From this page you can:
Home |
Search results
18 result(s) search for keyword(s) 'วัยรุ่นชาย. ย้าบ้า การเสพติด. การบำบัด.'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
รายงานการวิจัยเรื่อง ประสบการณ์เสพติดยาบ้าซ้ำในผู้ป่วยวัยรุ่นชายโรงพยาบาลธัญญารักษ์ / จำเนียร แบ้กระโทก / โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข - 2544
Title : รายงานการวิจัยเรื่อง ประสบการณ์เสพติดยาบ้าซ้ำในผู้ป่วยวัยรุ่นชายโรงพยาบาลธัญญารักษ์ Material Type: printed text Authors: จำเนียร แบ้กระโทก, Author ; รัชนีพร จันทร์มณี, Author ; อำพร คำตา, Author Publisher: โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข Publication Date: 2544 Pagination: 37 แผ่น Layout: ตาราง. Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-774-020-6 Price: บริจาค. Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]พฤติกรรมการใช้สารเสพติดประเภทยาบ้า -- ไทย
[LCSH]ยาบ้า -- การบำบัีด
[LCSH]ยาบ้า -- การเสพติด
[LCSH]ยาเสพติดกับเยาวชน
[LCSH]วัยรุ่น -- ยาเสพติดKeywords: วัยรุ่นชาย.
ย้าบ้า
การเสพติด.
การบำบัด.Class number: HV5840 จ225 2544 Abstract: งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาประสบการณ์ของผู้เสพติดยาบ้าซ้ำในผู้ป่วยวัยรุ่นชาย โดยกลุ่มตัวอย่างคือ วัยรุ่นชายที่เสพติดยาบ้าซ้ำตั้งแต่ 2-4 ครั้ง อายุระหว่าง 16-21 ปี ที่เข้ารัีบการบำบัดรักษาในระยะจู.ใจในโรงพยาบาลธัญญารักษ์ ระหว่างเดือนมีนาคม - พฤษภาคม 2544 จำนวน 8 ราย เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกและนำข้อมูลจากการสัมภาษณ์มาวิเคราะห์ประสบการณ์การเสพติดยาบ้าซ้ำในวัยรุ่น
ผลการวิจัยพบว่า สาเหตุของการใช้ยาบ้าครั้งแรก คือ อยากลอง และการที่เพื่อนชวนเพื่อให้เป็นที่ยอมรับของกลุ่มเพื่อน ส่วนสาเหตุของการเสพติดยาบ้่าซ้ำประำกอบด้วย ความรู้สึกที่ยังคงติดใจในรสชาิดของยาบ้า เมื่อเพื่อนชวนจึงไม่อาจปฎิเสธหรือห้ามใจตนเองได้ ด้านครอบครัวนั้นสัมพันธภาพในครอบครัวไม่ดี ครอบครัวแตกแยก ไม่มีเวลาให้กัน หรือคอยดุด่าเป็นประจำทำให้ขาดความเข้าใจ คอยหวาดระแวงซึ่งกันและกัน และขาดความอบอุ่น นอกจากนัี้้นแลัวสภาพแวดล้อมที่มียาเสพติดจำหน่าย เป็นสิ่งกระตุ้นให้ไม่สามารถที่จะหยุดยาได้ เพราะเป็นตัวกระตุ้นและแรงผลักดันให้นึกถึงยาเสพติดอีก และอยากกลับไปใช้ยาเสพติด การที่เพื่อนบ้านยังไม่ให้ความไว้วางใจหวาดระแวงที่จะชักชวนบุตรหลานไปเสพร่วมด้วยเป็นส่วนหนึ่งที่ทำให้วัยุร่นกดดันและนำไปสู่การใช้ยาเสพติดซ้ำ ประการสำคัญคือ การคบเพื่อนกลุ่มเดิม ซึ่งส่งผลให้มีความอยากลองตามการฃักชวนและไม่กล้าที่จะปฎิเสธขัดใจเพื่อน กลัวเพื่อนไม่ยอมรับ ดังนั้นอาจกล่าวได้ว่าแบบแผนการดำเนินชีวิตภายหลังการรักษายาเสพติดแล้วไม่ต่างจากเดิม คือ การอยู่ในสังคมเดิม การไม่มีงานทำ การว่างจากการเรียน หรือคบเพื่อนกลุ่มเดิม ทำให้ความตั้งใจในการเลิกเสพตติดยานั้นเปลี่ยนไป แต่ทั้งนี้วัยรุ่นเหล่านี้ต่างมีความหวังและเป้าหมายหลักงเข้ารับการรักษา เมื่ออกไปจากโรงพยาบาลคือ ต้องการเรียนต่อเพื่อทำงานที่มั่นคง และครอบครัวให้โอกาสในการปรับปรุงชีวิตใหม่Curricular : BALA/BNS/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23299 รายงานการวิจัยเรื่อง ประสบการณ์เสพติดยาบ้าซ้ำในผู้ป่วยวัยรุ่นชายโรงพยาบาลธัญญารักษ์ [printed text] / จำเนียร แบ้กระโทก, Author ; รัชนีพร จันทร์มณี, Author ; อำพร คำตา, Author . - [S.l.] : โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข, 2544 . - 37 แผ่น : ตาราง. ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-774-020-6 : บริจาค.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]พฤติกรรมการใช้สารเสพติดประเภทยาบ้า -- ไทย
[LCSH]ยาบ้า -- การบำบัีด
[LCSH]ยาบ้า -- การเสพติด
[LCSH]ยาเสพติดกับเยาวชน
[LCSH]วัยรุ่น -- ยาเสพติดKeywords: วัยรุ่นชาย.
ย้าบ้า
การเสพติด.
การบำบัด.Class number: HV5840 จ225 2544 Abstract: งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาประสบการณ์ของผู้เสพติดยาบ้าซ้ำในผู้ป่วยวัยรุ่นชาย โดยกลุ่มตัวอย่างคือ วัยรุ่นชายที่เสพติดยาบ้าซ้ำตั้งแต่ 2-4 ครั้ง อายุระหว่าง 16-21 ปี ที่เข้ารัีบการบำบัดรักษาในระยะจู.ใจในโรงพยาบาลธัญญารักษ์ ระหว่างเดือนมีนาคม - พฤษภาคม 2544 จำนวน 8 ราย เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกและนำข้อมูลจากการสัมภาษณ์มาวิเคราะห์ประสบการณ์การเสพติดยาบ้าซ้ำในวัยรุ่น
ผลการวิจัยพบว่า สาเหตุของการใช้ยาบ้าครั้งแรก คือ อยากลอง และการที่เพื่อนชวนเพื่อให้เป็นที่ยอมรับของกลุ่มเพื่อน ส่วนสาเหตุของการเสพติดยาบ้่าซ้ำประำกอบด้วย ความรู้สึกที่ยังคงติดใจในรสชาิดของยาบ้า เมื่อเพื่อนชวนจึงไม่อาจปฎิเสธหรือห้ามใจตนเองได้ ด้านครอบครัวนั้นสัมพันธภาพในครอบครัวไม่ดี ครอบครัวแตกแยก ไม่มีเวลาให้กัน หรือคอยดุด่าเป็นประจำทำให้ขาดความเข้าใจ คอยหวาดระแวงซึ่งกันและกัน และขาดความอบอุ่น นอกจากนัี้้นแลัวสภาพแวดล้อมที่มียาเสพติดจำหน่าย เป็นสิ่งกระตุ้นให้ไม่สามารถที่จะหยุดยาได้ เพราะเป็นตัวกระตุ้นและแรงผลักดันให้นึกถึงยาเสพติดอีก และอยากกลับไปใช้ยาเสพติด การที่เพื่อนบ้านยังไม่ให้ความไว้วางใจหวาดระแวงที่จะชักชวนบุตรหลานไปเสพร่วมด้วยเป็นส่วนหนึ่งที่ทำให้วัยุร่นกดดันและนำไปสู่การใช้ยาเสพติดซ้ำ ประการสำคัญคือ การคบเพื่อนกลุ่มเดิม ซึ่งส่งผลให้มีความอยากลองตามการฃักชวนและไม่กล้าที่จะปฎิเสธขัดใจเพื่อน กลัวเพื่อนไม่ยอมรับ ดังนั้นอาจกล่าวได้ว่าแบบแผนการดำเนินชีวิตภายหลังการรักษายาเสพติดแล้วไม่ต่างจากเดิม คือ การอยู่ในสังคมเดิม การไม่มีงานทำ การว่างจากการเรียน หรือคบเพื่อนกลุ่มเดิม ทำให้ความตั้งใจในการเลิกเสพตติดยานั้นเปลี่ยนไป แต่ทั้งนี้วัยรุ่นเหล่านี้ต่างมีความหวังและเป้าหมายหลักงเข้ารับการรักษา เมื่ออกไปจากโรงพยาบาลคือ ต้องการเรียนต่อเพื่อทำงานที่มั่นคง และครอบครัวให้โอกาสในการปรับปรุงชีวิตใหม่Curricular : BALA/BNS/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23299 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354827 THE HV5840 จ225 2544 Thesis Main Library Thesis Corner Available รายงานการวิจัยเรื่อง กระบวนการกลายเป็นผู้ติดยาบ้าของวัยรุ่นชาย / สุกุมา แสงเดือนฉาย / โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข - 2544
Title : รายงานการวิจัยเรื่อง กระบวนการกลายเป็นผู้ติดยาบ้าของวัยรุ่นชาย Material Type: printed text Authors: สุกุมา แสงเดือนฉาย, Author ; ขนิ็ิษฐา ขันตี, Author ; ฉวีวรรณ ปัญจบุศย์, Author Publisher: โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข Publication Date: 2544 Pagination: 71 แผ่น Layout: ตาราง. Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-774-009-5 Price: บริจาค. Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การควบคุมยาเสพติด -- ไทย
[LCSH]พฤติกรรมการใช้สารเสพติดประเภทยาบ้า -- ไทย
[LCSH]พฤติกรรมการใช้แอมฟิตะมีนในทางที่ผิด -- ไทย
[LCSH]ยาบ้า -- การบำบัดKeywords: ยาบ้า
วัยรุ่นชาย.
การเสพ.
การบำบัด.
