From this page you can:
Home |
Search results
90 result(s) search for keyword(s) 'การบำบัด. ฝิ่น. ผู้ป่วย. ชาวเขา.'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
รายงานการวิจัยเรื่อง การรับรู้ต่อการบำบัดรักษาของผู้ป่วยชาวเขาที่เสพติดฝิ่น / สลินดา แวงสูงเนิน / โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข - 2544
Title : รายงานการวิจัยเรื่อง การรับรู้ต่อการบำบัดรักษาของผู้ป่วยชาวเขาที่เสพติดฝิ่น Material Type: printed text Authors: สลินดา แวงสูงเนิน, Author ; ธัญญารัตน์ ขจัดพาล, Author Publisher: โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข Publication Date: 2544 Pagination: 56 แผ่น. Layout: ตาราง. Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-774-017-6 Price: บริจาค. Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ผู้ป่วย -- ยาเสพติด -- การบำบัด
[LCSH]ฝิ่น --ไทย -- แม่ฮ่องสอน
[LCSH]พฤติกรรมการใช้สารเสพติดประเภทฝิ่น -- ไทย --แม่ฮ่องสอนKeywords: การบำบัด.
ฝิ่น.
ผู้ป่วย.
ชาวเขา.Class number: HV5840 ส873 2544 Abstract: การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพมีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาสาเหตุและปัจจัยที่ทำให้ผู้ป่วยชาวเขาเสพติดฝิ่นและศึกษาการรับรู้ต่อการบำบัดรักษาของผู้ป่วยชาวเขาที่เสพติดฝิ่นกลุ่มตัวอย่างที่ศึกกษาเป็นผู้ป่วยชาวเขาเสพติดฝิ่นที่เข้ารับการบำบัดรักษาที่ศูนย์บำบัดรักษายาเสพติดจังแม่ฮ่องสอน จำนวน 7 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึก โดยใช้แนวคำถามสัมภาษณ์ ระหว่างเดือนเมษายน-พฤษภาคม 2544
ผลการศึกษาพบว่า สาเหตุสำคัญที่ทำให้ชาวเขาเสพติดฝิ่น คือ การใช้เพื่อบรรเทาความเจ็บป่วยและอาการไม่สุขสาบ โดยได้รับการถ่ายทอดความรู้และวิธีการมาตั้งแต่อดีต เนื่องจากการเดินทางเพื่อรักษาตัวจากเจ้าหน้าที่สาธารณสุขไม่สะดวกและต้องใช้เวลาในการเดินทางมากและเชือว่าการใช้ฝิ่นเป็นยารักษาโรคไม่ก่อให้เกิดการเสพติดและไม่เป็นอันตรายต่อร่างกาย นอกจากนั้นยังพบว่า ฝิ่นมีส่วนช่วยให้ทำงานได้มากขึ้น และยังใช้จำหน่ายเป็นรายได้เพิ่มเติม ทำให้อยู่ใกล้ชิดกับฝิ่นจึงเสพฝิ่น และสาเหตุประการสุดท้ายคือ การถูกชักจูงจากเพื่อนฝูงทำให้ลอง จนติดฝิ่นในที่สุด
ส่วนการรับรู้เกี่ยวกับฝิ่น พบว่าชาวเขารับรู้เกี่ยวกับฝิ่นใน 2 ทาง คือ มองว่าฝิ่นมีประโยชน์ต่อตนเองในการรักษาโรคและช่วยให้ทำงานได้ อีกทางหนึ่งคือ รับรู้ว่าฝิ่นมีโทษทั้งต่อตนเอง ครอบครัว และสังคม การรับรู้เกี่ยวกับการบำบัดรักษาที่ศูนย์บำบัดรักษายาเสพติดจังหวัดแม่ฮ่องสอน พบว่าชาวเขามีความต้องการและตั้งใจเลิกยาเสพติดนั้นจะรับรู้ต่อการบำบัดรักษาในทางที่ดี มีความตั้งใจในการรักษา โดยให้ความร่วมมือและเห็นประโยชน์ในการทำกิจกรรมต่าง ๆ และนำไปประยุกต์ใช้กับตนเองได้ ส่วนชาวเขาที่ไม่สมัครใจมารักษา พบว่าส่วนใหญ่ถูกบังคับและกึ่งบังคับให้มารักษาตัวอยู่ที่ศูนย์ ชาวเขากลุ่มนี้จะรับรู้ต่อการบำบัดรักษาในทางทีไม่ดี เพราะคิดว่ามาอยู่ที่ศูนย์ เพื่อให้พ้นความผิดเท่านั้น และมีพฤติกรรมไม่ให้่ความร่วมมือในการทำกิจกรรมต่าง ๆ ของศูนย์ที่กำหนดให้ ประการสำคัญมีแนวโน้มเมื่อสิ้นสุดการรักษาแล้วนี้จะกลับไปเสพซ้ำอีกซึ่งส่วนใหญ่ทำให้การรักษาไม่ได้ผล ดังนั้นข้อเสนอแนะของผู้วิจัยพบว่า หากต้องการให้ชาวเขาเลิกฝิ่นได้อย่างเด็ดขาดโดยไม่กลับไปเสพซ้ำ จึงควรเริ่มจากการเตรียมตัวให้ชาวเขามีความพร้อมก่อนเข้ารับการรักษา โดยใช้วิธีต่าง ๆ นับตั้งแต่การพูดคุยให้เข้าใจประโยชน์ของการเลิกฝิ่นอย่างแท้จริง และมีการเตรียมความพร้อมก่อนกลับบ้่าน โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขทุกระดับหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรให้ความรู้ในการดูแลสุขภาพของตนเองเบื้องต้น เมื่อเกิดความเจ็บป่้วยซึ่งส่งผลให้ชาวเขากลับไปใช้ฝิ่นเพื่อรักษาความเจ็บป่วยตนเอง ทำให้เลิกเสพฝิ่นไม่ได้่Curricular : BALA/BNS/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23295 รายงานการวิจัยเรื่อง การรับรู้ต่อการบำบัดรักษาของผู้ป่วยชาวเขาที่เสพติดฝิ่น [printed text] / สลินดา แวงสูงเนิน, Author ; ธัญญารัตน์ ขจัดพาล, Author . - [S.l.] : โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข, 2544 . - 56 แผ่น. : ตาราง. ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-774-017-6 : บริจาค.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ผู้ป่วย -- ยาเสพติด -- การบำบัด
[LCSH]ฝิ่น --ไทย -- แม่ฮ่องสอน
[LCSH]พฤติกรรมการใช้สารเสพติดประเภทฝิ่น -- ไทย --แม่ฮ่องสอนKeywords: การบำบัด.
ฝิ่น.
ผู้ป่วย.
ชาวเขา.Class number: HV5840 ส873 2544 Abstract: การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพมีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาสาเหตุและปัจจัยที่ทำให้ผู้ป่วยชาวเขาเสพติดฝิ่นและศึกษาการรับรู้ต่อการบำบัดรักษาของผู้ป่วยชาวเขาที่เสพติดฝิ่นกลุ่มตัวอย่างที่ศึกกษาเป็นผู้ป่วยชาวเขาเสพติดฝิ่นที่เข้ารับการบำบัดรักษาที่ศูนย์บำบัดรักษายาเสพติดจังแม่ฮ่องสอน จำนวน 7 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึก โดยใช้แนวคำถามสัมภาษณ์ ระหว่างเดือนเมษายน-พฤษภาคม 2544
ผลการศึกษาพบว่า สาเหตุสำคัญที่ทำให้ชาวเขาเสพติดฝิ่น คือ การใช้เพื่อบรรเทาความเจ็บป่วยและอาการไม่สุขสาบ โดยได้รับการถ่ายทอดความรู้และวิธีการมาตั้งแต่อดีต เนื่องจากการเดินทางเพื่อรักษาตัวจากเจ้าหน้าที่สาธารณสุขไม่สะดวกและต้องใช้เวลาในการเดินทางมากและเชือว่าการใช้ฝิ่นเป็นยารักษาโรคไม่ก่อให้เกิดการเสพติดและไม่เป็นอันตรายต่อร่างกาย นอกจากนั้นยังพบว่า ฝิ่นมีส่วนช่วยให้ทำงานได้มากขึ้น และยังใช้จำหน่ายเป็นรายได้เพิ่มเติม ทำให้อยู่ใกล้ชิดกับฝิ่นจึงเสพฝิ่น และสาเหตุประการสุดท้ายคือ การถูกชักจูงจากเพื่อนฝูงทำให้ลอง จนติดฝิ่นในที่สุด
ส่วนการรับรู้เกี่ยวกับฝิ่น พบว่าชาวเขารับรู้เกี่ยวกับฝิ่นใน 2 ทาง คือ มองว่าฝิ่นมีประโยชน์ต่อตนเองในการรักษาโรคและช่วยให้ทำงานได้ อีกทางหนึ่งคือ รับรู้ว่าฝิ่นมีโทษทั้งต่อตนเอง ครอบครัว และสังคม การรับรู้เกี่ยวกับการบำบัดรักษาที่ศูนย์บำบัดรักษายาเสพติดจังหวัดแม่ฮ่องสอน พบว่าชาวเขามีความต้องการและตั้งใจเลิกยาเสพติดนั้นจะรับรู้ต่อการบำบัดรักษาในทางที่ดี มีความตั้งใจในการรักษา โดยให้ความร่วมมือและเห็นประโยชน์ในการทำกิจกรรมต่าง ๆ และนำไปประยุกต์ใช้กับตนเองได้ ส่วนชาวเขาที่ไม่สมัครใจมารักษา พบว่าส่วนใหญ่ถูกบังคับและกึ่งบังคับให้มารักษาตัวอยู่ที่ศูนย์ ชาวเขากลุ่มนี้จะรับรู้ต่อการบำบัดรักษาในทางทีไม่ดี เพราะคิดว่ามาอยู่ที่ศูนย์ เพื่อให้พ้นความผิดเท่านั้น และมีพฤติกรรมไม่ให้่ความร่วมมือในการทำกิจกรรมต่าง ๆ ของศูนย์ที่กำหนดให้ ประการสำคัญมีแนวโน้มเมื่อสิ้นสุดการรักษาแล้วนี้จะกลับไปเสพซ้ำอีกซึ่งส่วนใหญ่ทำให้การรักษาไม่ได้ผล ดังนั้นข้อเสนอแนะของผู้วิจัยพบว่า หากต้องการให้ชาวเขาเลิกฝิ่นได้อย่างเด็ดขาดโดยไม่กลับไปเสพซ้ำ จึงควรเริ่มจากการเตรียมตัวให้ชาวเขามีความพร้อมก่อนเข้ารับการรักษา โดยใช้วิธีต่าง ๆ นับตั้งแต่การพูดคุยให้เข้าใจประโยชน์ของการเลิกฝิ่นอย่างแท้จริง และมีการเตรียมความพร้อมก่อนกลับบ้่าน โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขทุกระดับหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรให้ความรู้ในการดูแลสุขภาพของตนเองเบื้องต้น เมื่อเกิดความเจ็บป่้วยซึ่งส่งผลให้ชาวเขากลับไปใช้ฝิ่นเพื่อรักษาความเจ็บป่วยตนเอง ทำให้เลิกเสพฝิ่นไม่ได้่Curricular : BALA/BNS/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23295 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000355196 THE HV5840 ส873 2544 Thesis Main Library Thesis Corner Available ผลของกลุ่มบำบัดทางพฤติกรรมต่อการบริโภคแอลกอฮอล์ ของผู้ป่วยจิตเภทที่ใช้แอลกอฮอล์ / พุฒิชาดา จันทะคุณ in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, Vol.31 No.1 (Jan-Apr) 2017/2560 ([11/08/2017])
[article]
Title : ผลของกลุ่มบำบัดทางพฤติกรรมต่อการบริโภคแอลกอฮอล์ ของผู้ป่วยจิตเภทที่ใช้แอลกอฮอล์ : The effect of group behavioral intervention on alcohol consumption of schizophrenic patients with alcohol abuse HOL ABUSE Material Type: printed text Authors: พุฒิชาดา จันทะคุณ, Author ; เพ็ญพักตร์ อุทิศ, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.88-103 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.31 No.1 (Jan-Apr) 2017/2560 [11/08/2017] . - p.88-103Keywords: การบริโภคแอลกอฮอล์. การบำบัดทาง. พฤติกรรมผู้ป่วยจิตเภท. ผู้ป่วยจิตเภทที่ใช้แอลกอฮอล์.Alcohol consumption. Behavioral intervention. Schizophrenic Patients.Schizophrenic Patients with alcohol abuse. Abstract: Objectives: The purpose of this quasi –experimental research using the pretest – posttest
randomized control group design were: 1) to compare the alcohol consumption of schizophrenic patients with alcohol abuse before and after received the group behavioral intervention, and 2) to compare the alcohol consumption of schizophrenic patients with alcohol abuse who received the group behavioral intervention and those who received regular caring activities.
