From this page you can:
Home |
Search results
10 result(s) search for keyword(s) 'ยาเสพติด. การเสพซ้ำ. วัยรุ่นชาย.'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
รายงานการวิจัียเรื่อง เงื่อนไขของการกลับไปเสพซ้ำของผู้ป่วยวัยรุ่นชายที่ใช้ยาเสพติด / กรวิภา บุญสอาด / โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข - 2544
Title : รายงานการวิจัียเรื่อง เงื่อนไขของการกลับไปเสพซ้ำของผู้ป่วยวัยรุ่นชายที่ใช้ยาเสพติด Material Type: printed text Authors: กรวิภา บุญสอาด, Author ; ปราณี ศิริภูธร, Author Publisher: โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข Publication Date: 2544 Pagination: ก-ค, 44 หน้า Layout: ตารางประกอบ Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-774-016-8 Price: บริจาค. Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ผู้ป่วย -- ยาเสพติด -- การบำบัด
[LCSH]พฤติกรรมการใช้สารเสพติด -- ไทย -- วัยรุ่นชาย
[LCSH]ยาเสพติดกับเยาวชนKeywords: ยาเสพติด.
การเสพซ้ำ.
วัยรุ่นชาย.Class number: HV5840 ก177 2544 Abstract: การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์ต้องการศึกษาเงื่อนไขของการกลับไปเสพซ้ำของผู้ป่วยวัยรุ่นชายที่ มีอายุ 15-25 ปี ใช้ยาเสพติดและความสัมพันธ์ภายในครอบครัว ฐาติ เพื่อน สังคมและสิ่งแวดล้อม กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยที่เข้ารับการบำบัดรักษายาเสพติดซ้ำในขั้นถอนพิษยาที่ศูนย์บำบัดรักษายาเสพติด ตึกสามัญ I สามัญ II และตึกพิเศศ จังหวัดขอนแก่น จำนวน 18 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึุก ใช้แบบสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง ร่วมกับการบันทึกเสียง วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหามาและหาความสัมพันธ์ของเเนื้อหา
ผลการวิจัยพบว่า ผู้ป่วยวัยรุ่นชายกลับไปเสพซ้ำ มีสาเหตุมาจากมีการติดในฤทธิ์ของยาเสพติด โดยให้เหตุผลว่าเสพแล้วสบายใจ ติดใจในรสชาด หลับสบาย เสพแล้วไม่ง่วง มีเวลาว่างการดำเนินชีวิตซึ่งส่วนใหญ่ยังคิดว่ายาเสพติดให้คุณและประโยชน์กับตนเองมาก และพบว่าความสัีมพันธ์ภายในครอบครัว ไม่มีส่วนผลักดันให้วัยรุ่นอยากเลิกเนื่องจากครอบครัวแตกแยกบิดา มารดา มีลูกใหม่ ไม่มีเวลาให้กับบุตร บิดา มารดาลำเอียง รักลูกไม่เท่ากัน น้อยใจ ขาดกำลังใจ บุคลิกภาพของ pt และความต้องการของผู้ป่วย จึงทำให้วัยรุ่นกลับไปเสพซ้ำ
Curricular : BALA/BNS/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23298 รายงานการวิจัียเรื่อง เงื่อนไขของการกลับไปเสพซ้ำของผู้ป่วยวัยรุ่นชายที่ใช้ยาเสพติด [printed text] / กรวิภา บุญสอาด, Author ; ปราณี ศิริภูธร, Author . - [S.l.] : โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข, 2544 . - ก-ค, 44 หน้า : ตารางประกอบ ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-774-016-8 : บริจาค.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ผู้ป่วย -- ยาเสพติด -- การบำบัด
[LCSH]พฤติกรรมการใช้สารเสพติด -- ไทย -- วัยรุ่นชาย
[LCSH]ยาเสพติดกับเยาวชนKeywords: ยาเสพติด.
การเสพซ้ำ.
วัยรุ่นชาย.Class number: HV5840 ก177 2544 Abstract: การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์ต้องการศึกษาเงื่อนไขของการกลับไปเสพซ้ำของผู้ป่วยวัยรุ่นชายที่ มีอายุ 15-25 ปี ใช้ยาเสพติดและความสัมพันธ์ภายในครอบครัว ฐาติ เพื่อน สังคมและสิ่งแวดล้อม กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยที่เข้ารับการบำบัดรักษายาเสพติดซ้ำในขั้นถอนพิษยาที่ศูนย์บำบัดรักษายาเสพติด ตึกสามัญ I สามัญ II และตึกพิเศศ จังหวัดขอนแก่น จำนวน 18 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึุก ใช้แบบสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง ร่วมกับการบันทึกเสียง วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหามาและหาความสัมพันธ์ของเเนื้อหา
ผลการวิจัยพบว่า ผู้ป่วยวัยรุ่นชายกลับไปเสพซ้ำ มีสาเหตุมาจากมีการติดในฤทธิ์ของยาเสพติด โดยให้เหตุผลว่าเสพแล้วสบายใจ ติดใจในรสชาด หลับสบาย เสพแล้วไม่ง่วง มีเวลาว่างการดำเนินชีวิตซึ่งส่วนใหญ่ยังคิดว่ายาเสพติดให้คุณและประโยชน์กับตนเองมาก และพบว่าความสัีมพันธ์ภายในครอบครัว ไม่มีส่วนผลักดันให้วัยรุ่นอยากเลิกเนื่องจากครอบครัวแตกแยกบิดา มารดา มีลูกใหม่ ไม่มีเวลาให้กับบุตร บิดา มารดาลำเอียง รักลูกไม่เท่ากัน น้อยใจ ขาดกำลังใจ บุคลิกภาพของ pt และความต้องการของผู้ป่วย จึงทำให้วัยรุ่นกลับไปเสพซ้ำ
Curricular : BALA/BNS/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23298 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000355220 THE HV5840 ก177 2544 Thesis Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. การมีส่วนร่วมของประชาชนต่อโครงการเพื่อการต่อต้านยาเสพติดในเด็กนักเรียน กรณีศึกษาสถานศึกษาในเขตพื้นที่สถานีตำรวจนครบาลปทุมวัน กองบังคับการตำรวจนครบาล 6 / นุชจารี เรือนก้อน / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : การมีส่วนร่วมของประชาชนต่อโครงการเพื่อการต่อต้านยาเสพติดในเด็กนักเรียน กรณีศึกษาสถานศึกษาในเขตพื้นที่สถานีตำรวจนครบาลปทุมวัน กองบังคับการตำรวจนครบาล 6 Original title : People’s Participations in Drugs Abuse Resistance in Schools Program: A Case of Schools in Pathumwan Police Station Area, Metropolitan Police Division 6 Material Type: printed text Authors: นุชจารี เรือนก้อน, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: vii, 73 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-41
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การมีส่วนร่วมของประชาชน
[LCSH]ยาเสพติด -- การควบคุม
[LCSH]ยาเสพติดกับนักเรียนKeywords: การมีส่วนร่วม,
ต่อต้าน,
ยาเสพติด,
โรงเรียนAbstract: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับการมีส่วนร่วมของประชาชน และเพื่อศึกษาเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมของประชาชนต่อโครงการเพื่อการต่อต้านยาเสพติดในเด็กนักเรียน กลุ่มตัวอย่างเป็นประชาชนที่อาศัยอยู่ในเขตพื้นที่สถานีตำรวจนครบาลปทุมวัน จำนวน 400 คน ใช้สถิติเชิงพรรณาในการวิเคราะห์ข้อมูล และการวิเคราะห์ค่าความแปรปรวนทางเดียว (One-Way ANOVA) ในการทดสอบสมมุติฐาน
ผลการศึกษาพบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นผู้ชายมีอายุระหว่าง 26 – 35 ปี จบการศึกษาปริญญาตรี มีอาชีพเป็นพนักงานบริษัทเอกชน และมีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 10,000 - 20,000 บาท ผลการวิจัยยังพบว่าประชาชนที่อาศัยอยู่ในเขตพื้นที่สถานีตำรวจนครบาลปทุมวัน มีระดับการมีส่วนร่วมต่อโครงการเพื่อการต่อต้านยาเสพติดในเด็กนักเรียน ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านการมีส่วนร่วมในผลประโยชน์ รองลงมา คือ ด้านการมีส่วนร่วมในการประเมินผล ด้านการมีส่วนร่วมในการปฏิบัติการ และด้านการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ ตามลำดับ ส่วนการเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมของประชาชนที่มีต่อโครงการเพื่อการต่อต้านยาเสพติดในเด็กนักเรียน พบว่า ประชาชนที่มี เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ และรายได้เฉลี่ยต่อเดือนแตกต่างกันมีส่วนร่วมต่อโครงการเพื่อการต่อต้านยาเสพติดในเด็กนักเรียนไม่แตกต่างกันCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27269 SIU IS-T. การมีส่วนร่วมของประชาชนต่อโครงการเพื่อการต่อต้านยาเสพติดในเด็กนักเรียน กรณีศึกษาสถานศึกษาในเขตพื้นที่สถานีตำรวจนครบาลปทุมวัน กองบังคับการตำรวจนครบาล 6 = People’s Participations in Drugs Abuse Resistance in Schools Program: A Case of Schools in Pathumwan Police Station Area, Metropolitan Police Division 6 [printed text] / นุชจารี เรือนก้อน, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - vii, 73 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-41
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การมีส่วนร่วมของประชาชน
[LCSH]ยาเสพติด -- การควบคุม
[LCSH]ยาเสพติดกับนักเรียนKeywords: การมีส่วนร่วม,
ต่อต้าน,
ยาเสพติด,
โรงเรียนAbstract: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับการมีส่วนร่วมของประชาชน และเพื่อศึกษาเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมของประชาชนต่อโครงการเพื่อการต่อต้านยาเสพติดในเด็กนักเรียน กลุ่มตัวอย่างเป็นประชาชนที่อาศัยอยู่ในเขตพื้นที่สถานีตำรวจนครบาลปทุมวัน จำนวน 400 คน ใช้สถิติเชิงพรรณาในการวิเคราะห์ข้อมูล และการวิเคราะห์ค่าความแปรปรวนทางเดียว (One-Way ANOVA) ในการทดสอบสมมุติฐาน
ผลการศึกษาพบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นผู้ชายมีอายุระหว่าง 26 – 35 ปี จบการศึกษาปริญญาตรี มีอาชีพเป็นพนักงานบริษัทเอกชน และมีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 10,000 - 20,000 บาท ผลการวิจัยยังพบว่าประชาชนที่อาศัยอยู่ในเขตพื้นที่สถานีตำรวจนครบาลปทุมวัน มีระดับการมีส่วนร่วมต่อโครงการเพื่อการต่อต้านยาเสพติดในเด็กนักเรียน ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ด้านการมีส่วนร่วมในผลประโยชน์ รองลงมา คือ ด้านการมีส่วนร่วมในการประเมินผล ด้านการมีส่วนร่วมในการปฏิบัติการ และด้านการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจ ตามลำดับ ส่วนการเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมของประชาชนที่มีต่อโครงการเพื่อการต่อต้านยาเสพติดในเด็กนักเรียน พบว่า ประชาชนที่มี เพศ อายุ ระดับการศึกษา อาชีพ และรายได้เฉลี่ยต่อเดือนแตกต่างกันมีส่วนร่วมต่อโครงการเพื่อการต่อต้านยาเสพติดในเด็กนักเรียนไม่แตกต่างกันCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27269 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000594919 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-41 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available 32002000594927 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-41 c.2 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. การมีส่วนร่วมในการปราบปรามยาเสพติดของประชาชนใน เขตเทศบาลตำบลท่าฉาง / จงกล ซังธาดา / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2015
Collection Title: SIU IS-T Title : การมีส่วนร่วมในการปราบปรามยาเสพติดของประชาชนใน เขตเทศบาลตำบลท่าฉาง Original title : Residents’ Participation in Narcotics Suppression in Tambon Tha - Chang Municipal Area Material Type: printed text Authors: จงกล ซังธาดา, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; สมพร เพชรสงค์, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2015 Pagination: vii, 46 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2015-07
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2015.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ยาเสพติด -- การป้องกัน -- การมีส่วนร่วมของประชาชน Keywords: การมีส่วนร่วม,
การปราบปราม,
ยาเสพติดAbstract: การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับการมีส่วนร่วมในการปราบปรามยาเสพติดของประชาชนในเขตเทศบาลตำบลท่าฉาง และเพื่อเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมในการปราบปรามยาเสพติดของประชาชนในเขตเทศบาลตำบลท่าฉาง กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ประชาชน จำนวน 3 หมู่บ้าน มีจำนวน 8,445 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย โดยใช้แบบสอบถาม เป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพื้นฐาน ได้แก่ ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Means) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน t-test F-test
ผลการวิจัยพบว่า การมีส่วนร่วมของประชาชนในการปราบปรามยาเสพติดในเขตเทศบาลตำบลท่าฉาง ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ซึ่งเรียงอันดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย คือ ด้านการมีส่วนร่วมวางแผน ด้านการมีส่วนร่วมให้ความรู้ และด้านการมีส่วนร่วมปฏิบัติการ ผลการศึกษาการเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมของประชาชนในการปราบปรามยาเสพติดของในเขตเทศบาลตำบลท่าฉาง ที่มีปัจจัยส่วนบุคคลแตกต่างกัน การมีส่วนร่วมในการปราบปรามยาเสพติดของประชาชนในเขตเทศบาลตำบลท่าฉาง แตกต่างกัน นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26661 SIU IS-T. การมีส่วนร่วมในการปราบปรามยาเสพติดของประชาชนใน เขตเทศบาลตำบลท่าฉาง = Residents’ Participation in Narcotics Suppression in Tambon Tha - Chang Municipal Area [printed text] / จงกล ซังธาดา, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; สมพร เพชรสงค์, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2015 . - vii, 46 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2015-07
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2015.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ยาเสพติด -- การป้องกัน -- การมีส่วนร่วมของประชาชน Keywords: การมีส่วนร่วม,
การปราบปราม,
ยาเสพติดAbstract: การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับการมีส่วนร่วมในการปราบปรามยาเสพติดของประชาชนในเขตเทศบาลตำบลท่าฉาง และเพื่อเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมในการปราบปรามยาเสพติดของประชาชนในเขตเทศบาลตำบลท่าฉาง กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ประชาชน จำนวน 3 หมู่บ้าน มีจำนวน 8,445 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย โดยใช้แบบสอบถาม เป็นเครื่องมือในการเก็บข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพื้นฐาน ได้แก่ ค่าร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Means) และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน t-test F-test