พฤติกรรม.Class number: HV5840 ส841 2544 Abstract: เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ เพื่อศึกษากระบวนการกลายเป็นผู้ติดยาบ้า และปัจจัยที่ทำให้มีการพัฒนาในการเสพยาบ้า ตั้งแต่ระยะปลูกฝัง ระยะเสพ และระยะเสพประจำของวัยรุ่นชาย อันจะนำไปสู่แนวทางป้องกันและการวางแผนในการดูแลบำบัดรักษาผู้เสพติดยาเสพติด เพื่อให้เลิกยาบ้าได้อย่างถาวร กลุ่มตัวอย่าง คือ วัยรุ่นชายอายุ 15-19 ปี ที่เข้ารับการบำบัดรักษายาบ้าในระยะบำบัดด้วยยา ในโรงพยาบาลธัญญารักษ์ระหว่างเดือนมีนาคม - เมษายน 2544 จำนวน 8 รายเก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์มาวิเคราะห์ กระบวนการกลายเป็นผู้เสพติดยาบ้าในวัยรุ่นชาย
ผลการวิจัย พบว่า การเกิดกระบวนการกลายเป็นผู้เสพติดยาบ้า ประกอบด้วย 3 ขั้นตอน คือ ระยะปลูกฝัง ซึ่งเป็นระยะที่หล่อหลอมความคิด ความรู้สึก ค่านิยมของวัยรุ่นที่มีต่อยาบ้าแล้วดำเนินผ่านจากระยะปลูกฝังสู่ีระยะเีริ่มเสพ ซึ่งเป็นการลองเสพในครั้งแรก โดยมีปัจจัยสาเหตุต่าง ๆ เช่น เพื่อนชวน อยากลอง สัมภันธภาพในครอบครัวไม่ดี และมีการเสพครั้งต่อ ๆ ไป เนื่องจากติดใจในรสชาดของยาบ้า มองว่ายาบ้าใช้ แล้วไม่ติด ทำให้การเสพเข้าสู่ระยะเสพประจำ ระยะนี้จะมีการเพิ่มปริมาณ และจำนวนครั้งของการเสพมากขึ้น มีความต้องการพึ่งพายาบ้าทั้งร่างกาย และจิตใจเป็นผู้เสพติดยาบ้าในที่สุด
ผลการวิจัยครั้งนี้มีข้อเสนอแนะว่า ควรพัฒนานโยบายในการแก้ไขปัญหาอย่างครบวงจร โดยเฉพาะการป้องกันตั้งแต่ระยะปลูกฝัง ก่อนที่เยาวชนจะเข้าสู่กระบวนการกลายเป็นผู้ติดยาบ้าใหมีความรู้ ความคิด ทัศนคติ และค่านิยม ที่ถูกต้องเกี่ยวกับยาเสพติดในทุกระบบ และประสานความร่วมมือทุกหน่วยงานทั้งภาคเอกชน และรัฐบาลในการแก้ปัญหาอย่างจริงจังCurricular : BALA/BNS/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23296 รายงานการวิจัยเรื่อง กระบวนการกลายเป็นผู้ติดยาบ้าของวัยรุ่นชาย [printed text] / สุกุมา แสงเดือนฉาย, Author ; ขนิ็ิษฐา ขันตี, Author ; ฉวีวรรณ ปัญจบุศย์, Author . - [S.l.] : โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข, 2544 . - 71 แผ่น : ตาราง. ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-774-009-5 : บริจาค.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การควบคุมยาเสพติด -- ไทย
[LCSH]พฤติกรรมการใช้สารเสพติดประเภทยาบ้า -- ไทย
[LCSH]พฤติกรรมการใช้แอมฟิตะมีนในทางที่ผิด -- ไทย
[LCSH]ยาบ้า -- การบำบัดKeywords: ยาบ้า
วัยรุ่นชาย.
การเสพ.
การบำบัด.
พฤติกรรม.Class number: HV5840 ส841 2544 Abstract: เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ เพื่อศึกษากระบวนการกลายเป็นผู้ติดยาบ้า และปัจจัยที่ทำให้มีการพัฒนาในการเสพยาบ้า ตั้งแต่ระยะปลูกฝัง ระยะเสพ และระยะเสพประจำของวัยรุ่นชาย อันจะนำไปสู่แนวทางป้องกันและการวางแผนในการดูแลบำบัดรักษาผู้เสพติดยาเสพติด เพื่อให้เลิกยาบ้าได้อย่างถาวร กลุ่มตัวอย่าง คือ วัยรุ่นชายอายุ 15-19 ปี ที่เข้ารับการบำบัดรักษายาบ้าในระยะบำบัดด้วยยา ในโรงพยาบาลธัญญารักษ์ระหว่างเดือนมีนาคม - เมษายน 2544 จำนวน 8 รายเก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์มาวิเคราะห์ กระบวนการกลายเป็นผู้เสพติดยาบ้าในวัยรุ่นชาย
ผลการวิจัย พบว่า การเกิดกระบวนการกลายเป็นผู้เสพติดยาบ้า ประกอบด้วย 3 ขั้นตอน คือ ระยะปลูกฝัง ซึ่งเป็นระยะที่หล่อหลอมความคิด ความรู้สึก ค่านิยมของวัยรุ่นที่มีต่อยาบ้าแล้วดำเนินผ่านจากระยะปลูกฝังสู่ีระยะเีริ่มเสพ ซึ่งเป็นการลองเสพในครั้งแรก โดยมีปัจจัยสาเหตุต่าง ๆ เช่น เพื่อนชวน อยากลอง สัมภันธภาพในครอบครัวไม่ดี และมีการเสพครั้งต่อ ๆ ไป เนื่องจากติดใจในรสชาดของยาบ้า มองว่ายาบ้าใช้ แล้วไม่ติด ทำให้การเสพเข้าสู่ระยะเสพประจำ ระยะนี้จะมีการเพิ่มปริมาณ และจำนวนครั้งของการเสพมากขึ้น มีความต้องการพึ่งพายาบ้าทั้งร่างกาย และจิตใจเป็นผู้เสพติดยาบ้าในที่สุด
ผลการวิจัยครั้งนี้มีข้อเสนอแนะว่า ควรพัฒนานโยบายในการแก้ไขปัญหาอย่างครบวงจร โดยเฉพาะการป้องกันตั้งแต่ระยะปลูกฝัง ก่อนที่เยาวชนจะเข้าสู่กระบวนการกลายเป็นผู้ติดยาบ้าใหมีความรู้ ความคิด ทัศนคติ และค่านิยม ที่ถูกต้องเกี่ยวกับยาเสพติดในทุกระบบ และประสานความร่วมมือทุกหน่วยงานทั้งภาคเอกชน และรัฐบาลในการแก้ปัญหาอย่างจริงจังCurricular : BALA/BNS/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23296 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354819 THE HV5840 ส841 2544 Book Main Library General Shelf Available SIU RS-T. การศึกษาการขจัดสีในน้ำเสียจากโรงงานอุตสาหกรรมสิ่งทอ ด้วยขบวนการทางเคมีชีวภาพและกายภาพ / พีรวัฒน์ ดวงอาจ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU RS-T Title : การศึกษาการขจัดสีในน้ำเสียจากโรงงานอุตสาหกรรมสิ่งทอ ด้วยขบวนการทางเคมีชีวภาพและกายภาพ Original title : A Study of Decolorization of Dye Waste Water from the Textiles Industry by Chemical Biological and Physical Method Material Type: printed text Authors: พีรวัฒน์ ดวงอาจ, Author ; ชัญญา โภคะสุวรรณ, Associated Name ; ดำรง ขุมมงคล, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: ix, 47 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-14
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]น้ำเสีย -- การบำบัด
[LCSH]เส้นใยสังเคราะห์ -- การผลิตKeywords: การขจัดสีในน้ำเสีย,
การผลิตเส้นใยสังเคราะห์,
น้ำเสียปนเปื้อนสีย้อม,
การบำบัดน้ำเสียAbstract: อุตสาหกรรมการผลิตเส้นใยสังเคราะห์เป็นอุตสาหกรรมที่เกิดน้ำเสียขึ้นเกือบทุกขั้นตอนในกระบวนการผลิต มีการฉีดสารเคมีต่างๆ หรือ สีย้อมลงไปในผลิตภัณฑ์จนก่อให้เกิดน้ำเสียความเข้มข้นสูงที่มีสีย้อมผสมอยู่ในน้ำที่เมื่อบำบัดน้ำเสียด้วยวิธีการโรงงานไม่สามารถขจัดสีย้อมปนเปื้อนที่อยู่ในน้ำเสียออกไปได้หมด ทำให้เกิดปัญหาคือไม่สามารถปล่อยทิ้งลงสู่ธรรมชาติได้เพราะจะส่งผลกระทบต่อแหล่งน้ำ จึงได้เริ่มทำการวิจัยที่จะแก้ไขปัญหาน้ำเสียที่เกิดขึ้นจากกระบวนการผลิตเส้นใยสังเคราะห์ฟอกย้อม ด้วยการศึกษาหาวิธีที่จะนำมาเพิ่มประสิทธิภาพในการบำบัดน้ำเสียให้เพียงพอและเหมาะสมสำหรับที่จะใช้นำมาบำบัดน้ำเสียที่มีความเข้มข้นของสารเคมีที่สูงและมีสีย้อมปนเปื้อนในปริมาณมาก
โดยจากการรวบรวมข้อมูลพบว่า บริเวณที่เกิดน้ำเสียปนเปื้อนสีมากที่สุดคือ บริเวณที่มีการล้างทำความสะอาดในจุดฉีดสีคือ 938 ลิตร รองลงมาคือ บริเวณที่มีการล้างทำความสะอาดในจุดปั่นบดสี พบเท่ากับ 423 ลิตร ต่อมาคือ จากเครื่องย้อมสีพบในปริมาณ 260 ลิตร ส่วนบริเวณ บ่อทิ้งน้ำสี และจากแหล่งอื่นๆ พบในปริมาณ 87 ลิตร และ 47 ลิตร ตามลำดับ จากการศึกษาการขจัดสีด้วยวิธีทางกายภาพ ชีวภาพ และเคมีพบว่าวิธีที่มีประสิทธิภาพในการขจัดสีออกไปได้สูงที่สุดคือวิธีทางกายภาพ ที่สามารถกำจัดสีจริงและสีปรากฏออกไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ การใช้วิธีทางกายภาพช่วยขจัดสีมีผลดีทางอ้อมคือ ทำให้สามารถนำน้ำเสียมาแปรรูปเพื่อนำ PRS กลับมาใช้ได้อีกครั้ง วิธีการนี้ช่วยให้กระบวนการบำบัดน้ำเสียก่อนปล่อยออกสู่โรงงานเร็วขึ้นเนื่องจากค่า COD ในน้ำต่ำลงเล็กน้อย วิธีทางชีวภาพ ยังเป็นวิธีที่ไม่เหมาะสมต่อการนำมาขจัดสีในระดับโรงงานขนาดใหญ่ที่มีน้ำเสียความเข้มข้นสูง เพราะเชื้อจุลินทรีย์ในบ่อเติมอากาศที่นำทดลองเมื่ออยู่ในสภาวะของความเข้มข้นสูงก็เกิดการตายลง อีกทั้งหากจะใช้จุลินทรีย์มาขจัดสียังต้องใช้ปริมาณจุลินทรีย์ต่อน้ำเสียในอัตราที่สูงมากอีกทั้งยังใช้เวลานานที่สุด การขจัดสีด้วยวิธีทางเคมี สามารถกำจัดสีจริงและสีปรากฏออกไปได้อย่างมีประสิทธิภาพเช่นเดียวกับการขจัดโดยวิธีการทางกายภาพ เป็นวิธีที่ง่ายและมีความสะดวก แต่ในกระบวนการจะเกิดตะกอนขึ้นมา ปริมาณค่า COD สูงขึ้นอย่างมากอีกทั้งยังไม่สามารถนำน้ำเสียมาแปรรูปเพื่อนำ PRS กลับมาใช้ได้อีกครั้งเนื่องจากมีสารเคมีที่ใช้ในการขจัดสีผสมอยู่ในน้ำ หลังจากขจัดสีออกแล้วนำไปสู่กระบวนการกำจัดจะใช้เวลานานกว่าวิธีทางกายภาพเพราะปริมาณ COD สูงขึ้น เพราะสารเคมีที่ใช้ในการขจัดสีCurricular : BSMT/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27177 SIU RS-T. การศึกษาการขจัดสีในน้ำเสียจากโรงงานอุตสาหกรรมสิ่งทอ ด้วยขบวนการทางเคมีชีวภาพและกายภาพ = A Study of Decolorization of Dye Waste Water from the Textiles Industry by Chemical Biological and Physical Method [printed text] / พีรวัฒน์ ดวงอาจ, Author ; ชัญญา โภคะสุวรรณ, Associated Name ; ดำรง ขุมมงคล, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - ix, 47 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-14
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]น้ำเสีย -- การบำบัด
[LCSH]เส้นใยสังเคราะห์ -- การผลิตKeywords: การขจัดสีในน้ำเสีย,
การผลิตเส้นใยสังเคราะห์,
น้ำเสียปนเปื้อนสีย้อม,
การบำบัดน้ำเสียAbstract: อุตสาหกรรมการผลิตเส้นใยสังเคราะห์เป็นอุตสาหกรรมที่เกิดน้ำเสียขึ้นเกือบทุกขั้นตอนในกระบวนการผลิต มีการฉีดสารเคมีต่างๆ หรือ สีย้อมลงไปในผลิตภัณฑ์จนก่อให้เกิดน้ำเสียความเข้มข้นสูงที่มีสีย้อมผสมอยู่ในน้ำที่เมื่อบำบัดน้ำเสียด้วยวิธีการโรงงานไม่สามารถขจัดสีย้อมปนเปื้อนที่อยู่ในน้ำเสียออกไปได้หมด ทำให้เกิดปัญหาคือไม่สามารถปล่อยทิ้งลงสู่ธรรมชาติได้เพราะจะส่งผลกระทบต่อแหล่งน้ำ จึงได้เริ่มทำการวิจัยที่จะแก้ไขปัญหาน้ำเสียที่เกิดขึ้นจากกระบวนการผลิตเส้นใยสังเคราะห์ฟอกย้อม ด้วยการศึกษาหาวิธีที่จะนำมาเพิ่มประสิทธิภาพในการบำบัดน้ำเสียให้เพียงพอและเหมาะสมสำหรับที่จะใช้นำมาบำบัดน้ำเสียที่มีความเข้มข้นของสารเคมีที่สูงและมีสีย้อมปนเปื้อนในปริมาณมาก
