กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน ครั้งนี้เป็นการศึกษาเชิงปริมาณโดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล เพื่อศึกษาถึงระดับแรงจูงใจ และปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ ฝ่ายสนับสนุน 3 กองบังคับการสนับสนุน กองบัญชาการตำรวจตระเวน จากกลุ่มตัวอย่างข้าราชการตำรวจชั้นสัญญาบัตรระดับ รองสารวัตร และชั้นประทวน จำนวน 63 คน ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุระหว่าง 31 – 40 ปี มีการศึกษาระดับปริญญาตรี ระดับชั้นยศจ่าสิบตำรวจ และดาบตำรวจ มีอัตราเงินเดือนระหว่าง 20,001 – 25,000 บาท
ผลการศึกษาครั้งนี้พบว่า แรงจูงใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ ฝ่ายสนับสนุน 3 กองบังคับการสนับสนุน กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านอยู่ในระดับมาก 10 ด้าน คือ ด้านความสำเร็จในการปฏิบัติงาน ด้านการได้รับการยอมรับ ด้านลักษณะงานที่ปฏิบัติ ด้านความรับผิดชอบ ด้านความก้าวหน้าในการปฏิบัติงาน ด้านนโยบาย การบริหาร ด้านการปกครองบังคับบัญชา ด้านความสัมพันธ์กับผู้บังคับบัญชา ด้านความสัมพันธ์กับเพื่อนร่วมงาน ด้านสภาพแวดล้อมในการปฏิบัติงาน ส่วนด้านค่าตอบแทนและสวัสดิการ อยู่ในระดับปานกลาง ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า ข้าราชการตำรวจ ฝ่ายสนับสนุน 3 กองบังคับการ สนับสนุน กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน ที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา ระดับชั้นยศ เงินเดือน และอายุราชการ ต่างกัน มีแรงจูงใจในการปฏิบัติงานที่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05
ข้อเสนอแนะจากการศึกษา
1. ควรมีการศึกษาในระดับกองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน เพื่อจะได้ทราบถึงความคิดเห็นของข้าราชการตำรวจที่ปฏิบัติหน้าที่ให้ครอบคลุมทุกสายงาน และทุกมิติพื้นที่ ได้อย่างครอบคลุม ซึ่งจะได้รับความคิดเห็นที่หลากหลายมากยิ่งขึ้น
2. ควรมีการศึกษาถึงปัจจัยอื่น ๆ ที่มีผลต่อระดับแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน และมีการเปรียบเทียบกับตัวแปรอิสระ เพื่อสามารถอธิบายความสัมพันธ์ และปัจจัยต่าง ๆ ได้อย่างครอบคลุม
3. ควรศึกษาถึงแนวทางการเสริมสร้างแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ โดยพิจารณาให้ครบ ครอบคลุมทุกด้านเพื่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานได้อย่างเต็มศักยภาพ และเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดแก่หน่วยงานCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26783 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000593465 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-07 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000593432 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-07 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available ความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวชาวต่างประเทศที่มีต่อการให้บริการ / เอกอาภา เครือไชย / กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ - 2544
Title : ความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวชาวต่างประเทศที่มีต่อการให้บริการ : ของเจ้าหน้าที่ตำรวจท่องเที่ยวในกรุงเทพมหานคร Original title : Foreign tourist's a satisfaction on the tourist police service in Krung Thep Material Type: printed text Authors: เอกอาภา เครือไชย, Author Publisher: กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ Publication Date: 2544 Pagination: (5), 108 แผ่น Layout: ตาราง Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง [ศศ.ม.] สาขาพัฒนาสังคม] -- บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 2545 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]กรุงเทพมหานคร -- การท่องเที่ยว
[LCSH]ตำรวจท่องเที่ยว
[LCSH]นักท่องเที่ยว -- ทัศนคติ
[LCSH]อุตสาหกรรมท่องเที่ยว -- ไทยKeywords: ตำรวจท่องเที่ยว.
การท่องเที่ยว.
นักท่องเที่ยว.Class number: G155.A1 อ591 2544 Abstract: มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวชาวต่างประเทศที่มีต่อการให้่การบริการของเจ้าหน้าทตำรวจท่องเที่ยวในกรุงเทพมหานคร ทางด้านการให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวก การรักษาความปลอดภัย การให้ความคุ้มครองผลประโยชน์ ลักษณะการให้บริการ ระยะเวลาในการให้บริการ ความสามารถในการใช้ภาษาของเจ้าหน้าที่ตำรวจท่องเที่ยว และปัจจัยที่เกี่ยวกับการเข้ามาในประเทศไทย.