ผลการวิจัยพบว่า การมีส่วนร่วมของประชาชนในการปราบปรามยาเสพติดในเขตเทศบาลตำบลท่าฉาง ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก ซึ่งเรียงอันดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย คือ ด้านการมีส่วนร่วมวางแผน ด้านการมีส่วนร่วมให้ความรู้ และด้านการมีส่วนร่วมปฏิบัติการ ผลการศึกษาการเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมของประชาชนในการปราบปรามยาเสพติดของในเขตเทศบาลตำบลท่าฉาง ที่มีปัจจัยส่วนบุคคลแตกต่างกัน การมีส่วนร่วมในการปราบปรามยาเสพติดของประชาชนในเขตเทศบาลตำบลท่าฉาง แตกต่างกัน นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26661 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000593184 SIU IS-T: IPAG-MPA-2015-07 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000593150 SIU IS-T: IPAG-MPA-2015-07 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. การศึกษาเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมของชุมชนในการป้องกันและแก้ไข ปัญหายาเสพติดเทศบาลธาตุทอง อำเภอบ่อทอง จังหวัดชลบุรี / กำพล ถนอมศักดิ์ดำรง / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2014
Collection Title: SIU IS-T Title : การศึกษาเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมของชุมชนในการป้องกันและแก้ไข ปัญหายาเสพติดเทศบาลธาตุทอง อำเภอบ่อทอง จังหวัดชลบุรี Original title : A Comparative Study of Community Participation in Preventing and Solving the Narcotics Problem in Thad Tong Municipal District, Bo Thong District, Chon Buri Province Material Type: printed text Authors: กำพล ถนอมศักดิ์ดำรง, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; วรเดช จันทรศร, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2014 Pagination: vii, 95 หน้า Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-25
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]Narcotics, Control of -- Thailand -- Chon Buri -- Thad Tong
[LCSH]Participation
[LCSH]ชุมชน -- การมีส่วนร่วม
[LCSH]ยาเสพติด -- การป้องกันและการแก้ปัญหาKeywords: การเปรียบเทียบ
การมีส่วนร่วม
การป้องกันและแก้ไขปัญหา
ยาเสพติด
จังหวัดชลบุรีAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมของชุมชนในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพย์ติด Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26106 SIU IS-T. การศึกษาเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมของชุมชนในการป้องกันและแก้ไข ปัญหายาเสพติดเทศบาลธาตุทอง อำเภอบ่อทอง จังหวัดชลบุรี = A Comparative Study of Community Participation in Preventing and Solving the Narcotics Problem in Thad Tong Municipal District, Bo Thong District, Chon Buri Province [printed text] / กำพล ถนอมศักดิ์ดำรง, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; วรเดช จันทรศร, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014 . - vii, 95 หน้า : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-25
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]Narcotics, Control of -- Thailand -- Chon Buri -- Thad Tong
[LCSH]Participation
[LCSH]ชุมชน -- การมีส่วนร่วม
[LCSH]ยาเสพติด -- การป้องกันและการแก้ปัญหาKeywords: การเปรียบเทียบ
การมีส่วนร่วม
การป้องกันและแก้ไขปัญหา
ยาเสพติด
จังหวัดชลบุรีAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมของชุมชนในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพย์ติด Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26106 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000590289 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-25 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000590255 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-25 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available 32002000590628 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-25 c.3 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available 32002000591477 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-25 c.4 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available กลวิธีในการปฎิเสธการมีเพศสัีมพันธ์ของวัยรุ่นหญิงตามประสบการณ์ของวัยรุ่นชาย / ภาภาดา อรุณรัตน์ / 2552
Title : กลวิธีในการปฎิเสธการมีเพศสัีมพันธ์ของวัยรุ่นหญิงตามประสบการณ์ของวัยรุ่นชาย Original title : Ways of adolescent female's refusal having sexual relation based on adolescent male's experiences Material Type: printed text Authors: ภาภาดา อรุณรัตน์, Author Publication Date: 2552 Pagination: 112 แผ่น Layout: ตารางประกอบ. Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย. ม [การพยาบาลเวชปฎิบัติชุมชน]]-- มหาวิทยาลัยนเรศวร 2552 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การสำรวจพฤติกรรมทางเพศ -- ไทย -- พิจิตร
[LCSH]เพศสัมพันธ์Keywords: เพศสัมพันธ์.
วัยรุ่นหญิง.
วัยรุ่นชาย.Class number: HQ60 ภ676 2552 Abstract: เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพแบบปรากฏการณ์วิทยาครั้งนี้ เื่ื่ื่พื่อทำความเข้าใจและอธิบายถึงกลวิธีในการปฏิเสธการมีเพศสัมพันธ์ของวัยรุ่นหญิงตามประสบการณ์ของวัยรุ่นชาย และอธิบายถึงพฤติกรรมของวัยรุ่นหญิงตามประสบการณ์ของวัยรุ่นชายที่ไม่สามารถชักจูงให้มีเพศสัมพันธ์ได้ ผู้ให้ข้อมูลเป็นวัยรุ่นชายที่ำกำลังศึกษาในระดับมัธยมศึก๋ษาตอนปลาย อ. วิชรบารมี จังหวัดพิจิตร อายุระหว่าง 15-18 ปี ที่เคยมีประสบการณ์การมีเพศสัมพันธ์กับวัยรุ่นหญิงมาแล้ว จำนวน 11 ราย เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึก วิเคราะห์ข้อมูลโดยวิธีการของโคไลซี่ พบว่า วัยรุ่นชายให้ความหมายของการมีเพศสัมพันธ์ 2 ลักษณะคือ เป็นความสนุกปลดปล่อยอารมณ์ และได้ร่วมเพศโดยไม่ได้เลือกว่าเป็นผู้หญิงที่ีรักหรือไม่รัก โดยมีขั้นตอน 4 ขั้นตอน ตีสนิท ตามจีบ นัดพบ และกระตุ้นรุกเร้าอารมณ์จนสมยอม และกลวิธีปฏิเสธของวัยรุ่นหญิงที่วัยรุ่นชายไม่สามารถชักจูงให้มีเพศสัมพันธ์ได้มี 3 พฤติกรรม คือ เป็นคนโมโหร้ายและแสดงท่าทางรังเกียจ เป็นคนเงียบเฉย และเรียบร้อย และเป็นคนไม่เที่ยวเตรชอบอยู่กับพ่อ และแม่ Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23234 กลวิธีในการปฎิเสธการมีเพศสัีมพันธ์ของวัยรุ่นหญิงตามประสบการณ์ของวัยรุ่นชาย = Ways of adolescent female's refusal having sexual relation based on adolescent male's experiences [printed text] / ภาภาดา อรุณรัตน์, Author . - 2552 . - 112 แผ่น : ตารางประกอบ. ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย. ม [การพยาบาลเวชปฎิบัติชุมชน]]-- มหาวิทยาลัยนเรศวร 2552
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การสำรวจพฤติกรรมทางเพศ -- ไทย -- พิจิตร
[LCSH]เพศสัมพันธ์Keywords: เพศสัมพันธ์.
วัยรุ่นหญิง.