โดยจากการรวบรวมข้อมูลพบว่า บริเวณที่เกิดน้ำเสียปนเปื้อนสีมากที่สุดคือ บริเวณที่มีการล้างทำความสะอาดในจุดฉีดสีคือ 938 ลิตร รองลงมาคือ บริเวณที่มีการล้างทำความสะอาดในจุดปั่นบดสี พบเท่ากับ 423 ลิตร ต่อมาคือ จากเครื่องย้อมสีพบในปริมาณ 260 ลิตร ส่วนบริเวณ บ่อทิ้งน้ำสี และจากแหล่งอื่นๆ พบในปริมาณ 87 ลิตร และ 47 ลิตร ตามลำดับ จากการศึกษาการขจัดสีด้วยวิธีทางกายภาพ ชีวภาพ และเคมีพบว่าวิธีที่มีประสิทธิภาพในการขจัดสีออกไปได้สูงที่สุดคือวิธีทางกายภาพ ที่สามารถกำจัดสีจริงและสีปรากฏออกไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ การใช้วิธีทางกายภาพช่วยขจัดสีมีผลดีทางอ้อมคือ ทำให้สามารถนำน้ำเสียมาแปรรูปเพื่อนำ PRS กลับมาใช้ได้อีกครั้ง วิธีการนี้ช่วยให้กระบวนการบำบัดน้ำเสียก่อนปล่อยออกสู่โรงงานเร็วขึ้นเนื่องจากค่า COD ในน้ำต่ำลงเล็กน้อย วิธีทางชีวภาพ ยังเป็นวิธีที่ไม่เหมาะสมต่อการนำมาขจัดสีในระดับโรงงานขนาดใหญ่ที่มีน้ำเสียความเข้มข้นสูง เพราะเชื้อจุลินทรีย์ในบ่อเติมอากาศที่นำทดลองเมื่ออยู่ในสภาวะของความเข้มข้นสูงก็เกิดการตายลง อีกทั้งหากจะใช้จุลินทรีย์มาขจัดสียังต้องใช้ปริมาณจุลินทรีย์ต่อน้ำเสียในอัตราที่สูงมากอีกทั้งยังใช้เวลานานที่สุด การขจัดสีด้วยวิธีทางเคมี สามารถกำจัดสีจริงและสีปรากฏออกไปได้อย่างมีประสิทธิภาพเช่นเดียวกับการขจัดโดยวิธีการทางกายภาพ เป็นวิธีที่ง่ายและมีความสะดวก แต่ในกระบวนการจะเกิดตะกอนขึ้นมา ปริมาณค่า COD สูงขึ้นอย่างมากอีกทั้งยังไม่สามารถนำน้ำเสียมาแปรรูปเพื่อนำ PRS กลับมาใช้ได้อีกครั้งเนื่องจากมีสารเคมีที่ใช้ในการขจัดสีผสมอยู่ในน้ำ หลังจากขจัดสีออกแล้วนำไปสู่กระบวนการกำจัดจะใช้เวลานานกว่าวิธีทางกายภาพเพราะปริมาณ COD สูงขึ้น เพราะสารเคมีที่ใช้ในการขจัดสีCurricular : BSMT/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27177 Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000594570 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-14 c.1 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan 32002000594554 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-14 c.2 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan SIU RS-T. การศึกษาการบำบัดสารมลพิษตกค้างจากสารกำจัดศัตรูพืช โดยการใช้พืชในการบำบัดสารมลพิษ ในบริเวณที่ปนเปื้อน / นิพิฐพนธ์ พันธ์ยัง / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU RS-T Title : การศึกษาการบำบัดสารมลพิษตกค้างจากสารกำจัดศัตรูพืช โดยการใช้พืชในการบำบัดสารมลพิษ ในบริเวณที่ปนเปื้อน Original title : A Study of the Treatment of Residual Pollutions from Pesticides by Phytoremediation of Pollutions in Contaminated Areas Material Type: printed text Authors: นิพิฐพนธ์ พันธ์ยัง, Author ; ชัญญา โภคะสุวรรณ, Associated Name ; ดำรง ขุมมงคล, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: vi, 31 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-13
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]สารกำจัดศัตรูพืช
[LCSH]สารมลพิษ -- การบำบัดKeywords: สารกำจัดศัตรูพืช,
การบำบัดสารมลพิษตกค้าง โดยการใช้พืชในการบำบัดAbstract: ปัจจุบันพบว่า เกษตรกรมีการใช้ยาฆ่าหญ้า ยากำจัดหนู ปูนา หอยเชอรี่ ยาป้องกันและกำจัดโรคพืช จนทำให้ท้องไร่นาของไทยกลายเป็นไร่นาเกษตรเคมี (สถาบันวิจัยประชากรและสังคม, 2555) อีกทั้งรายงานของกรมวิชาการเกษตรที่รายงานว่า สารเคมีด้านเกษตรจะตกค้างสะสมอยู่ในสิ่งแวดล้อมและห่วงโซ่อาหารได้เป็นเวลานานหลายปีทำให้สิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศตายไปจำนวนมากขาดความสมดุลตามธรรมชาติส่งผลกระทบสืบเนื่องไปถึงสุขภาพของเกษตรกร ผู้บริโภคและปัญหาทางด้านการค้าและการส่งออกเพราะมีสารเคมีตกค้างในอาหาร
ผลกระทบจากมลพิษทางดิน ที่มีผลต่อมนุษย์ในทางอ้อม คือการได้รับจากการดื่มน้ำที่มีสารพิษปะปนหรือรับประทานอาหาร จากพืชผักปลูกในดินที่มีการสะสมตัวของสารที่มีพิษ จึงจำเป็นต้องหาวิธีการบำบัดสารมลพิษตกค้างจากสารกำจัดศัตรูพืช ให้สู่ภาวะที่สมดุลไม่ทำร้ายสิ่งแวดล้อมCurricular : BSMT/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27184 SIU RS-T. การศึกษาการบำบัดสารมลพิษตกค้างจากสารกำจัดศัตรูพืช โดยการใช้พืชในการบำบัดสารมลพิษ ในบริเวณที่ปนเปื้อน = A Study of the Treatment of Residual Pollutions from Pesticides by Phytoremediation of Pollutions in Contaminated Areas [printed text] / นิพิฐพนธ์ พันธ์ยัง, Author ; ชัญญา โภคะสุวรรณ, Associated Name ; ดำรง ขุมมงคล, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - vi, 31 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-13
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]สารกำจัดศัตรูพืช
[LCSH]สารมลพิษ -- การบำบัดKeywords: สารกำจัดศัตรูพืช,
การบำบัดสารมลพิษตกค้าง โดยการใช้พืชในการบำบัดAbstract: ปัจจุบันพบว่า เกษตรกรมีการใช้ยาฆ่าหญ้า ยากำจัดหนู ปูนา หอยเชอรี่ ยาป้องกันและกำจัดโรคพืช จนทำให้ท้องไร่นาของไทยกลายเป็นไร่นาเกษตรเคมี (สถาบันวิจัยประชากรและสังคม, 2555) อีกทั้งรายงานของกรมวิชาการเกษตรที่รายงานว่า สารเคมีด้านเกษตรจะตกค้างสะสมอยู่ในสิ่งแวดล้อมและห่วงโซ่อาหารได้เป็นเวลานานหลายปีทำให้สิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศตายไปจำนวนมากขาดความสมดุลตามธรรมชาติส่งผลกระทบสืบเนื่องไปถึงสุขภาพของเกษตรกร ผู้บริโภคและปัญหาทางด้านการค้าและการส่งออกเพราะมีสารเคมีตกค้างในอาหาร
ผลกระทบจากมลพิษทางดิน ที่มีผลต่อมนุษย์ในทางอ้อม คือการได้รับจากการดื่มน้ำที่มีสารพิษปะปนหรือรับประทานอาหาร จากพืชผักปลูกในดินที่มีการสะสมตัวของสารที่มีพิษ จึงจำเป็นต้องหาวิธีการบำบัดสารมลพิษตกค้างจากสารกำจัดศัตรูพืช ให้สู่ภาวะที่สมดุลไม่ทำร้ายสิ่งแวดล้อมCurricular : BSMT/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27184 Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000594620 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-13 c.1 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan 32002000594638 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-13 c.2 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan กลวิธีในการปฎิเสธการมีเพศสัีมพันธ์ของวัยรุ่นหญิงตามประสบการณ์ของวัยรุ่นชาย / ภาภาดา อรุณรัตน์ / 2552
Title : กลวิธีในการปฎิเสธการมีเพศสัีมพันธ์ของวัยรุ่นหญิงตามประสบการณ์ของวัยรุ่นชาย Original title : Ways of adolescent female's refusal having sexual relation based on adolescent male's experiences Material Type: printed text Authors: ภาภาดา อรุณรัตน์, Author Publication Date: 2552 Pagination: 112 แผ่น Layout: ตารางประกอบ. Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย. ม [การพยาบาลเวชปฎิบัติชุมชน]]-- มหาวิทยาลัยนเรศวร 2552 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การสำรวจพฤติกรรมทางเพศ -- ไทย -- พิจิตร
[LCSH]เพศสัมพันธ์Keywords: เพศสัมพันธ์.
วัยรุ่นหญิง.
วัยรุ่นชาย.Class number: HQ60 ภ676 2552 Abstract: เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพแบบปรากฏการณ์วิทยาครั้งนี้ เื่ื่ื่พื่อทำความเข้าใจและอธิบายถึงกลวิธีในการปฏิเสธการมีเพศสัมพันธ์ของวัยรุ่นหญิงตามประสบการณ์ของวัยรุ่นชาย และอธิบายถึงพฤติกรรมของวัยรุ่นหญิงตามประสบการณ์ของวัยรุ่นชายที่ไม่สามารถชักจูงให้มีเพศสัมพันธ์ได้ ผู้ให้ข้อมูลเป็นวัยรุ่นชายที่ำกำลังศึกษาในระดับมัธยมศึก๋ษาตอนปลาย อ. วิชรบารมี จังหวัดพิจิตร อายุระหว่าง 15-18 ปี ที่เคยมีประสบการณ์การมีเพศสัมพันธ์กับวัยรุ่นหญิงมาแล้ว จำนวน 11 ราย เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึก วิเคราะห์ข้อมูลโดยวิธีการของโคไลซี่ พบว่า วัยรุ่นชายให้ความหมายของการมีเพศสัมพันธ์ 2 ลักษณะคือ เป็นความสนุกปลดปล่อยอารมณ์ และได้ร่วมเพศโดยไม่ได้เลือกว่าเป็นผู้หญิงที่ีรักหรือไม่รัก โดยมีขั้นตอน 4 ขั้นตอน ตีสนิท ตามจีบ นัดพบ และกระตุ้นรุกเร้าอารมณ์จนสมยอม และกลวิธีปฏิเสธของวัยรุ่นหญิงที่วัยรุ่นชายไม่สามารถชักจูงให้มีเพศสัมพันธ์ได้มี 3 พฤติกรรม คือ เป็นคนโมโหร้ายและแสดงท่าทางรังเกียจ เป็นคนเงียบเฉย และเรียบร้อย และเป็นคนไม่เที่ยวเตรชอบอยู่กับพ่อ และแม่ Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23234 กลวิธีในการปฎิเสธการมีเพศสัีมพันธ์ของวัยรุ่นหญิงตามประสบการณ์ของวัยรุ่นชาย = Ways of adolescent female's refusal having sexual relation based on adolescent male's experiences [printed text] / ภาภาดา อรุณรัตน์, Author . - 2552 . - 112 แผ่น : ตารางประกอบ. ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย. ม [การพยาบาลเวชปฎิบัติชุมชน]]-- มหาวิทยาลัยนเรศวร 2552
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การสำรวจพฤติกรรมทางเพศ -- ไทย -- พิจิตร
[LCSH]เพศสัมพันธ์Keywords: เพศสัมพันธ์.