Methods: The sample composed of 40 schizophrenic patients with alcohol abuse, residing in community, who sought for services at outpatient department of one psychiatric hospital. They were matched pairs according to alcohol consumption scores and length of diagnosis with schizophrenia and then randomly assigned into either experimental or control group, 20 subjects in each group. The experimental group received the group behavioral intervention program developed by the researcher. The control group received regular caring activities. The research instruments consisted of: 1) the group behavioral intervention program, 2) Demographic questionnaire, 3) the AUDIT scale, and 4) The coping scale. All instruments were validated for content validity by 5 professional experts. The reliability of the 3rd and 4th instruments were reported by Chronbach Alpha as of 0.82 and 0.86 respectively. The t-test was use in data analysis.
Results:
1. The alcohol consumption of schizophrenic patients with alcohol abuse after received the group behavioral intervention was lower than that before (t= 33.818, p < .05).
2. The alcohol consumption of schizophrenic patients with alcohol abuse after received the group behavioral treatment was lower than those who received the regular caring activities
(t =-7.185, p < .05).Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27474 [article] ผลของกลุ่มบำบัดทางพฤติกรรมต่อการบริโภคแอลกอฮอล์ ของผู้ป่วยจิตเภทที่ใช้แอลกอฮอล์ : The effect of group behavioral intervention on alcohol consumption of schizophrenic patients with alcohol abuse HOL ABUSE [printed text] / พุฒิชาดา จันทะคุณ, Author ; เพ็ญพักตร์ อุทิศ, Author . - 2017 . - p.88-103.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.31 No.1 (Jan-Apr) 2017/2560 [11/08/2017] . - p.88-103Keywords: การบริโภคแอลกอฮอล์. การบำบัดทาง. พฤติกรรมผู้ป่วยจิตเภท. ผู้ป่วยจิตเภทที่ใช้แอลกอฮอล์.Alcohol consumption. Behavioral intervention. Schizophrenic Patients.Schizophrenic Patients with alcohol abuse. Abstract: Objectives: The purpose of this quasi –experimental research using the pretest – posttest
randomized control group design were: 1) to compare the alcohol consumption of schizophrenic patients with alcohol abuse before and after received the group behavioral intervention, and 2) to compare the alcohol consumption of schizophrenic patients with alcohol abuse who received the group behavioral intervention and those who received regular caring activities.
Methods: The sample composed of 40 schizophrenic patients with alcohol abuse, residing in community, who sought for services at outpatient department of one psychiatric hospital. They were matched pairs according to alcohol consumption scores and length of diagnosis with schizophrenia and then randomly assigned into either experimental or control group, 20 subjects in each group. The experimental group received the group behavioral intervention program developed by the researcher. The control group received regular caring activities. The research instruments consisted of: 1) the group behavioral intervention program, 2) Demographic questionnaire, 3) the AUDIT scale, and 4) The coping scale. All instruments were validated for content validity by 5 professional experts. The reliability of the 3rd and 4th instruments were reported by Chronbach Alpha as of 0.82 and 0.86 respectively. The t-test was use in data analysis.
Results:
1. The alcohol consumption of schizophrenic patients with alcohol abuse after received the group behavioral intervention was lower than that before (t= 33.818, p < .05).
2. The alcohol consumption of schizophrenic patients with alcohol abuse after received the group behavioral treatment was lower than those who received the regular caring activities
(t =-7.185, p < .05).Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27474 SIU RS-T. การศึกษาการขจัดสีในน้ำเสียจากโรงงานอุตสาหกรรมสิ่งทอ ด้วยขบวนการทางเคมีชีวภาพและกายภาพ / พีรวัฒน์ ดวงอาจ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU RS-T Title : การศึกษาการขจัดสีในน้ำเสียจากโรงงานอุตสาหกรรมสิ่งทอ ด้วยขบวนการทางเคมีชีวภาพและกายภาพ Original title : A Study of Decolorization of Dye Waste Water from the Textiles Industry by Chemical Biological and Physical Method Material Type: printed text Authors: พีรวัฒน์ ดวงอาจ, Author ; ชัญญา โภคะสุวรรณ, Associated Name ; ดำรง ขุมมงคล, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: ix, 47 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-14
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]น้ำเสีย -- การบำบัด
[LCSH]เส้นใยสังเคราะห์ -- การผลิตKeywords: การขจัดสีในน้ำเสีย,
การผลิตเส้นใยสังเคราะห์,
น้ำเสียปนเปื้อนสีย้อม,
การบำบัดน้ำเสียAbstract: อุตสาหกรรมการผลิตเส้นใยสังเคราะห์เป็นอุตสาหกรรมที่เกิดน้ำเสียขึ้นเกือบทุกขั้นตอนในกระบวนการผลิต มีการฉีดสารเคมีต่างๆ หรือ สีย้อมลงไปในผลิตภัณฑ์จนก่อให้เกิดน้ำเสียความเข้มข้นสูงที่มีสีย้อมผสมอยู่ในน้ำที่เมื่อบำบัดน้ำเสียด้วยวิธีการโรงงานไม่สามารถขจัดสีย้อมปนเปื้อนที่อยู่ในน้ำเสียออกไปได้หมด ทำให้เกิดปัญหาคือไม่สามารถปล่อยทิ้งลงสู่ธรรมชาติได้เพราะจะส่งผลกระทบต่อแหล่งน้ำ จึงได้เริ่มทำการวิจัยที่จะแก้ไขปัญหาน้ำเสียที่เกิดขึ้นจากกระบวนการผลิตเส้นใยสังเคราะห์ฟอกย้อม ด้วยการศึกษาหาวิธีที่จะนำมาเพิ่มประสิทธิภาพในการบำบัดน้ำเสียให้เพียงพอและเหมาะสมสำหรับที่จะใช้นำมาบำบัดน้ำเสียที่มีความเข้มข้นของสารเคมีที่สูงและมีสีย้อมปนเปื้อนในปริมาณมาก
โดยจากการรวบรวมข้อมูลพบว่า บริเวณที่เกิดน้ำเสียปนเปื้อนสีมากที่สุดคือ บริเวณที่มีการล้างทำความสะอาดในจุดฉีดสีคือ 938 ลิตร รองลงมาคือ บริเวณที่มีการล้างทำความสะอาดในจุดปั่นบดสี พบเท่ากับ 423 ลิตร ต่อมาคือ จากเครื่องย้อมสีพบในปริมาณ 260 ลิตร ส่วนบริเวณ บ่อทิ้งน้ำสี และจากแหล่งอื่นๆ พบในปริมาณ 87 ลิตร และ 47 ลิตร ตามลำดับ จากการศึกษาการขจัดสีด้วยวิธีทางกายภาพ ชีวภาพ และเคมีพบว่าวิธีที่มีประสิทธิภาพในการขจัดสีออกไปได้สูงที่สุดคือวิธีทางกายภาพ ที่สามารถกำจัดสีจริงและสีปรากฏออกไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ การใช้วิธีทางกายภาพช่วยขจัดสีมีผลดีทางอ้อมคือ ทำให้สามารถนำน้ำเสียมาแปรรูปเพื่อนำ PRS กลับมาใช้ได้อีกครั้ง วิธีการนี้ช่วยให้กระบวนการบำบัดน้ำเสียก่อนปล่อยออกสู่โรงงานเร็วขึ้นเนื่องจากค่า COD ในน้ำต่ำลงเล็กน้อย วิธีทางชีวภาพ ยังเป็นวิธีที่ไม่เหมาะสมต่อการนำมาขจัดสีในระดับโรงงานขนาดใหญ่ที่มีน้ำเสียความเข้มข้นสูง เพราะเชื้อจุลินทรีย์ในบ่อเติมอากาศที่นำทดลองเมื่ออยู่ในสภาวะของความเข้มข้นสูงก็เกิดการตายลง อีกทั้งหากจะใช้จุลินทรีย์มาขจัดสียังต้องใช้ปริมาณจุลินทรีย์ต่อน้ำเสียในอัตราที่สูงมากอีกทั้งยังใช้เวลานานที่สุด การขจัดสีด้วยวิธีทางเคมี สามารถกำจัดสีจริงและสีปรากฏออกไปได้อย่างมีประสิทธิภาพเช่นเดียวกับการขจัดโดยวิธีการทางกายภาพ เป็นวิธีที่ง่ายและมีความสะดวก แต่ในกระบวนการจะเกิดตะกอนขึ้นมา ปริมาณค่า COD สูงขึ้นอย่างมากอีกทั้งยังไม่สามารถนำน้ำเสียมาแปรรูปเพื่อนำ PRS กลับมาใช้ได้อีกครั้งเนื่องจากมีสารเคมีที่ใช้ในการขจัดสีผสมอยู่ในน้ำ หลังจากขจัดสีออกแล้วนำไปสู่กระบวนการกำจัดจะใช้เวลานานกว่าวิธีทางกายภาพเพราะปริมาณ COD สูงขึ้น เพราะสารเคมีที่ใช้ในการขจัดสีCurricular : BSMT/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27177 SIU RS-T. การศึกษาการขจัดสีในน้ำเสียจากโรงงานอุตสาหกรรมสิ่งทอ ด้วยขบวนการทางเคมีชีวภาพและกายภาพ = A Study of Decolorization of Dye Waste Water from the Textiles Industry by Chemical Biological and Physical Method [printed text] / พีรวัฒน์ ดวงอาจ, Author ; ชัญญา โภคะสุวรรณ, Associated Name ; ดำรง ขุมมงคล, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - ix, 47 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-14