วัยรุ่นชาย.Class number: HQ60 ภ676 2552 Abstract: เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพแบบปรากฏการณ์วิทยาครั้งนี้ เื่ื่ื่พื่อทำความเข้าใจและอธิบายถึงกลวิธีในการปฏิเสธการมีเพศสัมพันธ์ของวัยรุ่นหญิงตามประสบการณ์ของวัยรุ่นชาย และอธิบายถึงพฤติกรรมของวัยรุ่นหญิงตามประสบการณ์ของวัยรุ่นชายที่ไม่สามารถชักจูงให้มีเพศสัมพันธ์ได้ ผู้ให้ข้อมูลเป็นวัยรุ่นชายที่ำกำลังศึกษาในระดับมัธยมศึก๋ษาตอนปลาย อ. วิชรบารมี จังหวัดพิจิตร อายุระหว่าง 15-18 ปี ที่เคยมีประสบการณ์การมีเพศสัมพันธ์กับวัยรุ่นหญิงมาแล้ว จำนวน 11 ราย เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึก วิเคราะห์ข้อมูลโดยวิธีการของโคไลซี่ พบว่า วัยรุ่นชายให้ความหมายของการมีเพศสัมพันธ์ 2 ลักษณะคือ เป็นความสนุกปลดปล่อยอารมณ์ และได้ร่วมเพศโดยไม่ได้เลือกว่าเป็นผู้หญิงที่ีรักหรือไม่รัก โดยมีขั้นตอน 4 ขั้นตอน ตีสนิท ตามจีบ นัดพบ และกระตุ้นรุกเร้าอารมณ์จนสมยอม และกลวิธีปฏิเสธของวัยรุ่นหญิงที่วัยรุ่นชายไม่สามารถชักจูงให้มีเพศสัมพันธ์ได้มี 3 พฤติกรรม คือ เป็นคนโมโหร้ายและแสดงท่าทางรังเกียจ เป็นคนเงียบเฉย และเรียบร้อย และเป็นคนไม่เที่ยวเตรชอบอยู่กับพ่อ และแม่ Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23234 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354801 HQ60 ภ676 2552 Thesis Main Library Thesis Corner Available รายงานการวิจัยเรื่อง กระบวนการกลายเป็นผู้ติดยาบ้าของวัยรุ่นชาย / สุกุมา แสงเดือนฉาย / โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข - 2544
Title : รายงานการวิจัยเรื่อง กระบวนการกลายเป็นผู้ติดยาบ้าของวัยรุ่นชาย Material Type: printed text Authors: สุกุมา แสงเดือนฉาย, Author ; ขนิ็ิษฐา ขันตี, Author ; ฉวีวรรณ ปัญจบุศย์, Author Publisher: โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข Publication Date: 2544 Pagination: 71 แผ่น Layout: ตาราง. Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-774-009-5 Price: บริจาค. Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การควบคุมยาเสพติด -- ไทย
[LCSH]พฤติกรรมการใช้สารเสพติดประเภทยาบ้า -- ไทย
[LCSH]พฤติกรรมการใช้แอมฟิตะมีนในทางที่ผิด -- ไทย
[LCSH]ยาบ้า -- การบำบัดKeywords: ยาบ้า
วัยรุ่นชาย.
การเสพ.
การบำบัด.
พฤติกรรม.Class number: HV5840 ส841 2544 Abstract: เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ เพื่อศึกษากระบวนการกลายเป็นผู้ติดยาบ้า และปัจจัยที่ทำให้มีการพัฒนาในการเสพยาบ้า ตั้งแต่ระยะปลูกฝัง ระยะเสพ และระยะเสพประจำของวัยรุ่นชาย อันจะนำไปสู่แนวทางป้องกันและการวางแผนในการดูแลบำบัดรักษาผู้เสพติดยาเสพติด เพื่อให้เลิกยาบ้าได้อย่างถาวร กลุ่มตัวอย่าง คือ วัยรุ่นชายอายุ 15-19 ปี ที่เข้ารับการบำบัดรักษายาบ้าในระยะบำบัดด้วยยา ในโรงพยาบาลธัญญารักษ์ระหว่างเดือนมีนาคม - เมษายน 2544 จำนวน 8 รายเก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์มาวิเคราะห์ กระบวนการกลายเป็นผู้เสพติดยาบ้าในวัยรุ่นชาย
ผลการวิจัย พบว่า การเกิดกระบวนการกลายเป็นผู้เสพติดยาบ้า ประกอบด้วย 3 ขั้นตอน คือ ระยะปลูกฝัง ซึ่งเป็นระยะที่หล่อหลอมความคิด ความรู้สึก ค่านิยมของวัยรุ่นที่มีต่อยาบ้าแล้วดำเนินผ่านจากระยะปลูกฝังสู่ีระยะเีริ่มเสพ ซึ่งเป็นการลองเสพในครั้งแรก โดยมีปัจจัยสาเหตุต่าง ๆ เช่น เพื่อนชวน อยากลอง สัมภันธภาพในครอบครัวไม่ดี และมีการเสพครั้งต่อ ๆ ไป เนื่องจากติดใจในรสชาดของยาบ้า มองว่ายาบ้าใช้ แล้วไม่ติด ทำให้การเสพเข้าสู่ระยะเสพประจำ ระยะนี้จะมีการเพิ่มปริมาณ และจำนวนครั้งของการเสพมากขึ้น มีความต้องการพึ่งพายาบ้าทั้งร่างกาย และจิตใจเป็นผู้เสพติดยาบ้าในที่สุด
ผลการวิจัยครั้งนี้มีข้อเสนอแนะว่า ควรพัฒนานโยบายในการแก้ไขปัญหาอย่างครบวงจร โดยเฉพาะการป้องกันตั้งแต่ระยะปลูกฝัง ก่อนที่เยาวชนจะเข้าสู่กระบวนการกลายเป็นผู้ติดยาบ้าใหมีความรู้ ความคิด ทัศนคติ และค่านิยม ที่ถูกต้องเกี่ยวกับยาเสพติดในทุกระบบ และประสานความร่วมมือทุกหน่วยงานทั้งภาคเอกชน และรัฐบาลในการแก้ปัญหาอย่างจริงจังCurricular : BALA/BNS/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23296 รายงานการวิจัยเรื่อง กระบวนการกลายเป็นผู้ติดยาบ้าของวัยรุ่นชาย [printed text] / สุกุมา แสงเดือนฉาย, Author ; ขนิ็ิษฐา ขันตี, Author ; ฉวีวรรณ ปัญจบุศย์, Author . - [S.l.] : โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข, 2544 . - 71 แผ่น : ตาราง. ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-774-009-5 : บริจาค.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การควบคุมยาเสพติด -- ไทย
[LCSH]พฤติกรรมการใช้สารเสพติดประเภทยาบ้า -- ไทย
[LCSH]พฤติกรรมการใช้แอมฟิตะมีนในทางที่ผิด -- ไทย
[LCSH]ยาบ้า -- การบำบัดKeywords: ยาบ้า
วัยรุ่นชาย.
การเสพ.
การบำบัด.