วัยรุ่นหญิง.
วัยรุ่นชาย.Class number: HQ60 ภ676 2552 Abstract: เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพแบบปรากฏการณ์วิทยาครั้งนี้ เื่ื่ื่พื่อทำความเข้าใจและอธิบายถึงกลวิธีในการปฏิเสธการมีเพศสัมพันธ์ของวัยรุ่นหญิงตามประสบการณ์ของวัยรุ่นชาย และอธิบายถึงพฤติกรรมของวัยรุ่นหญิงตามประสบการณ์ของวัยรุ่นชายที่ไม่สามารถชักจูงให้มีเพศสัมพันธ์ได้ ผู้ให้ข้อมูลเป็นวัยรุ่นชายที่ำกำลังศึกษาในระดับมัธยมศึก๋ษาตอนปลาย อ. วิชรบารมี จังหวัดพิจิตร อายุระหว่าง 15-18 ปี ที่เคยมีประสบการณ์การมีเพศสัมพันธ์กับวัยรุ่นหญิงมาแล้ว จำนวน 11 ราย เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึก วิเคราะห์ข้อมูลโดยวิธีการของโคไลซี่ พบว่า วัยรุ่นชายให้ความหมายของการมีเพศสัมพันธ์ 2 ลักษณะคือ เป็นความสนุกปลดปล่อยอารมณ์ และได้ร่วมเพศโดยไม่ได้เลือกว่าเป็นผู้หญิงที่ีรักหรือไม่รัก โดยมีขั้นตอน 4 ขั้นตอน ตีสนิท ตามจีบ นัดพบ และกระตุ้นรุกเร้าอารมณ์จนสมยอม และกลวิธีปฏิเสธของวัยรุ่นหญิงที่วัยรุ่นชายไม่สามารถชักจูงให้มีเพศสัมพันธ์ได้มี 3 พฤติกรรม คือ เป็นคนโมโหร้ายและแสดงท่าทางรังเกียจ เป็นคนเงียบเฉย และเรียบร้อย และเป็นคนไม่เที่ยวเตรชอบอยู่กับพ่อ และแม่ Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23234 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354801 HQ60 ภ676 2552 Thesis Main Library Thesis Corner Available การบำบัดทางเลือกเพื่อช่วยเลิกบุหรี่วิถีไทย / ผ่องศรี ศรีมรกต / กรุงเทพฯ: เครือข่ายพยาบาลเพื่อต้านบุหรี่และสารเสพติดแห่งประเทศไทย - 2561
Title : การบำบัดทางเลือกเพื่อช่วยเลิกบุหรี่วิถีไทย Original title : Thai alternative therapy for tobacco cessation Material Type: printed text Authors: ผ่องศรี ศรีมรกต, Author Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 5 Publisher: กรุงเทพฯ: เครือข่ายพยาบาลเพื่อต้านบุหรี่และสารเสพติดแห่งประเทศไทย Publication Date: 2561 Pagination: 335 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 21 ซม. ISBN (or other code): 978-974-225-595-4 Price: - General note: 1. การให้การบำบัดเสริมเพื่่อช่วยเลิกบุหรี่วิถีไทยฯ -- 2. ประเภทยาสูบในประเทศไทยยุคประเทศไทย 4.0 -- 3. แนวคิดการให้คำปรึกษาเพื่อช่วยเลิกบุหรี่ -- 4. แนวคิดประพฤติกรรมบำบัดเพื่อช่วยเลิกบุหรี่ -- 5. กิจกรรมบำบัดเพื่อช่วยเลิกบุหรี่ -- 6. ธรรมะบำบัด -- 7. การกดจุด -- 8. การนวดคลายเครียด -- 9.อาหารช่วยเลิกบุหรี่ -- 10. การบำบัดเสริมด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่น -- 11. การพัฒนาสิ่งแวดล้อมปลอดบุหรี่ เพื่อเสริมประสิทธิภาพการช่วยเลิกบุหรี่ -- 12. การสร้างภูมิคุ้มกันยาสูบเพื่อป้องกันนักสูบหน้าใหม่ Languages : Thai (tha) Descriptors: [NLM]การติดบุหรี่ -- การรักษา
[NLM]การสูบบุหรี่ -- การรักษา
[NLM]การเลิกบุหรี่
[NLM]การเลิกสูบบุหรี่
[NLM]การแพทย์ทางเลือกKeywords: เลิกบุหรี่, การบำบัดทางเลือก Class number: WM290 ผ227ก 2561 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28268 การบำบัดทางเลือกเพื่อช่วยเลิกบุหรี่วิถีไทย = Thai alternative therapy for tobacco cessation [printed text] / ผ่องศรี ศรีมรกต, Author . - พิมพ์ครั้งที่ 5 . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: เครือข่ายพยาบาลเพื่อต้านบุหรี่และสารเสพติดแห่งประเทศไทย, 2561 . - 335 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 21 ซม.
ISBN : 978-974-225-595-4 : -
1. การให้การบำบัดเสริมเพื่่อช่วยเลิกบุหรี่วิถีไทยฯ -- 2. ประเภทยาสูบในประเทศไทยยุคประเทศไทย 4.0 -- 3. แนวคิดการให้คำปรึกษาเพื่อช่วยเลิกบุหรี่ -- 4. แนวคิดประพฤติกรรมบำบัดเพื่อช่วยเลิกบุหรี่ -- 5. กิจกรรมบำบัดเพื่อช่วยเลิกบุหรี่ -- 6. ธรรมะบำบัด -- 7. การกดจุด -- 8. การนวดคลายเครียด -- 9.อาหารช่วยเลิกบุหรี่ -- 10. การบำบัดเสริมด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่น -- 11. การพัฒนาสิ่งแวดล้อมปลอดบุหรี่ เพื่อเสริมประสิทธิภาพการช่วยเลิกบุหรี่ -- 12. การสร้างภูมิคุ้มกันยาสูบเพื่อป้องกันนักสูบหน้าใหม่
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [NLM]การติดบุหรี่ -- การรักษา
[NLM]การสูบบุหรี่ -- การรักษา
[NLM]การเลิกบุหรี่
[NLM]การเลิกสูบบุหรี่
[NLM]การแพทย์ทางเลือกKeywords: เลิกบุหรี่, การบำบัดทางเลือก Class number: WM290 ผ227ก 2561 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28268 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607061 WM290 ผ227ก 2561 c.1 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000607147 WM290 ผ227ก 2561 c.10 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000607086 WM290 ผ227ก 2561 c.2 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000607083 WM290 ผ227ก 2561 c.3 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000607049 WM290 ผ227ก 2561 c.4 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000607088 WM290 ผ227ก 2561 c.5 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000607063 WM290 ผ227ก 2561 c.6 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000607069 WM290 ผ227ก 2561 c.7 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000607161 WM290 ผ227ก 2561 c.8 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000607074 WM290 ผ227ก 2561 c.9 Book Main Library Nursing Shelf Available การบำบัดแบบเสริมสร้างแรงจูงใจรายกลุ่มโดยครอบครัวและชุมชน มีส่วนร่วมในผู้ติดสุรา ณ โรงพยาบาลชุมชนแห่งหนึ่ง / วนาลักษณ์ รอวิลาน in วารสารสภาการพยาบาล, Vol.31 No.3 (Jul-Sep) 2016/59 ([07/25/2016])
[article]
Title : การบำบัดแบบเสริมสร้างแรงจูงใจรายกลุ่มโดยครอบครัวและชุมชน มีส่วนร่วมในผู้ติดสุรา ณ โรงพยาบาลชุมชนแห่งหนึ่ง : การศึกษานำร่อง Material Type: printed text Authors: วนาลักษณ์ รอวิลาน, Author ; ภัทราภรณ์ ทุ่งปันคำ, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.53-66 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.3 (Jul-Sep) 2016/59 [07/25/2016] . - p.53-66Keywords: พฤติกรรมการดื่มสุรา. ผู้ติดสุรา. การมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชน. การบำบัดแบบเสริมสร้างแรงจูงใจรายกลุ่ม. Abstract: บทคัดย่อ: วัตถุประสงค์ของการวิจัย: เพื่อศึกษาผลของการบำบัดแบบเสริมสร้างแรงจูงใจ
รายกลุ่มโดยครอบครัวและชุมชนมีส่วนร่วมต่อพฤติกรรมการดื่มสุราของผู้ติดสุราโรงพยาบาล
เชียงกลาง จังหวัดน่าน
การออกแบบวิจัย: การวิจัยกึ่งทดลอง แบบกลุ่มเดียววัดก่อนและหลังการทดลอง
วิธีดำเนินการวิจัย: เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจงตามคุณสมบัติที่กำหนด
จำนวน 15 ราย รวบรวมข้อมูลระหว่างเดือนกรกฎาคม 2556 ถึงเดือนกันยายน 2557
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 3 ส่วนคือ 1) ข้อมูลส่วนบุคคล 2) โปรแกรมการเสริมสร้างแรงจูงใจบำบัดรายกลุ่มโดยครอบครัวและชุมชนมีส่วนร่วม ที่ทีมผู้วิจัยพัฒนาขึ้นตามกรอบแนวคิดการเสริมสร้างแรงจูงใจของมิลเลอร์และโรนิค และจากการทบทวนวรรณกรรม 3) แบบประเมินพฤติกรรมการดื่มสุรา (AUDIT) และแบบวัดแรงจูงใจในการเลิกสุรา วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียวชนิดการวัดซ้ำ (One-way
repeated measure ANOVA) และสถิติค่าที (T-Test)
ผลการวิจัย: เมื่อเปรียบเทียบกับก่อนการทดลอง พบว่า คะแนนพฤติกรรมการดื่มสุรา
หลังการทดลองลดลงหลังการทดลองทันทีและระยะติดตามผล 1 เดือน 3 เดือน 6 เดือน และ 1 ปี อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P <.01)
ข้อเสนอแนะ:โปรแกรมนี้สามารถช่วยให้ผู้ที่ติดสุราลดและเลิกการดื่มสุราได้อย่าง
ต่อเนื่อง ดังนั้นบุคลากรสาธารณสุขควรนำโปรแกรมนี้ไปประยุกต์ใช้ในการบำบัดผู้ติดสุรา
และควรมีการสร้างระบบการติดตามระยะยาวโดยครอบครัว ผู้ดูแล และแกนนำชุมชนLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27043 [article] การบำบัดแบบเสริมสร้างแรงจูงใจรายกลุ่มโดยครอบครัวและชุมชน มีส่วนร่วมในผู้ติดสุรา ณ โรงพยาบาลชุมชนแห่งหนึ่ง : การศึกษานำร่อง [printed text] / วนาลักษณ์ รอวิลาน, Author ; ภัทราภรณ์ ทุ่งปันคำ, Author . - 2016 . - p.53-66.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.3 (Jul-Sep) 2016/59 [07/25/2016] . - p.53-66Keywords: พฤติกรรมการดื่มสุรา. ผู้ติดสุรา. การมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชน. การบำบัดแบบเสริมสร้างแรงจูงใจรายกลุ่ม. Abstract: บทคัดย่อ: วัตถุประสงค์ของการวิจัย: เพื่อศึกษาผลของการบำบัดแบบเสริมสร้างแรงจูงใจ
รายกลุ่มโดยครอบครัวและชุมชนมีส่วนร่วมต่อพฤติกรรมการดื่มสุราของผู้ติดสุราโรงพยาบาล
เชียงกลาง จังหวัดน่าน
การออกแบบวิจัย: การวิจัยกึ่งทดลอง แบบกลุ่มเดียววัดก่อนและหลังการทดลอง
วิธีดำเนินการวิจัย: เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจงตามคุณสมบัติที่กำหนด
จำนวน 15 ราย รวบรวมข้อมูลระหว่างเดือนกรกฎาคม 2556 ถึงเดือนกันยายน 2557
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 3 ส่วนคือ 1) ข้อมูลส่วนบุคคล 2) โปรแกรมการเสริมสร้างแรงจูงใจบำบัดรายกลุ่มโดยครอบครัวและชุมชนมีส่วนร่วม ที่ทีมผู้วิจัยพัฒนาขึ้นตามกรอบแนวคิดการเสริมสร้างแรงจูงใจของมิลเลอร์และโรนิค และจากการทบทวนวรรณกรรม 3) แบบประเมินพฤติกรรมการดื่มสุรา (AUDIT) และแบบวัดแรงจูงใจในการเลิกสุรา วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียวชนิดการวัดซ้ำ (One-way
repeated measure ANOVA) และสถิติค่าที (T-Test)
ผลการวิจัย: เมื่อเปรียบเทียบกับก่อนการทดลอง พบว่า คะแนนพฤติกรรมการดื่มสุรา
หลังการทดลองลดลงหลังการทดลองทันทีและระยะติดตามผล 1 เดือน 3 เดือน 6 เดือน และ 1 ปี อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P <.01)
ข้อเสนอแนะ:โปรแกรมนี้สามารถช่วยให้ผู้ที่ติดสุราลดและเลิกการดื่มสุราได้อย่าง
ต่อเนื่อง ดังนั้นบุคลากรสาธารณสุขควรนำโปรแกรมนี้ไปประยุกต์ใช้ในการบำบัดผู้ติดสุรา
และควรมีการสร้างระบบการติดตามระยะยาวโดยครอบครัว ผู้ดูแล และแกนนำชุมชนLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27043 การประยุกต์ใช้การบำบัดแบบมุ่งเน้นคำตอบ / ชฎาภา ประเสริฐทรง in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 ([09/07/2015])
[article]