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]น้ำเสีย -- การบำบัด
[LCSH]เส้นใยสังเคราะห์ -- การผลิตKeywords: การขจัดสีในน้ำเสีย,
การผลิตเส้นใยสังเคราะห์,
น้ำเสียปนเปื้อนสีย้อม,
การบำบัดน้ำเสียAbstract: อุตสาหกรรมการผลิตเส้นใยสังเคราะห์เป็นอุตสาหกรรมที่เกิดน้ำเสียขึ้นเกือบทุกขั้นตอนในกระบวนการผลิต มีการฉีดสารเคมีต่างๆ หรือ สีย้อมลงไปในผลิตภัณฑ์จนก่อให้เกิดน้ำเสียความเข้มข้นสูงที่มีสีย้อมผสมอยู่ในน้ำที่เมื่อบำบัดน้ำเสียด้วยวิธีการโรงงานไม่สามารถขจัดสีย้อมปนเปื้อนที่อยู่ในน้ำเสียออกไปได้หมด ทำให้เกิดปัญหาคือไม่สามารถปล่อยทิ้งลงสู่ธรรมชาติได้เพราะจะส่งผลกระทบต่อแหล่งน้ำ จึงได้เริ่มทำการวิจัยที่จะแก้ไขปัญหาน้ำเสียที่เกิดขึ้นจากกระบวนการผลิตเส้นใยสังเคราะห์ฟอกย้อม ด้วยการศึกษาหาวิธีที่จะนำมาเพิ่มประสิทธิภาพในการบำบัดน้ำเสียให้เพียงพอและเหมาะสมสำหรับที่จะใช้นำมาบำบัดน้ำเสียที่มีความเข้มข้นของสารเคมีที่สูงและมีสีย้อมปนเปื้อนในปริมาณมาก
โดยจากการรวบรวมข้อมูลพบว่า บริเวณที่เกิดน้ำเสียปนเปื้อนสีมากที่สุดคือ บริเวณที่มีการล้างทำความสะอาดในจุดฉีดสีคือ 938 ลิตร รองลงมาคือ บริเวณที่มีการล้างทำความสะอาดในจุดปั่นบดสี พบเท่ากับ 423 ลิตร ต่อมาคือ จากเครื่องย้อมสีพบในปริมาณ 260 ลิตร ส่วนบริเวณ บ่อทิ้งน้ำสี และจากแหล่งอื่นๆ พบในปริมาณ 87 ลิตร และ 47 ลิตร ตามลำดับ จากการศึกษาการขจัดสีด้วยวิธีทางกายภาพ ชีวภาพ และเคมีพบว่าวิธีที่มีประสิทธิภาพในการขจัดสีออกไปได้สูงที่สุดคือวิธีทางกายภาพ ที่สามารถกำจัดสีจริงและสีปรากฏออกไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ การใช้วิธีทางกายภาพช่วยขจัดสีมีผลดีทางอ้อมคือ ทำให้สามารถนำน้ำเสียมาแปรรูปเพื่อนำ PRS กลับมาใช้ได้อีกครั้ง วิธีการนี้ช่วยให้กระบวนการบำบัดน้ำเสียก่อนปล่อยออกสู่โรงงานเร็วขึ้นเนื่องจากค่า COD ในน้ำต่ำลงเล็กน้อย วิธีทางชีวภาพ ยังเป็นวิธีที่ไม่เหมาะสมต่อการนำมาขจัดสีในระดับโรงงานขนาดใหญ่ที่มีน้ำเสียความเข้มข้นสูง เพราะเชื้อจุลินทรีย์ในบ่อเติมอากาศที่นำทดลองเมื่ออยู่ในสภาวะของความเข้มข้นสูงก็เกิดการตายลง อีกทั้งหากจะใช้จุลินทรีย์มาขจัดสียังต้องใช้ปริมาณจุลินทรีย์ต่อน้ำเสียในอัตราที่สูงมากอีกทั้งยังใช้เวลานานที่สุด การขจัดสีด้วยวิธีทางเคมี สามารถกำจัดสีจริงและสีปรากฏออกไปได้อย่างมีประสิทธิภาพเช่นเดียวกับการขจัดโดยวิธีการทางกายภาพ เป็นวิธีที่ง่ายและมีความสะดวก แต่ในกระบวนการจะเกิดตะกอนขึ้นมา ปริมาณค่า COD สูงขึ้นอย่างมากอีกทั้งยังไม่สามารถนำน้ำเสียมาแปรรูปเพื่อนำ PRS กลับมาใช้ได้อีกครั้งเนื่องจากมีสารเคมีที่ใช้ในการขจัดสีผสมอยู่ในน้ำ หลังจากขจัดสีออกแล้วนำไปสู่กระบวนการกำจัดจะใช้เวลานานกว่าวิธีทางกายภาพเพราะปริมาณ COD สูงขึ้น เพราะสารเคมีที่ใช้ในการขจัดสีCurricular : BSMT/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27177 Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000594570 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-14 c.1 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan 32002000594554 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-14 c.2 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan SIU RS-T. การศึกษาการบำบัดสารมลพิษตกค้างจากสารกำจัดศัตรูพืช โดยการใช้พืชในการบำบัดสารมลพิษ ในบริเวณที่ปนเปื้อน / นิพิฐพนธ์ พันธ์ยัง / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU RS-T Title : การศึกษาการบำบัดสารมลพิษตกค้างจากสารกำจัดศัตรูพืช โดยการใช้พืชในการบำบัดสารมลพิษ ในบริเวณที่ปนเปื้อน Original title : A Study of the Treatment of Residual Pollutions from Pesticides by Phytoremediation of Pollutions in Contaminated Areas Material Type: printed text Authors: นิพิฐพนธ์ พันธ์ยัง, Author ; ชัญญา โภคะสุวรรณ, Associated Name ; ดำรง ขุมมงคล, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: vi, 31 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-13
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]สารกำจัดศัตรูพืช
[LCSH]สารมลพิษ -- การบำบัดKeywords: สารกำจัดศัตรูพืช,
การบำบัดสารมลพิษตกค้าง โดยการใช้พืชในการบำบัดAbstract: ปัจจุบันพบว่า เกษตรกรมีการใช้ยาฆ่าหญ้า ยากำจัดหนู ปูนา หอยเชอรี่ ยาป้องกันและกำจัดโรคพืช จนทำให้ท้องไร่นาของไทยกลายเป็นไร่นาเกษตรเคมี (สถาบันวิจัยประชากรและสังคม, 2555) อีกทั้งรายงานของกรมวิชาการเกษตรที่รายงานว่า สารเคมีด้านเกษตรจะตกค้างสะสมอยู่ในสิ่งแวดล้อมและห่วงโซ่อาหารได้เป็นเวลานานหลายปีทำให้สิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศตายไปจำนวนมากขาดความสมดุลตามธรรมชาติส่งผลกระทบสืบเนื่องไปถึงสุขภาพของเกษตรกร ผู้บริโภคและปัญหาทางด้านการค้าและการส่งออกเพราะมีสารเคมีตกค้างในอาหาร
ผลกระทบจากมลพิษทางดิน ที่มีผลต่อมนุษย์ในทางอ้อม คือการได้รับจากการดื่มน้ำที่มีสารพิษปะปนหรือรับประทานอาหาร จากพืชผักปลูกในดินที่มีการสะสมตัวของสารที่มีพิษ จึงจำเป็นต้องหาวิธีการบำบัดสารมลพิษตกค้างจากสารกำจัดศัตรูพืช ให้สู่ภาวะที่สมดุลไม่ทำร้ายสิ่งแวดล้อมCurricular : BSMT/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27184 SIU RS-T. การศึกษาการบำบัดสารมลพิษตกค้างจากสารกำจัดศัตรูพืช โดยการใช้พืชในการบำบัดสารมลพิษ ในบริเวณที่ปนเปื้อน = A Study of the Treatment of Residual Pollutions from Pesticides by Phytoremediation of Pollutions in Contaminated Areas [printed text] / นิพิฐพนธ์ พันธ์ยัง, Author ; ชัญญา โภคะสุวรรณ, Associated Name ; ดำรง ขุมมงคล, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - vi, 31 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-13
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]สารกำจัดศัตรูพืช
[LCSH]สารมลพิษ -- การบำบัดKeywords: สารกำจัดศัตรูพืช,
การบำบัดสารมลพิษตกค้าง โดยการใช้พืชในการบำบัดAbstract: ปัจจุบันพบว่า เกษตรกรมีการใช้ยาฆ่าหญ้า ยากำจัดหนู ปูนา หอยเชอรี่ ยาป้องกันและกำจัดโรคพืช จนทำให้ท้องไร่นาของไทยกลายเป็นไร่นาเกษตรเคมี (สถาบันวิจัยประชากรและสังคม, 2555) อีกทั้งรายงานของกรมวิชาการเกษตรที่รายงานว่า สารเคมีด้านเกษตรจะตกค้างสะสมอยู่ในสิ่งแวดล้อมและห่วงโซ่อาหารได้เป็นเวลานานหลายปีทำให้สิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศตายไปจำนวนมากขาดความสมดุลตามธรรมชาติส่งผลกระทบสืบเนื่องไปถึงสุขภาพของเกษตรกร ผู้บริโภคและปัญหาทางด้านการค้าและการส่งออกเพราะมีสารเคมีตกค้างในอาหาร
ผลกระทบจากมลพิษทางดิน ที่มีผลต่อมนุษย์ในทางอ้อม คือการได้รับจากการดื่มน้ำที่มีสารพิษปะปนหรือรับประทานอาหาร จากพืชผักปลูกในดินที่มีการสะสมตัวของสารที่มีพิษ จึงจำเป็นต้องหาวิธีการบำบัดสารมลพิษตกค้างจากสารกำจัดศัตรูพืช ให้สู่ภาวะที่สมดุลไม่ทำร้ายสิ่งแวดล้อมCurricular : BSMT/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27184 Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000594620 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-13 c.1 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan 32002000594638 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-13 c.2 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan การจัดการข้อมูลในการบริการสุขภาพสำหรับกลุ่มผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง / รสสคุนธ์ วาริทสกุล in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 ([05/23/2017])