พฤติกรรม.Class number: HV5840 ส841 2544 Abstract: เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ เพื่อศึกษากระบวนการกลายเป็นผู้ติดยาบ้า และปัจจัยที่ทำให้มีการพัฒนาในการเสพยาบ้า ตั้งแต่ระยะปลูกฝัง ระยะเสพ และระยะเสพประจำของวัยรุ่นชาย อันจะนำไปสู่แนวทางป้องกันและการวางแผนในการดูแลบำบัดรักษาผู้เสพติดยาเสพติด เพื่อให้เลิกยาบ้าได้อย่างถาวร กลุ่มตัวอย่าง คือ วัยรุ่นชายอายุ 15-19 ปี ที่เข้ารับการบำบัดรักษายาบ้าในระยะบำบัดด้วยยา ในโรงพยาบาลธัญญารักษ์ระหว่างเดือนมีนาคม - เมษายน 2544 จำนวน 8 รายเก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์มาวิเคราะห์ กระบวนการกลายเป็นผู้เสพติดยาบ้าในวัยรุ่นชาย
ผลการวิจัย พบว่า การเกิดกระบวนการกลายเป็นผู้เสพติดยาบ้า ประกอบด้วย 3 ขั้นตอน คือ ระยะปลูกฝัง ซึ่งเป็นระยะที่หล่อหลอมความคิด ความรู้สึก ค่านิยมของวัยรุ่นที่มีต่อยาบ้าแล้วดำเนินผ่านจากระยะปลูกฝังสู่ีระยะเีริ่มเสพ ซึ่งเป็นการลองเสพในครั้งแรก โดยมีปัจจัยสาเหตุต่าง ๆ เช่น เพื่อนชวน อยากลอง สัมภันธภาพในครอบครัวไม่ดี และมีการเสพครั้งต่อ ๆ ไป เนื่องจากติดใจในรสชาดของยาบ้า มองว่ายาบ้าใช้ แล้วไม่ติด ทำให้การเสพเข้าสู่ระยะเสพประจำ ระยะนี้จะมีการเพิ่มปริมาณ และจำนวนครั้งของการเสพมากขึ้น มีความต้องการพึ่งพายาบ้าทั้งร่างกาย และจิตใจเป็นผู้เสพติดยาบ้าในที่สุด
ผลการวิจัยครั้งนี้มีข้อเสนอแนะว่า ควรพัฒนานโยบายในการแก้ไขปัญหาอย่างครบวงจร โดยเฉพาะการป้องกันตั้งแต่ระยะปลูกฝัง ก่อนที่เยาวชนจะเข้าสู่กระบวนการกลายเป็นผู้ติดยาบ้าใหมีความรู้ ความคิด ทัศนคติ และค่านิยม ที่ถูกต้องเกี่ยวกับยาเสพติดในทุกระบบ และประสานความร่วมมือทุกหน่วยงานทั้งภาคเอกชน และรัฐบาลในการแก้ปัญหาอย่างจริงจังCurricular : BALA/BNS/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23296 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354819 THE HV5840 ส841 2544 Book Main Library General Shelf Available รายงานการวิจัยเรื่อง การรับรู้และการช่วยเหลือของพ่อแม่ที่มีบุตรชายวัยรุ่นเสพติดยาบ้า / วันเพ็ญ ใจปทุม / โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข - 2544
Title : รายงานการวิจัยเรื่อง การรับรู้และการช่วยเหลือของพ่อแม่ที่มีบุตรชายวัยรุ่นเสพติดยาบ้า Material Type: printed text Authors: วันเพ็ญ ใจปทุม, Author ; สุภาริณีย์ สายแสงทอง, Author ; ศศลักษณ์ กล้าไพรี, Author Publisher: โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข Publication Date: 2544 Pagination: 63 หน้า. Layout: ตารางประกอบ. Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-774-028-1 Price: บริจาค. Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]พฤติกรรมการใช้สารเสพติดประเภทยาบ้า -- ไทย
[LCSH]ยาบ้า -- การบำบัีด
[LCSH]ยาบ้า -- การเสพติดKeywords: การรับรู้.
วัยรุ่นชาย.
การเสพยา.Class number: HV5840 ว715 2544 Abstract: เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา คือพ่อ แม่ที่มีบุตรชายวัยรุ่นเสพติดยาบ้า อายุระหว่าง 15-19 ปี ตึกโกเมน โรงพยาบาลธัญญารักษ์ จำนวน 20 คน โดยวิธีการสัมภาษณ์เชิงลึก แบบกึ่งโครงสร้าง เป็นรายบุคคลโดยการสัมภาษณ์พร้อมกับทั้งพ่อและแม่ เพื่อให้ได้ข้อมูลเป็นจริงและการใช้คำถามเดียวกันทั้งพ่อแม่ที่บ่งบอกถึงการรับรู้ การให้ความหมายเกี่ยวกับยาบ้าและพฤติกรรมการช่วยเหลือของพ่อแม่ที่แตกต่างกันออกไป ข้อมูลที่ได้จ้ากการสัมภาษณ์นำมาประมวล และวิเคราะห์เพื่อหาคำอธิบายพฤติกรรมที่เกิดขึ้น
ผลจากการศึกษาพบว่า การรับรู้ของพ่อแม่เกี่ยวกับความหมายของยาบ้า พ่อ แม่ให้ความหมายของยาบ้าในทางที่ไม่ดี คือ ยาบ้าเมื่อเสพเข้าไปแล้วทำให้เกิดผลกระทบทั้งต่อร่างกายและจิตใจ พฤติกรรมทำให้สังคมไม่ยอมนับ ส่วนความหมายของยาบ้าในทางที่ดี คือ ใช้แล้วขยันทำงาน ไม่หลับ ร่างกายกระปรี้ กระเปร่า ซึ่งพ่อบางคนรับรู้โดยประสบการณ์ตรง คือ การทดลองใช้ และมีแม่บางรายไม่สามารถบอกความหมายของยาบ้าได้ เนื่องจากไม่ทราบ หรือรู้จักมาก่อน
การรับรู้ว่าลูกติดยาบ้าของพ่อแม่ รับรู้โดยการสังเกตจาก อาการทางร่างกาย จิตใจ และพฤติกรรม มีผู้อื่นมาบอก เช่น ครู และเพื่อนบ้าน จึงทราบว่าลูกเสพยาบ้า
ความรู้สึกของพ่อแม่เมื่อรู้ว่าลูกติดยา ความรู้สึกแรกที่พบ คือ รู้สึกเสียใจมาก บางรายโกรธถึงขั้นทุบตีลูก โทษตนเองว่าดูแลลูกไม่ดี น้อยใจที่ลูกไม่เชื่อฟัง รู้สึกท้อแท้กลัวลูกจะรักษาไมาหาย อายกลัวเสียชื่อเสียง
การค้นหาสาเหตุ จากการศึกษาพบว่า สาเหตุที่ทำให้ลูกติดยาคือ การคบเพื่อนที่ติดยาเสพติด และพฤติกรรมเกเร มีสมาชิกในครอบครัวที่ติดยาบ้า จึงมีพฤติกรรมที่เลียนแบบ ติดจาการมีโรคประจำตัว มีปมด้อย เช่น หอบหืด ชัก พ่อแม่ไม่เข้าใจลูกไม่ฟังเหตุผล พ่อแม่ไม่มีเวลาดูลูก ให้เงินลูกมากเกินไป อุปนิสัยของลูกชอบประชด พ่อแม่ตามใจ หรือบีบบังคับมากเกินไปCurricular : BALA/BNS/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23300 รายงานการวิจัยเรื่อง การรับรู้และการช่วยเหลือของพ่อแม่ที่มีบุตรชายวัยรุ่นเสพติดยาบ้า [printed text] / วันเพ็ญ ใจปทุม, Author ; สุภาริณีย์ สายแสงทอง, Author ; ศศลักษณ์ กล้าไพรี, Author . - [S.l.] : โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข, 2544 . - 63 หน้า. : ตารางประกอบ. ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-774-028-1 : บริจาค.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]พฤติกรรมการใช้สารเสพติดประเภทยาบ้า -- ไทย
[LCSH]ยาบ้า -- การบำบัีด
[LCSH]ยาบ้า -- การเสพติดKeywords: การรับรู้.
วัยรุ่นชาย.