Title : การประยุกต์ใช้การบำบัดแบบมุ่งเน้นคำตอบ : ในการพยาบาลครอบครัว Original title : The applied solution focused brief therapy in family nursing Material Type: printed text Authors: ชฎาภา ประเสริฐทรง, Author Publication Date: 2015 Article on page: p1-7 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 [09/07/2015] . - p1-7Keywords: การบำบัดแบบย่อที่มุ่งเน้นคำตอบ.การพยาบาลครอบครัว. Abstract: วัตถุประสงค์เพื่อนำการบำบัดแบบย่อที่มุ่งเน้นคำตอบมาประยุกต์ใช้ในการสื่อสารเพื่อการบำบัดในการพยาบาลครอบครัว โดยการนำเทคนิคคำถาม 3 ประการ ได้แก่ 1. คำถามปาฎิหารย์ 2. ข้อยกเว้น และ 3. คำถามที่มีระดับประเมินผล ซึ่งหากพยาบาลวิชาชีพได้ฝึกใช้จนชำนาญเป็นทักษะจะทำให้การพยาบาลครอบครัวมีประสิทธิภาพ เกิดประโยชน์ต่อผู้ป่วย และครอบครัวอย่างแท้จริง Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24935 [article] การประยุกต์ใช้การบำบัดแบบมุ่งเน้นคำตอบ = The applied solution focused brief therapy in family nursing : ในการพยาบาลครอบครัว [printed text] / ชฎาภา ประเสริฐทรง, Author . - 2015 . - p1-7.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 [09/07/2015] . - p1-7Keywords: การบำบัดแบบย่อที่มุ่งเน้นคำตอบ.การพยาบาลครอบครัว. Abstract: วัตถุประสงค์เพื่อนำการบำบัดแบบย่อที่มุ่งเน้นคำตอบมาประยุกต์ใช้ในการสื่อสารเพื่อการบำบัดในการพยาบาลครอบครัว โดยการนำเทคนิคคำถาม 3 ประการ ได้แก่ 1. คำถามปาฎิหารย์ 2. ข้อยกเว้น และ 3. คำถามที่มีระดับประเมินผล ซึ่งหากพยาบาลวิชาชีพได้ฝึกใช้จนชำนาญเป็นทักษะจะทำให้การพยาบาลครอบครัวมีประสิทธิภาพ เกิดประโยชน์ต่อผู้ป่วย และครอบครัวอย่างแท้จริง Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24935 การเลิกเสพยาบ้าซ้ำ / ชาตรี ชัยนาคิน in วารสารเกื้อการุณย์, Vol.23 No.2 (Jul-Dec) 2016/59 ([05/17/2017])
[article]
Title : การเลิกเสพยาบ้าซ้ำ : กรณีศึกษาผู้ผ่านการบำบัดฟื้นฟูสมรรถภาพผู้เสพยาเสพติดค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยวิธีชุมชนบำบัด Original title : Study of repeated amphatamine addiction a case study of rehabilitated persons in behavior modification camp by the therapeutic community method Material Type: printed text Authors: ชาตรี ชัยนาคิน, Author ; ชาตรี ประชาพิพัฒ, Author ; อารี พุมประโยชน์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.248-262 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.23 No.2 (Jul-Dec) 2016/59 [05/17/2017] . - p.248-262Keywords: การเลิกเสพยาบ้าซ้ำ.การบำบัดฟื้นฟูสมรรถภาพ.ผู้เสพยาเสพติด.ค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรม.ชุมชนบำบัด. Link for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26787 [article] การเลิกเสพยาบ้าซ้ำ = Study of repeated amphatamine addiction a case study of rehabilitated persons in behavior modification camp by the therapeutic community method : กรณีศึกษาผู้ผ่านการบำบัดฟื้นฟูสมรรถภาพผู้เสพยาเสพติดค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยวิธีชุมชนบำบัด [printed text] / ชาตรี ชัยนาคิน, Author ; ชาตรี ประชาพิพัฒ, Author ; อารี พุมประโยชน์, Author . - 2017 . - p.248-262.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)ความสัีมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านครอบครัวและการปฎิบัติของครอบครัว / สำเนา มากแบน / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2542
Title : ความสัีมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านครอบครัวและการปฎิบัติของครอบครัว : กับลักษณะของวัยรุ่นที่เข้ารับการบำำบัดในแผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลธัญญารักษ์ Original title : Relationships between family factors and family task with amphetamine addiction characteristics of adolescents attending out patient department Thanyalak hospital Material Type: printed text Authors: สำเนา มากแบน, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2542 Pagination: ฐ, 154 แผ่น Layout: ตารางประกอบ Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-333-306-1 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]]-จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2542. Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การใช้ยาในทางที่ผิด -- การรักษา
[LCSH]ครอบครัวบำบัด
[LCSH]ผู้ป่วยนอก -- การบำบัดรักษา
[LCSH]วัยรุ่น -- ยาเสพติด
[LCSH]วิทยานิพนธ์
[LCSH]แอมฟิตะมิน
[LCSH]แอมฟิตะมิน -- การบำบัดรักษา
[LCSH]โรงพยาบาลธัญญารักษ์Keywords: วิทยานิพนธ์.
แอมฟิตะมิน.
การบำบัดรักษา.Class number: HV5822 .A5 ส821 2542 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23113 ความสัีมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านครอบครัวและการปฎิบัติของครอบครัว = Relationships between family factors and family task with amphetamine addiction characteristics of adolescents attending out patient department Thanyalak hospital : กับลักษณะของวัยรุ่นที่เข้ารับการบำำบัดในแผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลธัญญารักษ์ [printed text] / สำเนา มากแบน, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542 . - ฐ, 154 แผ่น : ตารางประกอบ ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-333-306-1 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]]-จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2542.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การใช้ยาในทางที่ผิด -- การรักษา
[LCSH]ครอบครัวบำบัด
[LCSH]ผู้ป่วยนอก -- การบำบัดรักษา
[LCSH]วัยรุ่น -- ยาเสพติด
[LCSH]วิทยานิพนธ์
[LCSH]แอมฟิตะมิน
[LCSH]แอมฟิตะมิน -- การบำบัดรักษา
[LCSH]โรงพยาบาลธัญญารักษ์Keywords: วิทยานิพนธ์.
แอมฟิตะมิน.
การบำบัดรักษา.Class number: HV5822 .A5 ส821 2542 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23113 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354371 HV5822 .A5 ส821 2542 Thesis Main Library Thesis Corner Available ผลของกลุ่มบำบัดทางพฤติกรรมต่อการบริโภคแอลกอฮอล์ ของผู้ป่วยจิตเภทที่ใช้แอลกอฮอล์ / พุฒิชาดา จันทะคุณ in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, Vol.31 No.1 (Jan-Apr) 2017/2560 ([11/08/2017])
[article]
Title : ผลของกลุ่มบำบัดทางพฤติกรรมต่อการบริโภคแอลกอฮอล์ ของผู้ป่วยจิตเภทที่ใช้แอลกอฮอล์ : The effect of group behavioral intervention on alcohol consumption of schizophrenic patients with alcohol abuse HOL ABUSE Material Type: printed text Authors: พุฒิชาดา จันทะคุณ, Author ; เพ็ญพักตร์ อุทิศ, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.88-103 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.31 No.1 (Jan-Apr) 2017/2560 [11/08/2017] . - p.88-103Keywords: การบริโภคแอลกอฮอล์. การบำบัดทาง. พฤติกรรมผู้ป่วยจิตเภท. ผู้ป่วยจิตเภทที่ใช้แอลกอฮอล์.Alcohol consumption. Behavioral intervention. Schizophrenic Patients.Schizophrenic Patients with alcohol abuse. Abstract: Objectives: The purpose of this quasi –experimental research using the pretest – posttest
randomized control group design were: 1) to compare the alcohol consumption of schizophrenic patients with alcohol abuse before and after received the group behavioral intervention, and 2) to compare the alcohol consumption of schizophrenic patients with alcohol abuse who received the group behavioral intervention and those who received regular caring activities.
Methods: The sample composed of 40 schizophrenic patients with alcohol abuse, residing in community, who sought for services at outpatient department of one psychiatric hospital. They were matched pairs according to alcohol consumption scores and length of diagnosis with schizophrenia and then randomly assigned into either experimental or control group, 20 subjects in each group. The experimental group received the group behavioral intervention program developed by the researcher. The control group received regular caring activities. The research instruments consisted of: 1) the group behavioral intervention program, 2) Demographic questionnaire, 3) the AUDIT scale, and 4) The coping scale. All instruments were validated for content validity by 5 professional experts. The reliability of the 3rd and 4th instruments were reported by Chronbach Alpha as of 0.82 and 0.86 respectively. The t-test was use in data analysis.
Results:
1. The alcohol consumption of schizophrenic patients with alcohol abuse after received the group behavioral intervention was lower than that before (t= 33.818, p < .05).
2. The alcohol consumption of schizophrenic patients with alcohol abuse after received the group behavioral treatment was lower than those who received the regular caring activities
(t =-7.185, p < .05).Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27474 [article] ผลของกลุ่มบำบัดทางพฤติกรรมต่อการบริโภคแอลกอฮอล์ ของผู้ป่วยจิตเภทที่ใช้แอลกอฮอล์ : The effect of group behavioral intervention on alcohol consumption of schizophrenic patients with alcohol abuse HOL ABUSE [printed text] / พุฒิชาดา จันทะคุณ, Author ; เพ็ญพักตร์ อุทิศ, Author . - 2017 . - p.88-103.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.31 No.1 (Jan-Apr) 2017/2560 [11/08/2017] . - p.88-103Keywords: การบริโภคแอลกอฮอล์. การบำบัดทาง. พฤติกรรมผู้ป่วยจิตเภท. ผู้ป่วยจิตเภทที่ใช้แอลกอฮอล์.Alcohol consumption. Behavioral intervention. Schizophrenic Patients.Schizophrenic Patients with alcohol abuse. Abstract: Objectives: The purpose of this quasi –experimental research using the pretest – posttest
randomized control group design were: 1) to compare the alcohol consumption of schizophrenic patients with alcohol abuse before and after received the group behavioral intervention, and 2) to compare the alcohol consumption of schizophrenic patients with alcohol abuse who received the group behavioral intervention and those who received regular caring activities.