[article]
Title : การจัดการข้อมูลในการบริการสุขภาพสำหรับกลุ่มผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง Original title : Data management in healtcare delivery for chronic kidney disease patients Material Type: printed text Authors: รสสคุนธ์ วาริทสกุล, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.6-14 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 [05/23/2017] . - p.6-14Keywords: การจัดการข้อมูล.การบริการสุขภาพ.โรคไตเรื้อรัง.ผู้ป่วยโรตไตเรื้อรัง.Chronic kidney disease patients. Abstract: ปัจจุบัน พยาบาลมักเผชิญปัญหาในการจัดการกับข้อมูลที่เกิดจากการให้บริการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง หากพยาบาลสามารถจัดการกับข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ จะช่วยให้พยาบาลสามารถให้บริการสุขภาพที่รวดเร็ว ลดความซ้ำซ้อนทำให้เกิดการพัฒนาคุณภาพของระบบบริการสุขภาพอย่างต่อเนื่องเพื่อให้สามารถตอบสนองความต้องการของผู้ป่วยได้มากยิ่งขึ้น บทความนี้จึงมีวัตถุประสงค์ในการอธิบายกระบวนการจัดการกับข้อมูลที่เกิดขึ้นจากการให้บริการสุขภาพสำหรับกลุ่มผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังให้เป็นสารสนเทศทางสุขภาพที่สามารถนำไปใช้ในกระบวนการพัฒนาคุณภาพบริการต่อไป กระบวนการจัดการข้อมูลประกอบด้วย การกำหนดชุดข้อมูลจำเป็น การเก็บรวบรวมข้อมูลสุขภาพเพื่อการจัดการข้อมูล การสร้างฐานข้อมูลสุขภาพขนาดเล็ก การประมวลผลข้อมูล และการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศไปใช้เพื่อการพัฒนาคุณภาพการบริการ ดังนั้น เพื่อให้การจัดการข้อมูลสุขภาพมีความหมายและใช้ประโยชน์ได้มากขึ้น พยาบาลจะต้องให้ความสำคัญกับการเตรียมรวบรวมข้อมูล ตลอดจนขั้นตอนการจัดเก็บข้อมูลให้สอดคล้องกับวิธีที่จะวิเคราะห์ข้อมูลต่อไป Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26735 [article] การจัดการข้อมูลในการบริการสุขภาพสำหรับกลุ่มผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง = Data management in healtcare delivery for chronic kidney disease patients [printed text] / รสสคุนธ์ วาริทสกุล, Author . - 2017 . - p.6-14.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 [05/23/2017] . - p.6-14Keywords: การจัดการข้อมูล.การบริการสุขภาพ.โรคไตเรื้อรัง.ผู้ป่วยโรตไตเรื้อรัง.Chronic kidney disease patients. Abstract: ปัจจุบัน พยาบาลมักเผชิญปัญหาในการจัดการกับข้อมูลที่เกิดจากการให้บริการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง หากพยาบาลสามารถจัดการกับข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ จะช่วยให้พยาบาลสามารถให้บริการสุขภาพที่รวดเร็ว ลดความซ้ำซ้อนทำให้เกิดการพัฒนาคุณภาพของระบบบริการสุขภาพอย่างต่อเนื่องเพื่อให้สามารถตอบสนองความต้องการของผู้ป่วยได้มากยิ่งขึ้น บทความนี้จึงมีวัตถุประสงค์ในการอธิบายกระบวนการจัดการกับข้อมูลที่เกิดขึ้นจากการให้บริการสุขภาพสำหรับกลุ่มผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังให้เป็นสารสนเทศทางสุขภาพที่สามารถนำไปใช้ในกระบวนการพัฒนาคุณภาพบริการต่อไป กระบวนการจัดการข้อมูลประกอบด้วย การกำหนดชุดข้อมูลจำเป็น การเก็บรวบรวมข้อมูลสุขภาพเพื่อการจัดการข้อมูล การสร้างฐานข้อมูลสุขภาพขนาดเล็ก การประมวลผลข้อมูล และการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศไปใช้เพื่อการพัฒนาคุณภาพการบริการ ดังนั้น เพื่อให้การจัดการข้อมูลสุขภาพมีความหมายและใช้ประโยชน์ได้มากขึ้น พยาบาลจะต้องให้ความสำคัญกับการเตรียมรวบรวมข้อมูล ตลอดจนขั้นตอนการจัดเก็บข้อมูลให้สอดคล้องกับวิธีที่จะวิเคราะห์ข้อมูลต่อไป Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26735 การจัดการความเจ็บป่วยของตนเองในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง / กันยารัตน์ มาเกตุ / บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร - 2552
Title : การจัดการความเจ็บป่วยของตนเองในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง : ที่มีการฟื้นความสามารถ Original title : Self management on illness among the recovery stroke patients Material Type: printed text Authors: กันยารัตน์ มาเกตุ, Author Publisher: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร Publication Date: 2552 Pagination: 126 แผ่น Layout: ตาราง. Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย. ม [การพยาบาลเวชปฎิบัติชุมชน]] -- มหาวิทยาลัยนเรศวร 2552 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ความเจ็บปวด -- การบำบัด
[LCSH]ผู้ป่วย -- การดูแล
[LCSH]หลอดเลือดสมอง -- โรคKeywords: โรคหลอดเลือดสมอง.
ผู้ป่วย.
การดูแลตนเอง.Class number: WL355 ก156 2552 Abstract: ศึกษาความหมายและวิธีการจัดการกับความเจ็บป่วยตามมุมองของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดทีี่มีการฟื้นความสามารถ กลุ่มผู้ให้ข้อมูลหลัก คือ ผู้ที่ได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์ว่าเป็นโรคหลอดเลือดสมองที่มารับบริการรักษาพยาบาลที่โรงพยาบาลวัดโบสถ์จังหวัดพิษณุโลก และมีการฟื้นความสามารถโดยการผ่านการประเมินระดับความสามารถในการปฎิบัติกิจวัตรประจำวันอยู่ในเกณฑ์ 75-100 คะแนน จำนวน 13 คน ใช้วิธีการสัมภาษณ์ระดับลึก เครื่องมือที่ใช้คือ แนวคำถามปลายเปิด เก็บรวบรวมข้อมูลระหว่างเดือนมีนาคม - พฤษภาคม 2551 วิเคราะห์ข้อมูลโดยวิเคราะห์เชิงเนื้อหา (Content anlysis) ตามแนวคิดของ Burnard ผลการศึกษาพบว่า
1. ผู้ให้ข้อมูลได้ให้ความหมายต่อภาวะเจ็บป่วย 3 ความหมาย คือ เป็นโรคที่ตายทั้งเป็น หรือเหมือนคนที่ตายแล้ว โรคเวรโรคกรรมและโรคที่ต้องพึ่งพาเป็นภาระให้กับผู้อื่น 2. ความรู้สึกต่อการเจ็บป่วยนั้นผู้ให้ข้อมูลมีความรู้สึกว่า เป็นชั่วคราวมีความหวังจะหาย เครียด อารมณ์หงุดหงิดที่ดูแลตัวเองไม่ได้และไม่อยากให้เป็นภาระกับผู้อื่น อยากเอาชนะคำสบประมาท 3. วิธีการจัดการกับความเจ็บป่วยนั้นพบว่า ได้จัีดการกับความทุกข์ทั้งทางร่างกายและจิตใจด้วยการทำใจให้ยอมรับ คิดให้ชีวิตมีความหวัง หาวิธีผ่อนคลายความเครียด คิดเชิงบวกต่อความเจ็บป่วย พยายามช่วยเหลือตนเอง และออกกำลังกายฟื้นฟูร่างกายอย่างต่อเนื่อง ปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตให้สอดคล้องกัีบสภาพร่างกายอันได้แก่ การเลือกและจำกัดอาหาร นอนหลับพักผ่อนอย่างเพียงพอ ใช้การแพทย์แผยไทย แสวงหาวิธีการรักษาต่าง ๆ มาทดลองใช้ รับการรักษษกับแพทย์แผนปัจจุบันอย่างต่อเนื่อง และเมื่อฟื้นหาย ได้คงวิถีชีวิตที่ดี การปฎิบัติงานช่วยเหลือชุมชนด้วยจิตอาสาCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23201 การจัดการความเจ็บป่วยของตนเองในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง = Self management on illness among the recovery stroke patients : ที่มีการฟื้นความสามารถ [printed text] / กันยารัตน์ มาเกตุ, Author . - [S.l.] : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2552 . - 126 แผ่น : ตาราง. ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย. ม [การพยาบาลเวชปฎิบัติชุมชน]] -- มหาวิทยาลัยนเรศวร 2552
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ความเจ็บปวด -- การบำบัด
[LCSH]ผู้ป่วย -- การดูแล
[LCSH]หลอดเลือดสมอง -- โรคKeywords: โรคหลอดเลือดสมอง.