ผลการวิจัยพบว่านักท่องเที่ยวต่างประเทศมีความพึงพอใจต่อการให้บริการของเจ้าหน้าที่ตำรวจท่องเที่ยวอยู่ในระดับมาก ในด้านการให้บริการ ด้านการรักษาความปลอดภัย และด้านการดูแล และป้องกันผลประโยชน์ของนัีกท่องเที่ยวชาวต่างประเทศ ตามลำดับ ด้านลักษณะวิธีการในการปฎิบัติหน้าที่กับนักท่องเที่ยวชาวต่างประเทศ ผลการศึกษาพบว่า อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ จำนวนครั้งที่ติดต่อเจ้าหน้าที่ตำรวจท่องเที่ยว จำนวนครั้งที่เดินทางมาประเทศไทย ระยะเวลาที่เดินทางท่องเที่ยว และระยะเวลาที่ได้รับอนุมัติให้เดินทางเข้ามาในประเทศไทย ประเภทของเรื่องที่ติดต่อกับเจ้าหน้าที่ตำรวจท่องเที่ยว การได้รับทราบข้อมูลข่าวสาร ตำรวจท่องเที่ยว ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการบริการของตำรวจท่องเที่ยว การทราบหมายเลขติดต่อของตำรวจท่องเที่ยว มีผลต่อความพึงพอใจต่อการให้บริการของเจ้าหน้าที่ตำรวจท่องเที่ยว.Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23169 ความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวชาวต่างประเทศที่มีต่อการให้บริการ = Foreign tourist's a satisfaction on the tourist police service in Krung Thep : ของเจ้าหน้าที่ตำรวจท่องเที่ยวในกรุงเทพมหานคร [printed text] / เอกอาภา เครือไชย, Author . - กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2544 . - (5), 108 แผ่น : ตาราง ; 30 ซม.
บริจาค.
การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง [ศศ.ม.] สาขาพัฒนาสังคม] -- บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 2545
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]กรุงเทพมหานคร -- การท่องเที่ยว
[LCSH]ตำรวจท่องเที่ยว
[LCSH]นักท่องเที่ยว -- ทัศนคติ
[LCSH]อุตสาหกรรมท่องเที่ยว -- ไทยKeywords: ตำรวจท่องเที่ยว.
การท่องเที่ยว.
นักท่องเที่ยว.Class number: G155.A1 อ591 2544 Abstract: มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักท่องเที่ยวชาวต่างประเทศที่มีต่อการให้่การบริการของเจ้าหน้าทตำรวจท่องเที่ยวในกรุงเทพมหานคร ทางด้านการให้ความช่วยเหลือและอำนวยความสะดวก การรักษาความปลอดภัย การให้ความคุ้มครองผลประโยชน์ ลักษณะการให้บริการ ระยะเวลาในการให้บริการ ความสามารถในการใช้ภาษาของเจ้าหน้าที่ตำรวจท่องเที่ยว และปัจจัยที่เกี่ยวกับการเข้ามาในประเทศไทย.
ผลการวิจัยพบว่านักท่องเที่ยวต่างประเทศมีความพึงพอใจต่อการให้บริการของเจ้าหน้าที่ตำรวจท่องเที่ยวอยู่ในระดับมาก ในด้านการให้บริการ ด้านการรักษาความปลอดภัย และด้านการดูแล และป้องกันผลประโยชน์ของนัีกท่องเที่ยวชาวต่างประเทศ ตามลำดับ ด้านลักษณะวิธีการในการปฎิบัติหน้าที่กับนักท่องเที่ยวชาวต่างประเทศ ผลการศึกษาพบว่า อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ จำนวนครั้งที่ติดต่อเจ้าหน้าที่ตำรวจท่องเที่ยว จำนวนครั้งที่เดินทางมาประเทศไทย ระยะเวลาที่เดินทางท่องเที่ยว และระยะเวลาที่ได้รับอนุมัติให้เดินทางเข้ามาในประเทศไทย ประเภทของเรื่องที่ติดต่อกับเจ้าหน้าที่ตำรวจท่องเที่ยว การได้รับทราบข้อมูลข่าวสาร ตำรวจท่องเที่ยว ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการบริการของตำรวจท่องเที่ยว การทราบหมายเลขติดต่อของตำรวจท่องเที่ยว มีผลต่อความพึงพอใจต่อการให้บริการของเจ้าหน้าที่ตำรวจท่องเที่ยว.Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23169 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000308955 G155.A1 อ591 2544 Thesis Main Library Thesis Corner Available