Methods: The sample composed of 40 schizophrenic patients with alcohol abuse, residing in community, who sought for services at outpatient department of one psychiatric hospital. They were matched pairs according to alcohol consumption scores and length of diagnosis with schizophrenia and then randomly assigned into either experimental or control group, 20 subjects in each group. The experimental group received the group behavioral intervention program developed by the researcher. The control group received regular caring activities. The research instruments consisted of: 1) the group behavioral intervention program, 2) Demographic questionnaire, 3) the AUDIT scale, and 4) The coping scale. All instruments were validated for content validity by 5 professional experts. The reliability of the 3rd and 4th instruments were reported by Chronbach Alpha as of 0.82 and 0.86 respectively. The t-test was use in data analysis.
Results:
1. The alcohol consumption of schizophrenic patients with alcohol abuse after received the group behavioral intervention was lower than that before (t= 33.818, p < .05).
2. The alcohol consumption of schizophrenic patients with alcohol abuse after received the group behavioral treatment was lower than those who received the regular caring activities
(t =-7.185, p < .05).Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27474 ผลของโปรแกรมการบำบัดโดยการแก้ปัญหาต่อภาวะซึมเศร้าในผู้ป่วยโรคซึมเศร้า / ธวัชชัย พละศักดิ์ in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, Vol.31 No.1 (Jan-Apr) 2017/2560 ([11/08/2017])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมการบำบัดโดยการแก้ปัญหาต่อภาวะซึมเศร้าในผู้ป่วยโรคซึมเศร้า Original title : The effect of the problem solving therapy program on depression of patients with major depressivedioo Material Type: printed text Authors: ธวัชชัย พละศักดิ์, Author ; รังสิมันต์ สุนทรไชยา, Author ; รัชนีกร อุปเสน, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.60-74 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.31 No.1 (Jan-Apr) 2017/2560 [11/08/2017] . - p.60-74Keywords: การบำบัดโดยการแก้ปัญหา. ภาวะซึมเศร้า. โรคซึมเศร้า.roblem solving therapy. Depression. Major Depressive Disorder. Abstract: วัตถุประสงค์: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลอง มีวัตถุประสงค์ เพื่อเปรียบเทียบภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าก่อนและหลังการได้รับโปรแกรมการบำบัดโดยการแก้ปัญหา และเปรียบเทียบภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าที่ได้รับโปรแกรมการบำบัดโดยการแก้ปัญหากับกลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติ
วิธีการศึกษา: กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ป่วยโรคซึมเศร้าที่มารับการรักษาที่แผนกผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลพระศรีมหาโพธิ์ จำนวน 40 คน จับคู่ตามลักษณะที่คล้ายกัน ได้แก่ เพศ รายได้ และระดับภาวะซึมเศร้า แล้วสุ่มแยกเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 20 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ 1) โปรแกรมการบำบัดโดยการแก้ปัญหา 2) แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล 3)แบบประเมินภาวะซึมเศร้า 4) แบบสำรวจการแก้ปัญหา ซึ่งเครื่องมือที่ใช้ทั้งหมดผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา โดยผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 คน ค่าความเที่ยงของแบบประเมินภาวะซึมเศร้า และแบบสำรวจการแก้ปัญหา เท่ากับ .75 และ .78 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ยเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบที (t-test)
ผลการศึกษา:
1. ภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าหลังได้รับโปรแกรมการบำบัดโดยการแก้ปัญหาน้อยกว่าก่อนได้รับโปรแกรมการบำบัดโดยการแก้ปัญหา อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
2. ภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยโรคซึมเศร้ากลุ่มทดลองภายหลังได้รับโปรแกรมการบำบัดโดยการแก้ปัญหา น้อยกว่าผู้ป่วยโรคซึมเศร้าที่ได้รับการพยาบาลปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
สรุป: โปรแกรมการบำบัดโดยการแก้ปัญหาสามารถทำให้ภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าลดลงได้ในผู้ป่วยที่มีภาวะซึมเศร้าน้อยและปานกลาง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
Objective: The purpose of this experimental research were to compare depression of patient with major depressive disorder before and after receiving the problem solving therapy program; and to compare depression between the patients who received the problem solving therapy program and who received the routine nursing care.
Methods: A sample of 40 patients with major depressive disorder was received treatment at the out patients of Prasrimahabhodi Psychiatric Hospital. Matched pair characteristics of gender personal and levels of depression income were randomly assigned into the experimental and the control group. The research instruments were 1) Problem Solving Therapy Program 2) Personal data questionnaire 3) Beck Depression Inventory 4) Problem Solving Inventory. These instruments were tested for content validity by five professional experts. The reliability of Beck Depression Inventory and Problem Solving Inventoy was .75 and .78. Data were analyzed by using mean, standard deviation and t - test.
Results:
1. Depression of the patients with major depressive disorder after receive the problem solving therapy program was statistically significantly less than before at the level of .05.
2. Depression of the patients with major depressive disorder after receive the problem solving therapy program was statistically significantly less than those who received routine nursing care at the level of .05.
Conclusion: Problem Solving Therapy Program can reduce level of depression in patients with mild and moderate major depressive disorder.
Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27472 [article] ผลของโปรแกรมการบำบัดโดยการแก้ปัญหาต่อภาวะซึมเศร้าในผู้ป่วยโรคซึมเศร้า = The effect of the problem solving therapy program on depression of patients with major depressivedioo [printed text] / ธวัชชัย พละศักดิ์, Author ; รังสิมันต์ สุนทรไชยา, Author ; รัชนีกร อุปเสน, Author . - 2017 . - p.60-74.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.31 No.1 (Jan-Apr) 2017/2560 [11/08/2017] . - p.60-74Keywords: การบำบัดโดยการแก้ปัญหา. ภาวะซึมเศร้า. โรคซึมเศร้า.roblem solving therapy. Depression. Major Depressive Disorder. Abstract: วัตถุประสงค์: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลอง มีวัตถุประสงค์ เพื่อเปรียบเทียบภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าก่อนและหลังการได้รับโปรแกรมการบำบัดโดยการแก้ปัญหา และเปรียบเทียบภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าที่ได้รับโปรแกรมการบำบัดโดยการแก้ปัญหากับกลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติ
วิธีการศึกษา: กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ป่วยโรคซึมเศร้าที่มารับการรักษาที่แผนกผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลพระศรีมหาโพธิ์ จำนวน 40 คน จับคู่ตามลักษณะที่คล้ายกัน ได้แก่ เพศ รายได้ และระดับภาวะซึมเศร้า แล้วสุ่มแยกเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 20 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ 1) โปรแกรมการบำบัดโดยการแก้ปัญหา 2) แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล 3)แบบประเมินภาวะซึมเศร้า 4) แบบสำรวจการแก้ปัญหา ซึ่งเครื่องมือที่ใช้ทั้งหมดผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา โดยผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 คน ค่าความเที่ยงของแบบประเมินภาวะซึมเศร้า และแบบสำรวจการแก้ปัญหา เท่ากับ .75 และ .78 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าเฉลี่ยเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบที (t-test)
ผลการศึกษา:
1. ภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าหลังได้รับโปรแกรมการบำบัดโดยการแก้ปัญหาน้อยกว่าก่อนได้รับโปรแกรมการบำบัดโดยการแก้ปัญหา อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
2. ภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยโรคซึมเศร้ากลุ่มทดลองภายหลังได้รับโปรแกรมการบำบัดโดยการแก้ปัญหา น้อยกว่าผู้ป่วยโรคซึมเศร้าที่ได้รับการพยาบาลปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
สรุป: โปรแกรมการบำบัดโดยการแก้ปัญหาสามารถทำให้ภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าลดลงได้ในผู้ป่วยที่มีภาวะซึมเศร้าน้อยและปานกลาง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
Objective: The purpose of this experimental research were to compare depression of patient with major depressive disorder before and after receiving the problem solving therapy program; and to compare depression between the patients who received the problem solving therapy program and who received the routine nursing care.
Methods: A sample of 40 patients with major depressive disorder was received treatment at the out patients of Prasrimahabhodi Psychiatric Hospital. Matched pair characteristics of gender personal and levels of depression income were randomly assigned into the experimental and the control group. The research instruments were 1) Problem Solving Therapy Program 2) Personal data questionnaire 3) Beck Depression Inventory 4) Problem Solving Inventory. These instruments were tested for content validity by five professional experts. The reliability of Beck Depression Inventory and Problem Solving Inventoy was .75 and .78. Data were analyzed by using mean, standard deviation and t - test.
Results:
1. Depression of the patients with major depressive disorder after receive the problem solving therapy program was statistically significantly less than before at the level of .05.
2. Depression of the patients with major depressive disorder after receive the problem solving therapy program was statistically significantly less than those who received routine nursing care at the level of .05.
Conclusion: Problem Solving Therapy Program can reduce level of depression in patients with mild and moderate major depressive disorder.
Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27472 รายงานการวิจัยเรื่อง การรับรู้ต่อการบำบัดรักษาของผู้ป่วยชาวเขาที่เสพติดฝิ่น / สลินดา แวงสูงเนิน / โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข - 2544
Title : รายงานการวิจัยเรื่อง การรับรู้ต่อการบำบัดรักษาของผู้ป่วยชาวเขาที่เสพติดฝิ่น Material Type: printed text Authors: สลินดา แวงสูงเนิน, Author ; ธัญญารัตน์ ขจัดพาล, Author Publisher: โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข Publication Date: 2544 Pagination: 56 แผ่น. Layout: ตาราง. Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-774-017-6 Price: บริจาค. Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ผู้ป่วย -- ยาเสพติด -- การบำบัด
[LCSH]ฝิ่น --ไทย -- แม่ฮ่องสอน
[LCSH]พฤติกรรมการใช้สารเสพติดประเภทฝิ่น -- ไทย --แม่ฮ่องสอนKeywords: การบำบัด.
ฝิ่น.
ผู้ป่วย.