การเสพยา.Class number: HV5840 ว715 2544 Abstract: เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา คือพ่อ แม่ที่มีบุตรชายวัยรุ่นเสพติดยาบ้า อายุระหว่าง 15-19 ปี ตึกโกเมน โรงพยาบาลธัญญารักษ์ จำนวน 20 คน โดยวิธีการสัมภาษณ์เชิงลึก แบบกึ่งโครงสร้าง เป็นรายบุคคลโดยการสัมภาษณ์พร้อมกับทั้งพ่อและแม่ เพื่อให้ได้ข้อมูลเป็นจริงและการใช้คำถามเดียวกันทั้งพ่อแม่ที่บ่งบอกถึงการรับรู้ การให้ความหมายเกี่ยวกับยาบ้าและพฤติกรรมการช่วยเหลือของพ่อแม่ที่แตกต่างกันออกไป ข้อมูลที่ได้จ้ากการสัมภาษณ์นำมาประมวล และวิเคราะห์เพื่อหาคำอธิบายพฤติกรรมที่เกิดขึ้น
ผลจากการศึกษาพบว่า การรับรู้ของพ่อแม่เกี่ยวกับความหมายของยาบ้า พ่อ แม่ให้ความหมายของยาบ้าในทางที่ไม่ดี คือ ยาบ้าเมื่อเสพเข้าไปแล้วทำให้เกิดผลกระทบทั้งต่อร่างกายและจิตใจ พฤติกรรมทำให้สังคมไม่ยอมนับ ส่วนความหมายของยาบ้าในทางที่ดี คือ ใช้แล้วขยันทำงาน ไม่หลับ ร่างกายกระปรี้ กระเปร่า ซึ่งพ่อบางคนรับรู้โดยประสบการณ์ตรง คือ การทดลองใช้ และมีแม่บางรายไม่สามารถบอกความหมายของยาบ้าได้ เนื่องจากไม่ทราบ หรือรู้จักมาก่อน
การรับรู้ว่าลูกติดยาบ้าของพ่อแม่ รับรู้โดยการสังเกตจาก อาการทางร่างกาย จิตใจ และพฤติกรรม มีผู้อื่นมาบอก เช่น ครู และเพื่อนบ้าน จึงทราบว่าลูกเสพยาบ้า
ความรู้สึกของพ่อแม่เมื่อรู้ว่าลูกติดยา ความรู้สึกแรกที่พบ คือ รู้สึกเสียใจมาก บางรายโกรธถึงขั้นทุบตีลูก โทษตนเองว่าดูแลลูกไม่ดี น้อยใจที่ลูกไม่เชื่อฟัง รู้สึกท้อแท้กลัวลูกจะรักษาไมาหาย อายกลัวเสียชื่อเสียง
การค้นหาสาเหตุ จากการศึกษาพบว่า สาเหตุที่ทำให้ลูกติดยาคือ การคบเพื่อนที่ติดยาเสพติด และพฤติกรรมเกเร มีสมาชิกในครอบครัวที่ติดยาบ้า จึงมีพฤติกรรมที่เลียนแบบ ติดจาการมีโรคประจำตัว มีปมด้อย เช่น หอบหืด ชัก พ่อแม่ไม่เข้าใจลูกไม่ฟังเหตุผล พ่อแม่ไม่มีเวลาดูลูก ให้เงินลูกมากเกินไป อุปนิสัยของลูกชอบประชด พ่อแม่ตามใจ หรือบีบบังคับมากเกินไปCurricular : BALA/BNS/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23300 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354892 HV5840 ว715 2544 Book Main Library General Shelf Available รายงานการวิจัยเรื่อง ประสบการณ์เสพติดยาบ้าซ้ำในผู้ป่วยวัยรุ่นชายโรงพยาบาลธัญญารักษ์ / จำเนียร แบ้กระโทก / โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข - 2544
Title : รายงานการวิจัยเรื่อง ประสบการณ์เสพติดยาบ้าซ้ำในผู้ป่วยวัยรุ่นชายโรงพยาบาลธัญญารักษ์ Material Type: printed text Authors: จำเนียร แบ้กระโทก, Author ; รัชนีพร จันทร์มณี, Author ; อำพร คำตา, Author Publisher: โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข Publication Date: 2544 Pagination: 37 แผ่น Layout: ตาราง. Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-774-020-6 Price: บริจาค. Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]พฤติกรรมการใช้สารเสพติดประเภทยาบ้า -- ไทย
[LCSH]ยาบ้า -- การบำบัีด
[LCSH]ยาบ้า -- การเสพติด
[LCSH]ยาเสพติดกับเยาวชน
[LCSH]วัยรุ่น -- ยาเสพติดKeywords: วัยรุ่นชาย.
ย้าบ้า
การเสพติด.
การบำบัด.Class number: HV5840 จ225 2544 Abstract: งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาประสบการณ์ของผู้เสพติดยาบ้าซ้ำในผู้ป่วยวัยรุ่นชาย โดยกลุ่มตัวอย่างคือ วัยรุ่นชายที่เสพติดยาบ้าซ้ำตั้งแต่ 2-4 ครั้ง อายุระหว่าง 16-21 ปี ที่เข้ารัีบการบำบัดรักษาในระยะจู.ใจในโรงพยาบาลธัญญารักษ์ ระหว่างเดือนมีนาคม - พฤษภาคม 2544 จำนวน 8 ราย เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกและนำข้อมูลจากการสัมภาษณ์มาวิเคราะห์ประสบการณ์การเสพติดยาบ้าซ้ำในวัยรุ่น
ผลการวิจัยพบว่า สาเหตุของการใช้ยาบ้าครั้งแรก คือ อยากลอง และการที่เพื่อนชวนเพื่อให้เป็นที่ยอมรับของกลุ่มเพื่อน ส่วนสาเหตุของการเสพติดยาบ้่าซ้ำประำกอบด้วย ความรู้สึกที่ยังคงติดใจในรสชาิดของยาบ้า เมื่อเพื่อนชวนจึงไม่อาจปฎิเสธหรือห้ามใจตนเองได้ ด้านครอบครัวนั้นสัมพันธภาพในครอบครัวไม่ดี ครอบครัวแตกแยก ไม่มีเวลาให้กัน หรือคอยดุด่าเป็นประจำทำให้ขาดความเข้าใจ คอยหวาดระแวงซึ่งกันและกัน และขาดความอบอุ่น นอกจากนัี้้นแลัวสภาพแวดล้อมที่มียาเสพติดจำหน่าย เป็นสิ่งกระตุ้นให้ไม่สามารถที่จะหยุดยาได้ เพราะเป็นตัวกระตุ้นและแรงผลักดันให้นึกถึงยาเสพติดอีก และอยากกลับไปใช้ยาเสพติด การที่เพื่อนบ้านยังไม่ให้ความไว้วางใจหวาดระแวงที่จะชักชวนบุตรหลานไปเสพร่วมด้วยเป็นส่วนหนึ่งที่ทำให้วัยุร่นกดดันและนำไปสู่การใช้ยาเสพติดซ้ำ ประการสำคัญคือ การคบเพื่อนกลุ่มเดิม ซึ่งส่งผลให้มีความอยากลองตามการฃักชวนและไม่กล้าที่จะปฎิเสธขัดใจเพื่อน กลัวเพื่อนไม่ยอมรับ ดังนั้นอาจกล่าวได้ว่าแบบแผนการดำเนินชีวิตภายหลังการรักษายาเสพติดแล้วไม่ต่างจากเดิม คือ การอยู่ในสังคมเดิม การไม่มีงานทำ การว่างจากการเรียน หรือคบเพื่อนกลุ่มเดิม ทำให้ความตั้งใจในการเลิกเสพตติดยานั้นเปลี่ยนไป แต่ทั้งนี้วัยรุ่นเหล่านี้ต่างมีความหวังและเป้าหมายหลักงเข้ารับการรักษา เมื่ออกไปจากโรงพยาบาลคือ ต้องการเรียนต่อเพื่อทำงานที่มั่นคง และครอบครัวให้โอกาสในการปรับปรุงชีวิตใหม่Curricular : BALA/BNS/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23299 รายงานการวิจัยเรื่อง ประสบการณ์เสพติดยาบ้าซ้ำในผู้ป่วยวัยรุ่นชายโรงพยาบาลธัญญารักษ์ [printed text] / จำเนียร แบ้กระโทก, Author ; รัชนีพร จันทร์มณี, Author ; อำพร คำตา, Author . - [S.l.] : โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข, 2544 . - 37 แผ่น : ตาราง. ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-774-020-6 : บริจาค.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]พฤติกรรมการใช้สารเสพติดประเภทยาบ้า -- ไทย
[LCSH]ยาบ้า -- การบำบัีด
[LCSH]ยาบ้า -- การเสพติด
[LCSH]ยาเสพติดกับเยาวชน
[LCSH]วัยรุ่น -- ยาเสพติดKeywords: วัยรุ่นชาย.