ผู้ป่วย.
การดูแลตนเอง.Class number: WL355 ก156 2552 Abstract: ศึกษาความหมายและวิธีการจัดการกับความเจ็บป่วยตามมุมองของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดทีี่มีการฟื้นความสามารถ กลุ่มผู้ให้ข้อมูลหลัก คือ ผู้ที่ได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์ว่าเป็นโรคหลอดเลือดสมองที่มารับบริการรักษาพยาบาลที่โรงพยาบาลวัดโบสถ์จังหวัดพิษณุโลก และมีการฟื้นความสามารถโดยการผ่านการประเมินระดับความสามารถในการปฎิบัติกิจวัตรประจำวันอยู่ในเกณฑ์ 75-100 คะแนน จำนวน 13 คน ใช้วิธีการสัมภาษณ์ระดับลึก เครื่องมือที่ใช้คือ แนวคำถามปลายเปิด เก็บรวบรวมข้อมูลระหว่างเดือนมีนาคม - พฤษภาคม 2551 วิเคราะห์ข้อมูลโดยวิเคราะห์เชิงเนื้อหา (Content anlysis) ตามแนวคิดของ Burnard ผลการศึกษาพบว่า
1. ผู้ให้ข้อมูลได้ให้ความหมายต่อภาวะเจ็บป่วย 3 ความหมาย คือ เป็นโรคที่ตายทั้งเป็น หรือเหมือนคนที่ตายแล้ว โรคเวรโรคกรรมและโรคที่ต้องพึ่งพาเป็นภาระให้กับผู้อื่น 2. ความรู้สึกต่อการเจ็บป่วยนั้นผู้ให้ข้อมูลมีความรู้สึกว่า เป็นชั่วคราวมีความหวังจะหาย เครียด อารมณ์หงุดหงิดที่ดูแลตัวเองไม่ได้และไม่อยากให้เป็นภาระกับผู้อื่น อยากเอาชนะคำสบประมาท 3. วิธีการจัดการกับความเจ็บป่วยนั้นพบว่า ได้จัีดการกับความทุกข์ทั้งทางร่างกายและจิตใจด้วยการทำใจให้ยอมรับ คิดให้ชีวิตมีความหวัง หาวิธีผ่อนคลายความเครียด คิดเชิงบวกต่อความเจ็บป่วย พยายามช่วยเหลือตนเอง และออกกำลังกายฟื้นฟูร่างกายอย่างต่อเนื่อง ปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตให้สอดคล้องกัีบสภาพร่างกายอันได้แก่ การเลือกและจำกัดอาหาร นอนหลับพักผ่อนอย่างเพียงพอ ใช้การแพทย์แผยไทย แสวงหาวิธีการรักษาต่าง ๆ มาทดลองใช้ รับการรักษษกับแพทย์แผนปัจจุบันอย่างต่อเนื่อง และเมื่อฟื้นหาย ได้คงวิถีชีวิตที่ดี การปฎิบัติงานช่วยเหลือชุมชนด้วยจิตอาสาCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23201 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354785 WL355 ก156 2552 Thesis Main Library Thesis Corner Available การจัดการอาการในผู้ป่วยมะเร็งปอดระยะลุกลาม / สุชาวดี รุ่งแจ้ง in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก, Vol.27 No.2 (ก.ค-ธ.ค) 2559/2016 ([11/16/2017])
[article]
Title : การจัดการอาการในผู้ป่วยมะเร็งปอดระยะลุกลาม Original title : สุชาวดี รุ่งแจ้ง, รัชนี นามจันทรา Material Type: printed text Authors: สุชาวดี รุ่งแจ้ง, Author ; รัชนี นามจันทรา, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.43-57 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก > Vol.27 No.2 (ก.ค-ธ.ค) 2559/2016 [11/16/2017] . - p.43-57Keywords: ผู้ป่วยมะเร็งปอด.มะเร็งปอดระยะลุกลาม.อาการ.วิธีการจัดการอาการ. Abstract: การวิจัยเชิงบรรยายนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) อาการ และความรุนแรงของอาการในผู้ป่วยมะเร็งปอดระยะลุกลาม และ 2) วิธีการจัดการอาการ และผลลัพธ์ของการจัดการอาการในผู้ป่วยมะเร็งปอดระยะลุกลาม
กลุ่มตัวอย่างเลือกอย่างเฉพาะเจาะจงจากผู้ป่วยมะเร็งปอดระยะลุกลามที่มารับบริการ ณ หน่วยผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลจุฬาภรณ์ จำนวน 83 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล แบบบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับความเจ็บป่วย และแบบสัมภาษณ์อาการ ความรุนแรงของอาการ วิธีการจัดการอาการ และผลลัพธ์ของการจัดการอาการ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงบรรยาย และการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา
ผลการวิจัย พบว่า อาการที่พบบ่อย 5 อันดับแรก ได้แก่ ปวด ไอ เหนื่อยล้า หายใจลำบาก และเบื่ออาหาร เรียงลำดับตามความรุนแรงในอาการที่พบบ่อยได้เป็น เบื่ออาหาร ปวด เหนื่อยล้า หายใจลำบาก และไอ ตามลำดับ โดยอาการปวดเป็นอาการที่พบบ่อยที่สุด ในขณะที่อาการเบื่ออาหารมีค่าเฉลี่ยความรุนแรงสูงที่สุด ผู้ป่วยมะเร็งปอดระยะลุกลามใช้วิธีการหลายๆ วิธีในการจัดการอาการแต่ละอาการ วิธีการจัดการอาการที่พบบ่อย 5 อันดับแรก มีดังนี้ 1) อาการปวด ใช้วิธีการรับประทานยาแก้ปวดทุกครั้งที่มีอาการ 2) อาการไอ ใช้วิธีจิบน้ำอุ่น/ดื่มน้ำ และรับประทานยาละลายเสมหะ 3) อาการเหนื่อยล้า ใช้วิธีการนั่งพัก/นอนพักช่วงกลางวัน 4) อาการหายใจลำบาก ใช้วิธีการนั่งพัก/นอนพัก และ 5) อาการเบื่ออาหาร ใช้วิธีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานอาหาร เช่น รับประทานอาหารหรือผลไม้ที่มีรสเปรี้ยว หรือดื่มเครื่องดื่มอาหารเสริมระหว่างมื้ออาหาร ผลลัพธ์ของการจัดการอาการของผู้ป่วยโดยรวมเป็นไปในทางที่ดี คือ มีอาการทุเลา
ผลการศึกษานี้เป็นข้อมูลในการวางแผนการพยาบาลผู้ป่วยมะเร็งปอดระยะลุกลาม เพื่อลดความรุนแรงและบรรเทาอาการจากโรค ในการให้ข้อมูล ให้คำปรึกษา รวมทั้งสนับสนุนให้ผู้ป่วยและญาติมีการจัดการอาการด้วยตนเองให้สอดคล้องกับความต้องการในการดำเนินชีวิตประจำวัน เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของผู้ป่วยมะเร็งปอดระยะลุกลาม
Link for e-copy: http://www.thaicvtnurse.org/index.php?option=com Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27488 [article] การจัดการอาการในผู้ป่วยมะเร็งปอดระยะลุกลาม = สุชาวดี รุ่งแจ้ง, รัชนี นามจันทรา [printed text] / สุชาวดี รุ่งแจ้ง, Author ; รัชนี นามจันทรา, Author . - 2017 . - p.43-57.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก > Vol.27 No.2 (ก.ค-ธ.ค) 2559/2016 [11/16/2017] . - p.43-57Keywords: ผู้ป่วยมะเร็งปอด.มะเร็งปอดระยะลุกลาม.อาการ.วิธีการจัดการอาการ. Abstract: การวิจัยเชิงบรรยายนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) อาการ และความรุนแรงของอาการในผู้ป่วยมะเร็งปอดระยะลุกลาม และ 2) วิธีการจัดการอาการ และผลลัพธ์ของการจัดการอาการในผู้ป่วยมะเร็งปอดระยะลุกลาม
กลุ่มตัวอย่างเลือกอย่างเฉพาะเจาะจงจากผู้ป่วยมะเร็งปอดระยะลุกลามที่มารับบริการ ณ หน่วยผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลจุฬาภรณ์ จำนวน 83 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล แบบบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับความเจ็บป่วย และแบบสัมภาษณ์อาการ ความรุนแรงของอาการ วิธีการจัดการอาการ และผลลัพธ์ของการจัดการอาการ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงบรรยาย และการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา
ผลการวิจัย พบว่า อาการที่พบบ่อย 5 อันดับแรก ได้แก่ ปวด ไอ เหนื่อยล้า หายใจลำบาก และเบื่ออาหาร เรียงลำดับตามความรุนแรงในอาการที่พบบ่อยได้เป็น เบื่ออาหาร ปวด เหนื่อยล้า หายใจลำบาก และไอ ตามลำดับ โดยอาการปวดเป็นอาการที่พบบ่อยที่สุด ในขณะที่อาการเบื่ออาหารมีค่าเฉลี่ยความรุนแรงสูงที่สุด ผู้ป่วยมะเร็งปอดระยะลุกลามใช้วิธีการหลายๆ วิธีในการจัดการอาการแต่ละอาการ วิธีการจัดการอาการที่พบบ่อย 5 อันดับแรก มีดังนี้ 1) อาการปวด ใช้วิธีการรับประทานยาแก้ปวดทุกครั้งที่มีอาการ 2) อาการไอ ใช้วิธีจิบน้ำอุ่น/ดื่มน้ำ และรับประทานยาละลายเสมหะ 3) อาการเหนื่อยล้า ใช้วิธีการนั่งพัก/นอนพักช่วงกลางวัน 4) อาการหายใจลำบาก ใช้วิธีการนั่งพัก/นอนพัก และ 5) อาการเบื่ออาหาร ใช้วิธีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานอาหาร เช่น รับประทานอาหารหรือผลไม้ที่มีรสเปรี้ยว หรือดื่มเครื่องดื่มอาหารเสริมระหว่างมื้ออาหาร ผลลัพธ์ของการจัดการอาการของผู้ป่วยโดยรวมเป็นไปในทางที่ดี คือ มีอาการทุเลา
ผลการศึกษานี้เป็นข้อมูลในการวางแผนการพยาบาลผู้ป่วยมะเร็งปอดระยะลุกลาม เพื่อลดความรุนแรงและบรรเทาอาการจากโรค ในการให้ข้อมูล ให้คำปรึกษา รวมทั้งสนับสนุนให้ผู้ป่วยและญาติมีการจัดการอาการด้วยตนเองให้สอดคล้องกับความต้องการในการดำเนินชีวิตประจำวัน เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของผู้ป่วยมะเร็งปอดระยะลุกลาม
Link for e-copy: http://www.thaicvtnurse.org/index.php?option=com Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27488 การบำบัดทางเลือกเพื่อช่วยเลิกบุหรี่วิถีไทย / ผ่องศรี ศรีมรกต / กรุงเทพฯ: เครือข่ายพยาบาลเพื่อต้านบุหรี่และสารเสพติดแห่งประเทศไทย - 2561
Title : การบำบัดทางเลือกเพื่อช่วยเลิกบุหรี่วิถีไทย Original title : Thai alternative therapy for tobacco cessation Material Type: printed text Authors: ผ่องศรี ศรีมรกต, Author Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 5 Publisher: กรุงเทพฯ: เครือข่ายพยาบาลเพื่อต้านบุหรี่และสารเสพติดแห่งประเทศไทย Publication Date: 2561 Pagination: 335 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 21 ซม. ISBN (or other code): 978-974-225-595-4 Price: - General note: 1. การให้การบำบัดเสริมเพื่่อช่วยเลิกบุหรี่วิถีไทยฯ -- 2. ประเภทยาสูบในประเทศไทยยุคประเทศไทย 4.0 -- 3. แนวคิดการให้คำปรึกษาเพื่อช่วยเลิกบุหรี่ -- 4. แนวคิดประพฤติกรรมบำบัดเพื่อช่วยเลิกบุหรี่ -- 5. กิจกรรมบำบัดเพื่อช่วยเลิกบุหรี่ -- 6. ธรรมะบำบัด -- 7. การกดจุด -- 8. การนวดคลายเครียด -- 9.อาหารช่วยเลิกบุหรี่ -- 10. การบำบัดเสริมด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่น -- 11. การพัฒนาสิ่งแวดล้อมปลอดบุหรี่ เพื่อเสริมประสิทธิภาพการช่วยเลิกบุหรี่ -- 12. การสร้างภูมิคุ้มกันยาสูบเพื่อป้องกันนักสูบหน้าใหม่ Languages : Thai (tha) Descriptors: [NLM]การติดบุหรี่ -- การรักษา