ชาวเขา.Class number: HV5840 ส873 2544 Abstract: การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพมีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาสาเหตุและปัจจัยที่ทำให้ผู้ป่วยชาวเขาเสพติดฝิ่นและศึกษาการรับรู้ต่อการบำบัดรักษาของผู้ป่วยชาวเขาที่เสพติดฝิ่นกลุ่มตัวอย่างที่ศึกกษาเป็นผู้ป่วยชาวเขาเสพติดฝิ่นที่เข้ารับการบำบัดรักษาที่ศูนย์บำบัดรักษายาเสพติดจังแม่ฮ่องสอน จำนวน 7 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึก โดยใช้แนวคำถามสัมภาษณ์ ระหว่างเดือนเมษายน-พฤษภาคม 2544
ผลการศึกษาพบว่า สาเหตุสำคัญที่ทำให้ชาวเขาเสพติดฝิ่น คือ การใช้เพื่อบรรเทาความเจ็บป่วยและอาการไม่สุขสาบ โดยได้รับการถ่ายทอดความรู้และวิธีการมาตั้งแต่อดีต เนื่องจากการเดินทางเพื่อรักษาตัวจากเจ้าหน้าที่สาธารณสุขไม่สะดวกและต้องใช้เวลาในการเดินทางมากและเชือว่าการใช้ฝิ่นเป็นยารักษาโรคไม่ก่อให้เกิดการเสพติดและไม่เป็นอันตรายต่อร่างกาย นอกจากนั้นยังพบว่า ฝิ่นมีส่วนช่วยให้ทำงานได้มากขึ้น และยังใช้จำหน่ายเป็นรายได้เพิ่มเติม ทำให้อยู่ใกล้ชิดกับฝิ่นจึงเสพฝิ่น และสาเหตุประการสุดท้ายคือ การถูกชักจูงจากเพื่อนฝูงทำให้ลอง จนติดฝิ่นในที่สุด
ส่วนการรับรู้เกี่ยวกับฝิ่น พบว่าชาวเขารับรู้เกี่ยวกับฝิ่นใน 2 ทาง คือ มองว่าฝิ่นมีประโยชน์ต่อตนเองในการรักษาโรคและช่วยให้ทำงานได้ อีกทางหนึ่งคือ รับรู้ว่าฝิ่นมีโทษทั้งต่อตนเอง ครอบครัว และสังคม การรับรู้เกี่ยวกับการบำบัดรักษาที่ศูนย์บำบัดรักษายาเสพติดจังหวัดแม่ฮ่องสอน พบว่าชาวเขามีความต้องการและตั้งใจเลิกยาเสพติดนั้นจะรับรู้ต่อการบำบัดรักษาในทางที่ดี มีความตั้งใจในการรักษา โดยให้ความร่วมมือและเห็นประโยชน์ในการทำกิจกรรมต่าง ๆ และนำไปประยุกต์ใช้กับตนเองได้ ส่วนชาวเขาที่ไม่สมัครใจมารักษา พบว่าส่วนใหญ่ถูกบังคับและกึ่งบังคับให้มารักษาตัวอยู่ที่ศูนย์ ชาวเขากลุ่มนี้จะรับรู้ต่อการบำบัดรักษาในทางทีไม่ดี เพราะคิดว่ามาอยู่ที่ศูนย์ เพื่อให้พ้นความผิดเท่านั้น และมีพฤติกรรมไม่ให้่ความร่วมมือในการทำกิจกรรมต่าง ๆ ของศูนย์ที่กำหนดให้ ประการสำคัญมีแนวโน้มเมื่อสิ้นสุดการรักษาแล้วนี้จะกลับไปเสพซ้ำอีกซึ่งส่วนใหญ่ทำให้การรักษาไม่ได้ผล ดังนั้นข้อเสนอแนะของผู้วิจัยพบว่า หากต้องการให้ชาวเขาเลิกฝิ่นได้อย่างเด็ดขาดโดยไม่กลับไปเสพซ้ำ จึงควรเริ่มจากการเตรียมตัวให้ชาวเขามีความพร้อมก่อนเข้ารับการรักษา โดยใช้วิธีต่าง ๆ นับตั้งแต่การพูดคุยให้เข้าใจประโยชน์ของการเลิกฝิ่นอย่างแท้จริง และมีการเตรียมความพร้อมก่อนกลับบ้่าน โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขทุกระดับหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรให้ความรู้ในการดูแลสุขภาพของตนเองเบื้องต้น เมื่อเกิดความเจ็บป่้วยซึ่งส่งผลให้ชาวเขากลับไปใช้ฝิ่นเพื่อรักษาความเจ็บป่วยตนเอง ทำให้เลิกเสพฝิ่นไม่ได้่Curricular : BALA/BNS/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23295 รายงานการวิจัยเรื่อง การรับรู้ต่อการบำบัดรักษาของผู้ป่วยชาวเขาที่เสพติดฝิ่น [printed text] / สลินดา แวงสูงเนิน, Author ; ธัญญารัตน์ ขจัดพาล, Author . - [S.l.] : โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข, 2544 . - 56 แผ่น. : ตาราง. ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-774-017-6 : บริจาค.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ผู้ป่วย -- ยาเสพติด -- การบำบัด
[LCSH]ฝิ่น --ไทย -- แม่ฮ่องสอน
[LCSH]พฤติกรรมการใช้สารเสพติดประเภทฝิ่น -- ไทย --แม่ฮ่องสอนKeywords: การบำบัด.
ฝิ่น.
ผู้ป่วย.
ชาวเขา.Class number: HV5840 ส873 2544 Abstract: การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพมีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาสาเหตุและปัจจัยที่ทำให้ผู้ป่วยชาวเขาเสพติดฝิ่นและศึกษาการรับรู้ต่อการบำบัดรักษาของผู้ป่วยชาวเขาที่เสพติดฝิ่นกลุ่มตัวอย่างที่ศึกกษาเป็นผู้ป่วยชาวเขาเสพติดฝิ่นที่เข้ารับการบำบัดรักษาที่ศูนย์บำบัดรักษายาเสพติดจังแม่ฮ่องสอน จำนวน 7 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึก โดยใช้แนวคำถามสัมภาษณ์ ระหว่างเดือนเมษายน-พฤษภาคม 2544
ผลการศึกษาพบว่า สาเหตุสำคัญที่ทำให้ชาวเขาเสพติดฝิ่น คือ การใช้เพื่อบรรเทาความเจ็บป่วยและอาการไม่สุขสาบ โดยได้รับการถ่ายทอดความรู้และวิธีการมาตั้งแต่อดีต เนื่องจากการเดินทางเพื่อรักษาตัวจากเจ้าหน้าที่สาธารณสุขไม่สะดวกและต้องใช้เวลาในการเดินทางมากและเชือว่าการใช้ฝิ่นเป็นยารักษาโรคไม่ก่อให้เกิดการเสพติดและไม่เป็นอันตรายต่อร่างกาย นอกจากนั้นยังพบว่า ฝิ่นมีส่วนช่วยให้ทำงานได้มากขึ้น และยังใช้จำหน่ายเป็นรายได้เพิ่มเติม ทำให้อยู่ใกล้ชิดกับฝิ่นจึงเสพฝิ่น และสาเหตุประการสุดท้ายคือ การถูกชักจูงจากเพื่อนฝูงทำให้ลอง จนติดฝิ่นในที่สุด
ส่วนการรับรู้เกี่ยวกับฝิ่น พบว่าชาวเขารับรู้เกี่ยวกับฝิ่นใน 2 ทาง คือ มองว่าฝิ่นมีประโยชน์ต่อตนเองในการรักษาโรคและช่วยให้ทำงานได้ อีกทางหนึ่งคือ รับรู้ว่าฝิ่นมีโทษทั้งต่อตนเอง ครอบครัว และสังคม การรับรู้เกี่ยวกับการบำบัดรักษาที่ศูนย์บำบัดรักษายาเสพติดจังหวัดแม่ฮ่องสอน พบว่าชาวเขามีความต้องการและตั้งใจเลิกยาเสพติดนั้นจะรับรู้ต่อการบำบัดรักษาในทางที่ดี มีความตั้งใจในการรักษา โดยให้ความร่วมมือและเห็นประโยชน์ในการทำกิจกรรมต่าง ๆ และนำไปประยุกต์ใช้กับตนเองได้ ส่วนชาวเขาที่ไม่สมัครใจมารักษา พบว่าส่วนใหญ่ถูกบังคับและกึ่งบังคับให้มารักษาตัวอยู่ที่ศูนย์ ชาวเขากลุ่มนี้จะรับรู้ต่อการบำบัดรักษาในทางทีไม่ดี เพราะคิดว่ามาอยู่ที่ศูนย์ เพื่อให้พ้นความผิดเท่านั้น และมีพฤติกรรมไม่ให้่ความร่วมมือในการทำกิจกรรมต่าง ๆ ของศูนย์ที่กำหนดให้ ประการสำคัญมีแนวโน้มเมื่อสิ้นสุดการรักษาแล้วนี้จะกลับไปเสพซ้ำอีกซึ่งส่วนใหญ่ทำให้การรักษาไม่ได้ผล ดังนั้นข้อเสนอแนะของผู้วิจัยพบว่า หากต้องการให้ชาวเขาเลิกฝิ่นได้อย่างเด็ดขาดโดยไม่กลับไปเสพซ้ำ จึงควรเริ่มจากการเตรียมตัวให้ชาวเขามีความพร้อมก่อนเข้ารับการรักษา โดยใช้วิธีต่าง ๆ นับตั้งแต่การพูดคุยให้เข้าใจประโยชน์ของการเลิกฝิ่นอย่างแท้จริง และมีการเตรียมความพร้อมก่อนกลับบ้่าน โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขทุกระดับหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรให้ความรู้ในการดูแลสุขภาพของตนเองเบื้องต้น เมื่อเกิดความเจ็บป่้วยซึ่งส่งผลให้ชาวเขากลับไปใช้ฝิ่นเพื่อรักษาความเจ็บป่วยตนเอง ทำให้เลิกเสพฝิ่นไม่ได้่Curricular : BALA/BNS/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23295 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000355196 THE HV5840 ส873 2544 Thesis Main Library Thesis Corner Available รายงานการวิจัยเรื่อง การรับรู้และการช่วยเหลือของพ่อแม่ที่มีบุตรชายวัยรุ่นเสพติดยาบ้า / วันเพ็ญ ใจปทุม / โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข - 2544
Title : รายงานการวิจัยเรื่อง การรับรู้และการช่วยเหลือของพ่อแม่ที่มีบุตรชายวัยรุ่นเสพติดยาบ้า Material Type: printed text Authors: วันเพ็ญ ใจปทุม, Author ; สุภาริณีย์ สายแสงทอง, Author ; ศศลักษณ์ กล้าไพรี, Author Publisher: โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข Publication Date: 2544 Pagination: 63 หน้า. Layout: ตารางประกอบ. Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-774-028-1 Price: บริจาค. Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]พฤติกรรมการใช้สารเสพติดประเภทยาบ้า -- ไทย
[LCSH]ยาบ้า -- การบำบัีด
[LCSH]ยาบ้า -- การเสพติดKeywords: การรับรู้.
วัยรุ่นชาย.
การเสพยา.Class number: HV5840 ว715 2544 Abstract: เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา คือพ่อ แม่ที่มีบุตรชายวัยรุ่นเสพติดยาบ้า อายุระหว่าง 15-19 ปี ตึกโกเมน โรงพยาบาลธัญญารักษ์ จำนวน 20 คน โดยวิธีการสัมภาษณ์เชิงลึก แบบกึ่งโครงสร้าง เป็นรายบุคคลโดยการสัมภาษณ์พร้อมกับทั้งพ่อและแม่ เพื่อให้ได้ข้อมูลเป็นจริงและการใช้คำถามเดียวกันทั้งพ่อแม่ที่บ่งบอกถึงการรับรู้ การให้ความหมายเกี่ยวกับยาบ้าและพฤติกรรมการช่วยเหลือของพ่อแม่ที่แตกต่างกันออกไป ข้อมูลที่ได้จ้ากการสัมภาษณ์นำมาประมวล และวิเคราะห์เพื่อหาคำอธิบายพฤติกรรมที่เกิดขึ้น
ผลจากการศึกษาพบว่า การรับรู้ของพ่อแม่เกี่ยวกับความหมายของยาบ้า พ่อ แม่ให้ความหมายของยาบ้าในทางที่ไม่ดี คือ ยาบ้าเมื่อเสพเข้าไปแล้วทำให้เกิดผลกระทบทั้งต่อร่างกายและจิตใจ พฤติกรรมทำให้สังคมไม่ยอมนับ ส่วนความหมายของยาบ้าในทางที่ดี คือ ใช้แล้วขยันทำงาน ไม่หลับ ร่างกายกระปรี้ กระเปร่า ซึ่งพ่อบางคนรับรู้โดยประสบการณ์ตรง คือ การทดลองใช้ และมีแม่บางรายไม่สามารถบอกความหมายของยาบ้าได้ เนื่องจากไม่ทราบ หรือรู้จักมาก่อน
การรับรู้ว่าลูกติดยาบ้าของพ่อแม่ รับรู้โดยการสังเกตจาก อาการทางร่างกาย จิตใจ และพฤติกรรม มีผู้อื่นมาบอก เช่น ครู และเพื่อนบ้าน จึงทราบว่าลูกเสพยาบ้า
ความรู้สึกของพ่อแม่เมื่อรู้ว่าลูกติดยา ความรู้สึกแรกที่พบ คือ รู้สึกเสียใจมาก บางรายโกรธถึงขั้นทุบตีลูก โทษตนเองว่าดูแลลูกไม่ดี น้อยใจที่ลูกไม่เชื่อฟัง รู้สึกท้อแท้กลัวลูกจะรักษาไมาหาย อายกลัวเสียชื่อเสียง
การค้นหาสาเหตุ จากการศึกษาพบว่า สาเหตุที่ทำให้ลูกติดยาคือ การคบเพื่อนที่ติดยาเสพติด และพฤติกรรมเกเร มีสมาชิกในครอบครัวที่ติดยาบ้า จึงมีพฤติกรรมที่เลียนแบบ ติดจาการมีโรคประจำตัว มีปมด้อย เช่น หอบหืด ชัก พ่อแม่ไม่เข้าใจลูกไม่ฟังเหตุผล พ่อแม่ไม่มีเวลาดูลูก ให้เงินลูกมากเกินไป อุปนิสัยของลูกชอบประชด พ่อแม่ตามใจ หรือบีบบังคับมากเกินไปCurricular : BALA/BNS/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23300 รายงานการวิจัยเรื่อง การรับรู้และการช่วยเหลือของพ่อแม่ที่มีบุตรชายวัยรุ่นเสพติดยาบ้า [printed text] / วันเพ็ญ ใจปทุม, Author ; สุภาริณีย์ สายแสงทอง, Author ; ศศลักษณ์ กล้าไพรี, Author . - [S.l.] : โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข, 2544 . - 63 หน้า. : ตารางประกอบ. ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-774-028-1 : บริจาค.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]พฤติกรรมการใช้สารเสพติดประเภทยาบ้า -- ไทย
[LCSH]ยาบ้า -- การบำบัีด
[LCSH]ยาบ้า -- การเสพติดKeywords: การรับรู้.