ย้าบ้า
การเสพติด.
การบำบัด.Class number: HV5840 จ225 2544 Abstract: งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาประสบการณ์ของผู้เสพติดยาบ้าซ้ำในผู้ป่วยวัยรุ่นชาย โดยกลุ่มตัวอย่างคือ วัยรุ่นชายที่เสพติดยาบ้าซ้ำตั้งแต่ 2-4 ครั้ง อายุระหว่าง 16-21 ปี ที่เข้ารัีบการบำบัดรักษาในระยะจู.ใจในโรงพยาบาลธัญญารักษ์ ระหว่างเดือนมีนาคม - พฤษภาคม 2544 จำนวน 8 ราย เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกและนำข้อมูลจากการสัมภาษณ์มาวิเคราะห์ประสบการณ์การเสพติดยาบ้าซ้ำในวัยรุ่น
ผลการวิจัยพบว่า สาเหตุของการใช้ยาบ้าครั้งแรก คือ อยากลอง และการที่เพื่อนชวนเพื่อให้เป็นที่ยอมรับของกลุ่มเพื่อน ส่วนสาเหตุของการเสพติดยาบ้่าซ้ำประำกอบด้วย ความรู้สึกที่ยังคงติดใจในรสชาิดของยาบ้า เมื่อเพื่อนชวนจึงไม่อาจปฎิเสธหรือห้ามใจตนเองได้ ด้านครอบครัวนั้นสัมพันธภาพในครอบครัวไม่ดี ครอบครัวแตกแยก ไม่มีเวลาให้กัน หรือคอยดุด่าเป็นประจำทำให้ขาดความเข้าใจ คอยหวาดระแวงซึ่งกันและกัน และขาดความอบอุ่น นอกจากนัี้้นแลัวสภาพแวดล้อมที่มียาเสพติดจำหน่าย เป็นสิ่งกระตุ้นให้ไม่สามารถที่จะหยุดยาได้ เพราะเป็นตัวกระตุ้นและแรงผลักดันให้นึกถึงยาเสพติดอีก และอยากกลับไปใช้ยาเสพติด การที่เพื่อนบ้านยังไม่ให้ความไว้วางใจหวาดระแวงที่จะชักชวนบุตรหลานไปเสพร่วมด้วยเป็นส่วนหนึ่งที่ทำให้วัยุร่นกดดันและนำไปสู่การใช้ยาเสพติดซ้ำ ประการสำคัญคือ การคบเพื่อนกลุ่มเดิม ซึ่งส่งผลให้มีความอยากลองตามการฃักชวนและไม่กล้าที่จะปฎิเสธขัดใจเพื่อน กลัวเพื่อนไม่ยอมรับ ดังนั้นอาจกล่าวได้ว่าแบบแผนการดำเนินชีวิตภายหลังการรักษายาเสพติดแล้วไม่ต่างจากเดิม คือ การอยู่ในสังคมเดิม การไม่มีงานทำ การว่างจากการเรียน หรือคบเพื่อนกลุ่มเดิม ทำให้ความตั้งใจในการเลิกเสพตติดยานั้นเปลี่ยนไป แต่ทั้งนี้วัยรุ่นเหล่านี้ต่างมีความหวังและเป้าหมายหลักงเข้ารับการรักษา เมื่ออกไปจากโรงพยาบาลคือ ต้องการเรียนต่อเพื่อทำงานที่มั่นคง และครอบครัวให้โอกาสในการปรับปรุงชีวิตใหม่Curricular : BALA/BNS/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23299 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354827 THE HV5840 จ225 2544 Thesis Main Library Thesis Corner Available รายงานการวิจัยเรื่องการปฎิเสธการเข้ารับการบำบัดรักษาในระยะฟื้นฟูสมรรถภาพของ / สู่ไนหย๊ะ ยศดำ / โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข - 2544
Title : รายงานการวิจัยเรื่องการปฎิเสธการเข้ารับการบำบัดรักษาในระยะฟื้นฟูสมรรถภาพของ : ผู้ป่วยใช้สารเสพติด ศูนย์บำบัดรักษายาเสพติด จังหวัดสงขลา Material Type: printed text Authors: สู่ไนหย๊ะ ยศดำ, Author ; จันจิรา รอดสงค์, Author Publisher: โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข Publication Date: 2544 Pagination: 48 แผ่น Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-774-021-4 Price: บริจาค. Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การติดยาเสพติด -- แง่จิตวิทยา
[LCSH]การติดยาเสพติด -- แง่สังคม
[LCSH]ผู้ป่วย -- ยาเสพติด -- การบำบัดKeywords: การบำบัด.
ยาเสพติด.
สารเสพติด.Class number: WM270 ส819 2544 Abstract: การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ เพื่อศึกษาปัจจัยหรือเงื่อนไขของการไม่เข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพของผู้ป่วยใช้สารเสพติดชาย โดยศึกษาในกลุ่มผู้ติดที่เข้าบำบัดรักษาในตึกถอนพิษยา 2 และตึกถอนพิษยาพิเศษ ของศูนย์บำบัดรักษายาเสพติดจังหวัดสงขลา ที่ได้ผ่านการรักษาขั้นถอนพิษยาครบ 21 วัน ผลการศึกษาพบว่า
ปัจจัยหรือเงื่อนไขที่เป็นสาเหตุของการปฎิเสธการเข้ารับการบำบัดรักษาในระยะฟื้นฟูสมรรถภาพของผู้ป่วยมี 4 ปัจจัย ด้วยกันคือ ปัจจัยจากเหตุผลของการตัดสินใจเข้ารับการบำบัดรักษา ซึ่งผู้ป่วยบางรายตัดสินใจเข้ามารับการบำบัดรักษาโดยต้องการให้พ่อ แม่สบายใจ หรือถูกพ่อแม่ และสถานศึกษาบังคับมา แต่บางรายมาโดยความสมัครใจรักษาปัจจัยต่อไปเป็นปัจจัยการดำเนินชีวิตระหว่างการบำบัดรักษาในตึกถอนพิษยา โดยผู้ป่วยต้องมีการปรับเปลี่ยนตัวเองทั้งในด้านร่างกาย ความเป็นอยู่ ความสัมพันธ์กับเพื่อนและเจ้าหน้าที่ ความรู้สึกต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้นระหว่างการรักษา ซึ่งถ้าไม่สามารถปรัีบเปลี่ยนตัวเองให้เป็นไปตามกฎระเบียบก็จะทำให้ผู้ป่วยลาออกกลับบ้านปฎิเสธที่จะรักษาต่อ ปัจจัยจากข้อมูลเกี่ยวกับการบำบัดรักษาในระยะฟื้นฟูสมรรถภาพ จึงทำให้ผู้ป่วยปฎิเสธการเข้ารับการบำบัดในระยะฟื้นฟูสมรรถภาพ และปัจจัยหลักคือ ความจำเป็นที่ต้องกลับไปดูแลครอบครัว และกลับไปเรียนหนังสือ สิ่งที่ผู้ป่วยกล่าวมาเป็นสาเหตุทำให้ผู้ป่วยลาออกกลับบ้าน ปฎิเสธที่จะรักษาในระยะฟื้นฟูสมรรถภาพ ซึ่งในบางครั้งปัจจัยเหล่านี้เป็นเพียงปัจจัยเล็ก ๆ แต่ผู้ป่วยต้องการอิสระ ไปไหนมาไหนสะดวก ไม่มีกฎเกณฑ์บังคับต้องการไปเที่ยวกับเพื่อน ๆ อยู่ที่บ้าน สิ่งเหล่านี้มักจะตามมาเมื่อผู้ป่วยลาออกกลับบ้าน และการที่ผู้ป่วยจะเข้ารับการบำบัดรักษาต่อหรือไม่ก็ไม่ได้อยู่ที่ตัวผู้ป่วยอย่างเดียว ยังมีสิ่งแวดล้อมหลาย ๆ อย่างที่จำเป็น เช่น เจ้าหน้าที่ เพื่อน สถานที่ พ่อแม่ สิ่งต่าง ๆ เหล่านี้ก็เป็นสาเหตุที่ทำให้ผู้ป่วยปฎิเสธการเข้ารับการบำบัดรักษาในระยพฟื้นฟูมากขึ้น สามารถยือเวลาการใช้ยาเสพติดของผู้ป่วย และลดการกลับไปเสพซ้ำได้มากยิ่งขึ้นCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23293 รายงานการวิจัยเรื่องการปฎิเสธการเข้ารับการบำบัดรักษาในระยะฟื้นฟูสมรรถภาพของ : ผู้ป่วยใช้สารเสพติด ศูนย์บำบัดรักษายาเสพติด จังหวัดสงขลา [printed text] / สู่ไนหย๊ะ ยศดำ, Author ; จันจิรา รอดสงค์, Author . - [S.l.] : โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข, 2544 . - 48 แผ่น ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-774-021-4 : บริจาค.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การติดยาเสพติด -- แง่จิตวิทยา
[LCSH]การติดยาเสพติด -- แง่สังคม
[LCSH]ผู้ป่วย -- ยาเสพติด -- การบำบัดKeywords: การบำบัด.