[NLM]การสูบบุหรี่ -- การรักษา
[NLM]การเลิกบุหรี่
[NLM]การเลิกสูบบุหรี่
[NLM]การแพทย์ทางเลือกKeywords: เลิกบุหรี่, การบำบัดทางเลือก Class number: WM290 ผ227ก 2561 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28268 การบำบัดทางเลือกเพื่อช่วยเลิกบุหรี่วิถีไทย = Thai alternative therapy for tobacco cessation [printed text] / ผ่องศรี ศรีมรกต, Author . - พิมพ์ครั้งที่ 5 . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: เครือข่ายพยาบาลเพื่อต้านบุหรี่และสารเสพติดแห่งประเทศไทย, 2561 . - 335 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 21 ซม.
ISBN : 978-974-225-595-4 : -
1. การให้การบำบัดเสริมเพื่่อช่วยเลิกบุหรี่วิถีไทยฯ -- 2. ประเภทยาสูบในประเทศไทยยุคประเทศไทย 4.0 -- 3. แนวคิดการให้คำปรึกษาเพื่อช่วยเลิกบุหรี่ -- 4. แนวคิดประพฤติกรรมบำบัดเพื่อช่วยเลิกบุหรี่ -- 5. กิจกรรมบำบัดเพื่อช่วยเลิกบุหรี่ -- 6. ธรรมะบำบัด -- 7. การกดจุด -- 8. การนวดคลายเครียด -- 9.อาหารช่วยเลิกบุหรี่ -- 10. การบำบัดเสริมด้วยภูมิปัญญาท้องถิ่น -- 11. การพัฒนาสิ่งแวดล้อมปลอดบุหรี่ เพื่อเสริมประสิทธิภาพการช่วยเลิกบุหรี่ -- 12. การสร้างภูมิคุ้มกันยาสูบเพื่อป้องกันนักสูบหน้าใหม่
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [NLM]การติดบุหรี่ -- การรักษา
[NLM]การสูบบุหรี่ -- การรักษา
[NLM]การเลิกบุหรี่
[NLM]การเลิกสูบบุหรี่
[NLM]การแพทย์ทางเลือกKeywords: เลิกบุหรี่, การบำบัดทางเลือก Class number: WM290 ผ227ก 2561 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28268 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607061 WM290 ผ227ก 2561 c.1 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000607147 WM290 ผ227ก 2561 c.10 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000607086 WM290 ผ227ก 2561 c.2 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000607083 WM290 ผ227ก 2561 c.3 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000607049 WM290 ผ227ก 2561 c.4 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000607088 WM290 ผ227ก 2561 c.5 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000607063 WM290 ผ227ก 2561 c.6 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000607069 WM290 ผ227ก 2561 c.7 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000607161 WM290 ผ227ก 2561 c.8 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000607074 WM290 ผ227ก 2561 c.9 Book Main Library Nursing Shelf Available การบำบัดแบบเสริมสร้างแรงจูงใจรายกลุ่มโดยครอบครัวและชุมชน มีส่วนร่วมในผู้ติดสุรา ณ โรงพยาบาลชุมชนแห่งหนึ่ง / วนาลักษณ์ รอวิลาน in วารสารสภาการพยาบาล, Vol.31 No.3 (Jul-Sep) 2016/59 ([07/25/2016])
[article]
Title : การบำบัดแบบเสริมสร้างแรงจูงใจรายกลุ่มโดยครอบครัวและชุมชน มีส่วนร่วมในผู้ติดสุรา ณ โรงพยาบาลชุมชนแห่งหนึ่ง : การศึกษานำร่อง Material Type: printed text Authors: วนาลักษณ์ รอวิลาน, Author ; ภัทราภรณ์ ทุ่งปันคำ, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.53-66 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.3 (Jul-Sep) 2016/59 [07/25/2016] . - p.53-66Keywords: พฤติกรรมการดื่มสุรา. ผู้ติดสุรา. การมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชน. การบำบัดแบบเสริมสร้างแรงจูงใจรายกลุ่ม. Abstract: บทคัดย่อ: วัตถุประสงค์ของการวิจัย: เพื่อศึกษาผลของการบำบัดแบบเสริมสร้างแรงจูงใจ
รายกลุ่มโดยครอบครัวและชุมชนมีส่วนร่วมต่อพฤติกรรมการดื่มสุราของผู้ติดสุราโรงพยาบาล
เชียงกลาง จังหวัดน่าน
การออกแบบวิจัย: การวิจัยกึ่งทดลอง แบบกลุ่มเดียววัดก่อนและหลังการทดลอง
วิธีดำเนินการวิจัย: เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจงตามคุณสมบัติที่กำหนด
จำนวน 15 ราย รวบรวมข้อมูลระหว่างเดือนกรกฎาคม 2556 ถึงเดือนกันยายน 2557
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 3 ส่วนคือ 1) ข้อมูลส่วนบุคคล 2) โปรแกรมการเสริมสร้างแรงจูงใจบำบัดรายกลุ่มโดยครอบครัวและชุมชนมีส่วนร่วม ที่ทีมผู้วิจัยพัฒนาขึ้นตามกรอบแนวคิดการเสริมสร้างแรงจูงใจของมิลเลอร์และโรนิค และจากการทบทวนวรรณกรรม 3) แบบประเมินพฤติกรรมการดื่มสุรา (AUDIT) และแบบวัดแรงจูงใจในการเลิกสุรา วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียวชนิดการวัดซ้ำ (One-way
repeated measure ANOVA) และสถิติค่าที (T-Test)
ผลการวิจัย: เมื่อเปรียบเทียบกับก่อนการทดลอง พบว่า คะแนนพฤติกรรมการดื่มสุรา
หลังการทดลองลดลงหลังการทดลองทันทีและระยะติดตามผล 1 เดือน 3 เดือน 6 เดือน และ 1 ปี อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P <.01)
ข้อเสนอแนะ:โปรแกรมนี้สามารถช่วยให้ผู้ที่ติดสุราลดและเลิกการดื่มสุราได้อย่าง
ต่อเนื่อง ดังนั้นบุคลากรสาธารณสุขควรนำโปรแกรมนี้ไปประยุกต์ใช้ในการบำบัดผู้ติดสุรา
และควรมีการสร้างระบบการติดตามระยะยาวโดยครอบครัว ผู้ดูแล และแกนนำชุมชนLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27043 [article] การบำบัดแบบเสริมสร้างแรงจูงใจรายกลุ่มโดยครอบครัวและชุมชน มีส่วนร่วมในผู้ติดสุรา ณ โรงพยาบาลชุมชนแห่งหนึ่ง : การศึกษานำร่อง [printed text] / วนาลักษณ์ รอวิลาน, Author ; ภัทราภรณ์ ทุ่งปันคำ, Author . - 2016 . - p.53-66.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.3 (Jul-Sep) 2016/59 [07/25/2016] . - p.53-66Keywords: พฤติกรรมการดื่มสุรา. ผู้ติดสุรา. การมีส่วนร่วมของครอบครัวและชุมชน. การบำบัดแบบเสริมสร้างแรงจูงใจรายกลุ่ม. Abstract: บทคัดย่อ: วัตถุประสงค์ของการวิจัย: เพื่อศึกษาผลของการบำบัดแบบเสริมสร้างแรงจูงใจ
รายกลุ่มโดยครอบครัวและชุมชนมีส่วนร่วมต่อพฤติกรรมการดื่มสุราของผู้ติดสุราโรงพยาบาล
เชียงกลาง จังหวัดน่าน
การออกแบบวิจัย: การวิจัยกึ่งทดลอง แบบกลุ่มเดียววัดก่อนและหลังการทดลอง
วิธีดำเนินการวิจัย: เลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจงตามคุณสมบัติที่กำหนด
จำนวน 15 ราย รวบรวมข้อมูลระหว่างเดือนกรกฎาคม 2556 ถึงเดือนกันยายน 2557
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย 3 ส่วนคือ 1) ข้อมูลส่วนบุคคล 2) โปรแกรมการเสริมสร้างแรงจูงใจบำบัดรายกลุ่มโดยครอบครัวและชุมชนมีส่วนร่วม ที่ทีมผู้วิจัยพัฒนาขึ้นตามกรอบแนวคิดการเสริมสร้างแรงจูงใจของมิลเลอร์และโรนิค และจากการทบทวนวรรณกรรม 3) แบบประเมินพฤติกรรมการดื่มสุรา (AUDIT) และแบบวัดแรงจูงใจในการเลิกสุรา วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียวชนิดการวัดซ้ำ (One-way
repeated measure ANOVA) และสถิติค่าที (T-Test)
ผลการวิจัย: เมื่อเปรียบเทียบกับก่อนการทดลอง พบว่า คะแนนพฤติกรรมการดื่มสุรา
หลังการทดลองลดลงหลังการทดลองทันทีและระยะติดตามผล 1 เดือน 3 เดือน 6 เดือน และ 1 ปี อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P <.01)
ข้อเสนอแนะ:โปรแกรมนี้สามารถช่วยให้ผู้ที่ติดสุราลดและเลิกการดื่มสุราได้อย่าง
ต่อเนื่อง ดังนั้นบุคลากรสาธารณสุขควรนำโปรแกรมนี้ไปประยุกต์ใช้ในการบำบัดผู้ติดสุรา
และควรมีการสร้างระบบการติดตามระยะยาวโดยครอบครัว ผู้ดูแล และแกนนำชุมชนLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27043 การประยุกต์ใช้การบำบัดแบบมุ่งเน้นคำตอบ / ชฎาภา ประเสริฐทรง in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 ([09/07/2015])
[article]