วัยรุ่นชาย.
การเสพยา.Class number: HV5840 ว715 2544 Abstract: เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา คือพ่อ แม่ที่มีบุตรชายวัยรุ่นเสพติดยาบ้า อายุระหว่าง 15-19 ปี ตึกโกเมน โรงพยาบาลธัญญารักษ์ จำนวน 20 คน โดยวิธีการสัมภาษณ์เชิงลึก แบบกึ่งโครงสร้าง เป็นรายบุคคลโดยการสัมภาษณ์พร้อมกับทั้งพ่อและแม่ เพื่อให้ได้ข้อมูลเป็นจริงและการใช้คำถามเดียวกันทั้งพ่อแม่ที่บ่งบอกถึงการรับรู้ การให้ความหมายเกี่ยวกับยาบ้าและพฤติกรรมการช่วยเหลือของพ่อแม่ที่แตกต่างกันออกไป ข้อมูลที่ได้จ้ากการสัมภาษณ์นำมาประมวล และวิเคราะห์เพื่อหาคำอธิบายพฤติกรรมที่เกิดขึ้น
ผลจากการศึกษาพบว่า การรับรู้ของพ่อแม่เกี่ยวกับความหมายของยาบ้า พ่อ แม่ให้ความหมายของยาบ้าในทางที่ไม่ดี คือ ยาบ้าเมื่อเสพเข้าไปแล้วทำให้เกิดผลกระทบทั้งต่อร่างกายและจิตใจ พฤติกรรมทำให้สังคมไม่ยอมนับ ส่วนความหมายของยาบ้าในทางที่ดี คือ ใช้แล้วขยันทำงาน ไม่หลับ ร่างกายกระปรี้ กระเปร่า ซึ่งพ่อบางคนรับรู้โดยประสบการณ์ตรง คือ การทดลองใช้ และมีแม่บางรายไม่สามารถบอกความหมายของยาบ้าได้ เนื่องจากไม่ทราบ หรือรู้จักมาก่อน
การรับรู้ว่าลูกติดยาบ้าของพ่อแม่ รับรู้โดยการสังเกตจาก อาการทางร่างกาย จิตใจ และพฤติกรรม มีผู้อื่นมาบอก เช่น ครู และเพื่อนบ้าน จึงทราบว่าลูกเสพยาบ้า
ความรู้สึกของพ่อแม่เมื่อรู้ว่าลูกติดยา ความรู้สึกแรกที่พบ คือ รู้สึกเสียใจมาก บางรายโกรธถึงขั้นทุบตีลูก โทษตนเองว่าดูแลลูกไม่ดี น้อยใจที่ลูกไม่เชื่อฟัง รู้สึกท้อแท้กลัวลูกจะรักษาไมาหาย อายกลัวเสียชื่อเสียง
การค้นหาสาเหตุ จากการศึกษาพบว่า สาเหตุที่ทำให้ลูกติดยาคือ การคบเพื่อนที่ติดยาเสพติด และพฤติกรรมเกเร มีสมาชิกในครอบครัวที่ติดยาบ้า จึงมีพฤติกรรมที่เลียนแบบ ติดจาการมีโรคประจำตัว มีปมด้อย เช่น หอบหืด ชัก พ่อแม่ไม่เข้าใจลูกไม่ฟังเหตุผล พ่อแม่ไม่มีเวลาดูลูก ให้เงินลูกมากเกินไป อุปนิสัยของลูกชอบประชด พ่อแม่ตามใจ หรือบีบบังคับมากเกินไปCurricular : BALA/BNS/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23300 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354892 HV5840 ว715 2544 Book Main Library General Shelf Available รายงานการวิจัยเรื่อง การรับรู้และการสนับสนุนของสมาชิกในครอบครัวให้ผู้เสพติดยาบ้า / อุไรวรรณ วงศ์พรประทีป / โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข - 2544
Title : รายงานการวิจัยเรื่อง การรับรู้และการสนับสนุนของสมาชิกในครอบครัวให้ผู้เสพติดยาบ้า : สมัครใจเข้ารับการบำบัดรักษาในโรงพยาบาลธัญญารักษ์ Material Type: printed text Authors: อุไรวรรณ วงศ์พรประทีป, Author ; อัมพร วิเศษชาติ, Author ; ราตรี หุ่นดี, Author Publisher: โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข Publication Date: 2544 Pagination: 48 แผ่น. Layout: ตารางประกอบ, แผนภูมิ Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-774-018-4 Price: บริจาค. Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ผู้ป่วย -- ยาเสพติด -- การบำบัด
[LCSH]พฤติกรรมการใช้สารเสพติดประเภทยาบ้า -- ไทย
[LCSH]ยาบ้า -- การเสพติดKeywords: ยาบ้า.
การเสพยา.
การบำบัด
การรักษา.Class number: WM270 อ949 2544 Abstract: การศึกษาครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพแบบปรากฎการณ์วิทยา โดยแบ่งการศึกษาออกเป็นการศึกษาค้นคว้าวิจัยจากเอกสารและงานวิจัย ผู้ศึกษาได้ออกแบบสอบถามให้ครอบคลุมเนื้อหา และสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการศึกษา ตลอดจนได้วิเคราะห์ข้อมูลโดยการจัดกลุ่ม และอภิปรายผลโดยการให้การพรรณาความประกอบ
ผลการศึกษาพบว่า ผู้เสพยาบ้าส่สนใหญ่ไม่ได้อาศัยอยู่บ้านเดียวกับผู้นำเข้ารัีบการบำบัดรักษา แสดงให้เห็นว่าการรับรู้ของบุคคลในครอบครัวที่มิใช่บิดา มารดา มีการแสดงออกของการรับรู้ การยอมรับในตัวผู้เสพยา และให้ความช่วยเหลือนำผู้เสพติดยาบ้าเข้ารับการบำบัดรักษาด้วยความสมัครใจดีกว่าบิดา มารดา ในกรณีที่ผู้เสพติดมีปัญหาทางด้านสัมพันธภาพในครอบครัว และการใช้สถานการณ์ที่สำคัญที่เกิดขึ้นกับตัวผู้เสพเป็นเครื่องมือในการนำไปสู่การตรวจหาสารเสพติดเพื่อยืนยันว่าผู้เสพมีการเสพยาเสพติด ทำให้ผู้เสพยายอมรับว่าเสพยาและสมาชิกในครอบครัวที่การนำผู้เสพยาบ้าสมัครใจเข้ารับการบำบัดส่วนใหญ่เป็นน้า ร้อยละ 50 และเป็นเพศหญิงร้อยละ 70
จากการศึกษาครั้งนี้ ผู้ศึุกษาได้ให้ข้อเสนอแนะว่า ควรมีการนำเอาสมาชิกในครอบครัวมาร่วมกันและเปลี่ยนแนวคิดในการที่จะะนำผู้เสพยาบ้าเข้าบำบัดรักษาด้วยความสมัครใจและช่วยประชาสัมพันธ์แก่ครอบครัวผู้เสพติดรายอื่นCurricular : BALA/BNS/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23302 รายงานการวิจัยเรื่อง การรับรู้และการสนับสนุนของสมาชิกในครอบครัวให้ผู้เสพติดยาบ้า : สมัครใจเข้ารับการบำบัดรักษาในโรงพยาบาลธัญญารักษ์ [printed text] / อุไรวรรณ วงศ์พรประทีป, Author ; อัมพร วิเศษชาติ, Author ; ราตรี หุ่นดี, Author . - [S.l.] : โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข, 2544 . - 48 แผ่น. : ตารางประกอบ, แผนภูมิ ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-774-018-4 : บริจาค.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ผู้ป่วย -- ยาเสพติด -- การบำบัด
[LCSH]พฤติกรรมการใช้สารเสพติดประเภทยาบ้า -- ไทย
[LCSH]ยาบ้า -- การเสพติดKeywords: ยาบ้า.
การเสพยา.
การบำบัด
การรักษา.Class number: WM270 อ949 2544 Abstract: การศึกษาครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพแบบปรากฎการณ์วิทยา โดยแบ่งการศึกษาออกเป็นการศึกษาค้นคว้าวิจัยจากเอกสารและงานวิจัย ผู้ศึกษาได้ออกแบบสอบถามให้ครอบคลุมเนื้อหา และสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการศึกษา ตลอดจนได้วิเคราะห์ข้อมูลโดยการจัดกลุ่ม และอภิปรายผลโดยการให้การพรรณาความประกอบ
ผลการศึกษาพบว่า ผู้เสพยาบ้าส่สนใหญ่ไม่ได้อาศัยอยู่บ้านเดียวกับผู้นำเข้ารัีบการบำบัดรักษา แสดงให้เห็นว่าการรับรู้ของบุคคลในครอบครัวที่มิใช่บิดา มารดา มีการแสดงออกของการรับรู้ การยอมรับในตัวผู้เสพยา และให้ความช่วยเหลือนำผู้เสพติดยาบ้าเข้ารับการบำบัดรักษาด้วยความสมัครใจดีกว่าบิดา มารดา ในกรณีที่ผู้เสพติดมีปัญหาทางด้านสัมพันธภาพในครอบครัว และการใช้สถานการณ์ที่สำคัญที่เกิดขึ้นกับตัวผู้เสพเป็นเครื่องมือในการนำไปสู่การตรวจหาสารเสพติดเพื่อยืนยันว่าผู้เสพมีการเสพยาเสพติด ทำให้ผู้เสพยายอมรับว่าเสพยาและสมาชิกในครอบครัวที่การนำผู้เสพยาบ้าสมัครใจเข้ารับการบำบัดส่วนใหญ่เป็นน้า ร้อยละ 50 และเป็นเพศหญิงร้อยละ 70
จากการศึกษาครั้งนี้ ผู้ศึุกษาได้ให้ข้อเสนอแนะว่า ควรมีการนำเอาสมาชิกในครอบครัวมาร่วมกันและเปลี่ยนแนวคิดในการที่จะะนำผู้เสพยาบ้าเข้าบำบัดรักษาด้วยความสมัครใจและช่วยประชาสัมพันธ์แก่ครอบครัวผู้เสพติดรายอื่นCurricular : BALA/BNS/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23302 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000355204 THE WM270 อ949 2544 Thesis Main Library Thesis Corner Available