ยาเสพติด.
สารเสพติด.Class number: WM270 ส819 2544 Abstract: การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ เพื่อศึกษาปัจจัยหรือเงื่อนไขของการไม่เข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพของผู้ป่วยใช้สารเสพติดชาย โดยศึกษาในกลุ่มผู้ติดที่เข้าบำบัดรักษาในตึกถอนพิษยา 2 และตึกถอนพิษยาพิเศษ ของศูนย์บำบัดรักษายาเสพติดจังหวัดสงขลา ที่ได้ผ่านการรักษาขั้นถอนพิษยาครบ 21 วัน ผลการศึกษาพบว่า
ปัจจัยหรือเงื่อนไขที่เป็นสาเหตุของการปฎิเสธการเข้ารับการบำบัดรักษาในระยะฟื้นฟูสมรรถภาพของผู้ป่วยมี 4 ปัจจัย ด้วยกันคือ ปัจจัยจากเหตุผลของการตัดสินใจเข้ารับการบำบัดรักษา ซึ่งผู้ป่วยบางรายตัดสินใจเข้ามารับการบำบัดรักษาโดยต้องการให้พ่อ แม่สบายใจ หรือถูกพ่อแม่ และสถานศึกษาบังคับมา แต่บางรายมาโดยความสมัครใจรักษาปัจจัยต่อไปเป็นปัจจัยการดำเนินชีวิตระหว่างการบำบัดรักษาในตึกถอนพิษยา โดยผู้ป่วยต้องมีการปรับเปลี่ยนตัวเองทั้งในด้านร่างกาย ความเป็นอยู่ ความสัมพันธ์กับเพื่อนและเจ้าหน้าที่ ความรู้สึกต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้นระหว่างการรักษา ซึ่งถ้าไม่สามารถปรัีบเปลี่ยนตัวเองให้เป็นไปตามกฎระเบียบก็จะทำให้ผู้ป่วยลาออกกลับบ้านปฎิเสธที่จะรักษาต่อ ปัจจัยจากข้อมูลเกี่ยวกับการบำบัดรักษาในระยะฟื้นฟูสมรรถภาพ จึงทำให้ผู้ป่วยปฎิเสธการเข้ารับการบำบัดในระยะฟื้นฟูสมรรถภาพ และปัจจัยหลักคือ ความจำเป็นที่ต้องกลับไปดูแลครอบครัว และกลับไปเรียนหนังสือ สิ่งที่ผู้ป่วยกล่าวมาเป็นสาเหตุทำให้ผู้ป่วยลาออกกลับบ้าน ปฎิเสธที่จะรักษาในระยะฟื้นฟูสมรรถภาพ ซึ่งในบางครั้งปัจจัยเหล่านี้เป็นเพียงปัจจัยเล็ก ๆ แต่ผู้ป่วยต้องการอิสระ ไปไหนมาไหนสะดวก ไม่มีกฎเกณฑ์บังคับต้องการไปเที่ยวกับเพื่อน ๆ อยู่ที่บ้าน สิ่งเหล่านี้มักจะตามมาเมื่อผู้ป่วยลาออกกลับบ้าน และการที่ผู้ป่วยจะเข้ารับการบำบัดรักษาต่อหรือไม่ก็ไม่ได้อยู่ที่ตัวผู้ป่วยอย่างเดียว ยังมีสิ่งแวดล้อมหลาย ๆ อย่างที่จำเป็น เช่น เจ้าหน้าที่ เพื่อน สถานที่ พ่อแม่ สิ่งต่าง ๆ เหล่านี้ก็เป็นสาเหตุที่ทำให้ผู้ป่วยปฎิเสธการเข้ารับการบำบัดรักษาในระยพฟื้นฟูมากขึ้น สามารถยือเวลาการใช้ยาเสพติดของผู้ป่วย และลดการกลับไปเสพซ้ำได้มากยิ่งขึ้นCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23293 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354850 THE WM270 ส819 2544 Book Main Library General Shelf Available รายงานโครงการประชุมเชิงปฎิบัติการพลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติด / สุธีร์วัชร์ เจริญวงศ์ / กรุงเทพฯ : สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม - 2556
Title : รายงานโครงการประชุมเชิงปฎิบัติการพลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติด : หน่วยงานสังกัดกระทรวงยุติธรรม ปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 Material Type: printed text Authors: สุธีร์วัชร์ เจริญวงศ์, Author Publisher: กรุงเทพฯ : สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม Publication Date: 2556 Pagination: 154 หน้า. Layout: ภาพประกอบสี, ตาราง Size: 30 ซม. Price: บริจาค. Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ยาเสพติด -- การควบคุม
[LCSH]ยาเสพติด -- การควบคุม -- ไทย
[LCSH]ยุทธศาสตร์พลังแผ่นดินเพื่อเอาชะยาเสพติดKeywords: ยาเสพติด.
การควบุคม.
ยุทธศาสตร์พลังแผ่นดิน.Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23273 รายงานโครงการประชุมเชิงปฎิบัติการพลังแผ่นดินเอาชนะยาเสพติด : หน่วยงานสังกัดกระทรวงยุติธรรม ปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 [printed text] / สุธีร์วัชร์ เจริญวงศ์, Author . - กรุงเทพฯ : สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงยุติธรรม, 2556 . - 154 หน้า. : ภาพประกอบสี, ตาราง ; 30 ซม.
บริจาค.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ยาเสพติด -- การควบคุม
[LCSH]ยาเสพติด -- การควบคุม -- ไทย
[LCSH]ยุทธศาสตร์พลังแผ่นดินเพื่อเอาชะยาเสพติดKeywords: ยาเสพติด.
การควบุคม.
ยุทธศาสตร์พลังแผ่นดิน.Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23273 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000356160 HV5840 ส844 2556 c.1 Reference Book Main Library References Shelf Available 32002000356152 HV5840 ส844 2556 c.2 Reference Book Main Library References Shelf Available