Title : การประยุกต์ใช้การบำบัดแบบมุ่งเน้นคำตอบ : ในการพยาบาลครอบครัว Original title : The applied solution focused brief therapy in family nursing Material Type: printed text Authors: ชฎาภา ประเสริฐทรง, Author Publication Date: 2015 Article on page: p1-7 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 [09/07/2015] . - p1-7Keywords: การบำบัดแบบย่อที่มุ่งเน้นคำตอบ.การพยาบาลครอบครัว. Abstract: วัตถุประสงค์เพื่อนำการบำบัดแบบย่อที่มุ่งเน้นคำตอบมาประยุกต์ใช้ในการสื่อสารเพื่อการบำบัดในการพยาบาลครอบครัว โดยการนำเทคนิคคำถาม 3 ประการ ได้แก่ 1. คำถามปาฎิหารย์ 2. ข้อยกเว้น และ 3. คำถามที่มีระดับประเมินผล ซึ่งหากพยาบาลวิชาชีพได้ฝึกใช้จนชำนาญเป็นทักษะจะทำให้การพยาบาลครอบครัวมีประสิทธิภาพ เกิดประโยชน์ต่อผู้ป่วย และครอบครัวอย่างแท้จริง Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24935 [article] การประยุกต์ใช้การบำบัดแบบมุ่งเน้นคำตอบ = The applied solution focused brief therapy in family nursing : ในการพยาบาลครอบครัว [printed text] / ชฎาภา ประเสริฐทรง, Author . - 2015 . - p1-7.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 [09/07/2015] . - p1-7Keywords: การบำบัดแบบย่อที่มุ่งเน้นคำตอบ.การพยาบาลครอบครัว. Abstract: วัตถุประสงค์เพื่อนำการบำบัดแบบย่อที่มุ่งเน้นคำตอบมาประยุกต์ใช้ในการสื่อสารเพื่อการบำบัดในการพยาบาลครอบครัว โดยการนำเทคนิคคำถาม 3 ประการ ได้แก่ 1. คำถามปาฎิหารย์ 2. ข้อยกเว้น และ 3. คำถามที่มีระดับประเมินผล ซึ่งหากพยาบาลวิชาชีพได้ฝึกใช้จนชำนาญเป็นทักษะจะทำให้การพยาบาลครอบครัวมีประสิทธิภาพ เกิดประโยชน์ต่อผู้ป่วย และครอบครัวอย่างแท้จริง Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24935 การประเมินความต้องการจำเป็นของความผาสุกทางจิตวิญญาณ ในผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอ คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช / บุญทิวา สุวิทย์ in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 ([08/21/2017])
[article]
Title : การประเมินความต้องการจำเป็นของความผาสุกทางจิตวิญญาณ ในผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอ คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช Material Type: printed text Authors: บุญทิวา สุวิทย์, Author ; ขจี พงศธรวิบูลย์, Author ; ชูจิต หวังขจรเกียรติ, Author ; สุณี พนาสกุลการ, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.194-202 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.194-202Keywords: การประเมินความต้องการจำเป็น. ความผาสุกทางจิตวิญญาณ. ผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอ. Needs assessment. spiritual well-being. Head and neck cancer patients. Abstract: การวิจัยนี้เป็นการวิจัยแบบพรรณนาเชิงประเมิน ศึกษาในผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอที่เข้ามารับการรักษาในหอผู้ป่วยโสต ศอ นาสิก คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราชจำนวน 86 คน เครื่องมือ ที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบ ประเมินความต้องการจำเป็นของความผาสุกทางจิตวิญญาณในผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอ ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา (content validity) มีค่า IOC = 1 ค่าความเชื่อมั่น (reliability) มีค่าสัมประสิทธิ์แอลฟา (Cronbach’s Alpha Coefficient) = 0.763 วิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงพรรณนา และ กำหนดความต้องการจำเป็นโดยใช้สูตร Prioritization Needs Index (PNIModified) ผลการวิจัยพบว่าความผาสุกทางจิตวิญญาณในผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอ ภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( = 3.86, SD = 0.52) และทุกองค์ประกอบของความผาสุกทางจิตวิญญาณอยู่ในระดับมาก อย่างไรก็ตามผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอมีความ ต้องการจำเป็นของความผาสุกทางจิตวิญญาณ 3 อันดับแรกคือ 1) รู้สึกว้าวุ่นใจ กระวนกระวายใจ และไม่มีความสุข ตั้งแต่รับรู้ว่า ตนเองเจ็บป่วย (PNIModified = 0.86) 2) แม้จะได้รับการรักษาแล้วแต่เมื่อโรคมีอาการรุนแรงขึ้น ก็ยังคงรู้สึกทุกข์ทรมานใจมากขึ้น (PNIModified = 0.77) และ 3) รู้สึกกลัวทุกครั้งเมื่อนึกถึงความเจ็บป่วยที่รุนแรง (PNIModified = 0.70) Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27243 [article] การประเมินความต้องการจำเป็นของความผาสุกทางจิตวิญญาณ ในผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอ คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช [printed text] / บุญทิวา สุวิทย์, Author ; ขจี พงศธรวิบูลย์, Author ; ชูจิต หวังขจรเกียรติ, Author ; สุณี พนาสกุลการ, Author . - 2017 . - p.194-202.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.194-202Keywords: การประเมินความต้องการจำเป็น. ความผาสุกทางจิตวิญญาณ. ผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอ. Needs assessment. spiritual well-being. Head and neck cancer patients. Abstract: การวิจัยนี้เป็นการวิจัยแบบพรรณนาเชิงประเมิน ศึกษาในผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอที่เข้ามารับการรักษาในหอผู้ป่วยโสต ศอ นาสิก คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราชจำนวน 86 คน เครื่องมือ ที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบ ประเมินความต้องการจำเป็นของความผาสุกทางจิตวิญญาณในผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอ ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา (content validity) มีค่า IOC = 1 ค่าความเชื่อมั่น (reliability) มีค่าสัมประสิทธิ์แอลฟา (Cronbach’s Alpha Coefficient) = 0.763 วิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงพรรณนา และ กำหนดความต้องการจำเป็นโดยใช้สูตร Prioritization Needs Index (PNIModified) ผลการวิจัยพบว่าความผาสุกทางจิตวิญญาณในผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอ ภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( = 3.86, SD = 0.52) และทุกองค์ประกอบของความผาสุกทางจิตวิญญาณอยู่ในระดับมาก อย่างไรก็ตามผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอมีความ ต้องการจำเป็นของความผาสุกทางจิตวิญญาณ 3 อันดับแรกคือ 1) รู้สึกว้าวุ่นใจ กระวนกระวายใจ และไม่มีความสุข ตั้งแต่รับรู้ว่า ตนเองเจ็บป่วย (PNIModified = 0.86) 2) แม้จะได้รับการรักษาแล้วแต่เมื่อโรคมีอาการรุนแรงขึ้น ก็ยังคงรู้สึกทุกข์ทรมานใจมากขึ้น (PNIModified = 0.77) และ 3) รู้สึกกลัวทุกครั้งเมื่อนึกถึงความเจ็บป่วยที่รุนแรง (PNIModified = 0.70) Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27243 การประเมินความเสี่ยงและการจัดการแผลที่เท้าในผู้ป่วยเบาหวาน / รุ่งศักดิ์ ศิรินิยมชัย in วารสารพยาบาลสาธารณสุข, Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 ([02/08/2017])
[article]
Title : การประเมินความเสี่ยงและการจัดการแผลที่เท้าในผู้ป่วยเบาหวาน : บทบาทพยาบาล Original title : Assessment of foot ulcer risk and nursing management in patients with diabetess the role of nurses Material Type: printed text Authors: รุ่งศักดิ์ ศิรินิยมชัย, Author ; พิมผกา ปัญโญใหญ่, Author ; สรัญญา พิจารณ์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.145-155 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสาธารณสุข > Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 [02/08/2017] . - p.145-155Keywords: ผู้ป่วยเบาหวาน.การจัดการแผลที่เท้า.การประเมินความเสี่ยง.บทบาทพยาบาล. Link for e-copy: http://phpn.ph.mahidol.ac.th/Journal/index.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26876 [article] การประเมินความเสี่ยงและการจัดการแผลที่เท้าในผู้ป่วยเบาหวาน = Assessment of foot ulcer risk and nursing management in patients with diabetess the role of nurses : บทบาทพยาบาล [printed text] / รุ่งศักดิ์ ศิรินิยมชัย, Author ; พิมผกา ปัญโญใหญ่, Author ; สรัญญา พิจารณ์, Author . - 2017 . - p.145-155.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)การประเมินประสิทธิผลของโปรแกรมการดูแลผู้ป่วยหลือดเลือดสมอง / สุปรีดา มั่นคง in วารสารพยาบาลสาธารณสุข, Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 ([02/08/2017])
[article]
Title : การประเมินประสิทธิผลของโปรแกรมการดูแลผู้ป่วยหลือดเลือดสมอง : และญาติผู้ดูแลในระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้าน Material Type: printed text Authors: สุปรีดา มั่นคง, Author ; ยุพาพิน ศิรโพธิ์งาม, Author ; สิริรัตน์ ลีลาจรัส, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.84-101 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสาธารณสุข > Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 [02/08/2017] . - p.84-101Keywords: ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง.ญาติผู้ดูแลผู้ป่วย.การดูแลระยะเปลี่ยนผ่าน.โรงพยาบาล. Abstract: เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง เพื่อศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง และญาติผู้ดูแลในระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้าน โดยการใช้การดูแลระยะเปลี่ยนผ่านตามแนวคิดของเนเลอร์ เป็นกรอบแนวคิดการวิจัย.
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ คือ กลุ่มผู้ป่วย และญาติผู้ดูแลตามเกณฑ์ แบ่งเป็นกลุ่มควบคุม 34 คู่ และกลุ่มทดลอง 40 คู่
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ
1)โปรแกรมการดูแลผู้ป่วยโรคหลือดเลือดสมองและญาติผู้ดูแลในระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้าน
2)แบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ป่วยและญาติผู้ดูแล
3)แบบประเมินความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน
4)แบบประเมินความพร้อมของญาติผู้ดูแล
5)แบบประเมินภาวะแทรกซ้อนของผู้ป่วย
6)แบบประเมินความมั่นใจในการดูแล
7)แบบประเมินความเครียดของญาติผู้ดูแล
8)แบบประเมินคุณภาพชีวิตของญาติผู้ดูแล
และ 9)แบบประเมินความพึงพอใจของผู้ป่วยและฐาติผู้ดูแล
ผลการศึกษา พบว่า ระยะ 1เ ดือน-3 เดือน หลังจำหน่าย ค่าเฉี่ยคะแนนความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวันของผู้ป่วย ความพร้อมของญาติผู้ดูแล และความพึงพอใจของผู้ป่วยและญาติผู้ดูแลในกลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และในระยะ 3 เดือนหลังจำหน่าย พบว่า ค่าเฉลี่ยคะแนนการปรับตัวและคุณภาพชีวิตของญาติผู้ดูแลในกลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
การศึกษาครั้งนี้ พบว่า โปรแกรมดังกล่าวสามารถนำไปปรับใช้กับการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองเสื่อมและญาติผู้ดูแลในระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้านได้Link for e-copy: http://phpn.ph.mahidol.ac.th/Journal/index.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26872 [article] การประเมินประสิทธิผลของโปรแกรมการดูแลผู้ป่วยหลือดเลือดสมอง : และญาติผู้ดูแลในระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้าน [printed text] / สุปรีดา มั่นคง, Author ; ยุพาพิน ศิรโพธิ์งาม, Author ; สิริรัตน์ ลีลาจรัส, Author . - 2017 . - p.84-101.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสาธารณสุข > Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 [02/08/2017] . - p.84-101Keywords: ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง.ญาติผู้ดูแลผู้ป่วย.การดูแลระยะเปลี่ยนผ่าน.โรงพยาบาล. Abstract: เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง เพื่อศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง และญาติผู้ดูแลในระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้าน โดยการใช้การดูแลระยะเปลี่ยนผ่านตามแนวคิดของเนเลอร์ เป็นกรอบแนวคิดการวิจัย.
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ คือ กลุ่มผู้ป่วย และญาติผู้ดูแลตามเกณฑ์ แบ่งเป็นกลุ่มควบคุม 34 คู่ และกลุ่มทดลอง 40 คู่
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ
1)โปรแกรมการดูแลผู้ป่วยโรคหลือดเลือดสมองและญาติผู้ดูแลในระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้าน
2)แบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ป่วยและญาติผู้ดูแล
3)แบบประเมินความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน
4)แบบประเมินความพร้อมของญาติผู้ดูแล
5)แบบประเมินภาวะแทรกซ้อนของผู้ป่วย
6)แบบประเมินความมั่นใจในการดูแล
7)แบบประเมินความเครียดของญาติผู้ดูแล
8)แบบประเมินคุณภาพชีวิตของญาติผู้ดูแล
และ 9)แบบประเมินความพึงพอใจของผู้ป่วยและฐาติผู้ดูแล
ผลการศึกษา พบว่า ระยะ 1เ ดือน-3 เดือน หลังจำหน่าย ค่าเฉี่ยคะแนนความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวันของผู้ป่วย ความพร้อมของญาติผู้ดูแล และความพึงพอใจของผู้ป่วยและญาติผู้ดูแลในกลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และในระยะ 3 เดือนหลังจำหน่าย พบว่า ค่าเฉลี่ยคะแนนการปรับตัวและคุณภาพชีวิตของญาติผู้ดูแลในกลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
การศึกษาครั้งนี้ พบว่า โปรแกรมดังกล่าวสามารถนำไปปรับใช้กับการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองเสื่อมและญาติผู้ดูแลในระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้านได้Link for e-copy: http://phpn.ph.mahidol.ac.th/Journal/index.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26872 การพยาบาลบุคคลที่มีภาวะช็อก / วิลาวัลย์ อุดมการเกษตร / กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยรังสิต - 2557
Title : การพยาบาลบุคคลที่มีภาวะช็อก Material Type: printed text Authors: วิลาวัลย์ อุดมการเกษตร, Author Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 1. Publisher: กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยรังสิต Publication Date: 2557 Pagination: 107 หน้า Layout: ภาพประกอบ Size: 26 ซม. ISBN (or other code): 978-6-16-768735-3 Price: 85.00 General note: School of Nursing Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ช็อค
[LCSH]ผู้ป่วย -- การดูแล
[LCSH]ผู้ป่วย -- การพยาบาลKeywords: ผู้ป่วย Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24544 การพยาบาลบุคคลที่มีภาวะช็อก [printed text] / วิลาวัลย์ อุดมการเกษตร, Author . - พิมพ์ครั้งที่ 1. . - กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยรังสิต, 2557 . - 107 หน้า : ภาพประกอบ ; 26 ซม.
ISBN : 978-6-16-768735-3 : 85.00
School of Nursing
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ช็อค
[LCSH]ผู้ป่วย -- การดูแล
[LCSH]ผู้ป่วย -- การพยาบาลKeywords: ผู้ป่วย Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24544 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000461911 RC685 ว719ก 2557 c.1 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000461945 RC685 ว719ก 2557 c.2 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000461937 RC685 ว719ก 2557 c.3 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000461960 RC685 ว719ก 2557 c.4 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000461952 RC685 ว719ก 2557 c.5 Book Main Library Nursing Shelf Available การพัฒนาคู่มือการกินยาด้วยตนเอง สำหรับผู้สูงอายุมุสลิมที่เป็นเบาหวาน / พัชณี สะแม in วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์, Vol.36 No.2 (May-Aug) 2016 ([12/27/2016])
[article]
Title : การพัฒนาคู่มือการกินยาด้วยตนเอง สำหรับผู้สูงอายุมุสลิมที่เป็นเบาหวาน Original title : Development of an oral medications self-management handbook for elderly muslim patients diabetes Material Type: printed text Authors: พัชณี สะแม, Author ; พัชรี คมจักรพันธุ์, Author ; ศิริวรรณ พิริยคุณธร, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.171-180. Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์ > Vol.36 No.2 (May-Aug) 2016 [12/27/2016] . - p.171-180.Keywords: การพัฒนาคู้มือ.การกินยาด่วยตนเอง.ผู้สูงอายุมุสลิม.ผู้ป่วยเบาหวาน. Link for e-copy: www.nur.psu.ac.th/journal/ Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25919 [article] การพัฒนาคู่มือการกินยาด้วยตนเอง สำหรับผู้สูงอายุมุสลิมที่เป็นเบาหวาน = Development of an oral medications self-management handbook for elderly muslim patients diabetes [printed text] / พัชณี สะแม, Author ; พัชรี คมจักรพันธุ์, Author ; ศิริวรรณ พิริยคุณธร, Author . - 2016 . - p.171-180.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์ > Vol.36 No.2 (May-Aug) 2016 [12/27/2016] . - p.171-180.Keywords: การพัฒนาคู้มือ.การกินยาด่วยตนเอง.ผู้สูงอายุมุสลิม.ผู้ป่วยเบาหวาน. Link for e-copy: www.nur.psu.ac.th/journal/ Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25919