From this page you can:
Home |
Search results
166 result(s) search for keyword(s) 'พยาบาล. หัวหน้าหอผู้ป่วย. การบริหาร. ความขัดแย้ง.'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
ผลของโปรแกรมการแก้ไขความขัดแย้งของหัวหน้าหอผู้ป่วยต่อประสิทธิผลของทีมการพยาบาล / พรทิพย์ ควรคิด / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2550
Title : ผลของโปรแกรมการแก้ไขความขัดแย้งของหัวหน้าหอผู้ป่วยต่อประสิทธิผลของทีมการพยาบาล Original title : The effect of using conflict resolution of head nurses program on nursing team effectiveness Material Type: printed text Authors: พรทิพย์ ควรคิด, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2550 Pagination: ก-ญ, 129 แผ่น Layout: ตารางประกอบ. Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย. ม [การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2550 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การจัดการความขัดแย้ง
[LCSH]การบริหารความขัดแย้ง
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วยKeywords: พยาบาล.
หัวหน้าหอผู้ป่วย.
การบริหาร.
ความขัดแย้ง.Class number: WY160 พ674 2550 Abstract: การวิจัยกึ่งทดลองครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิผลของทีมการพยาบาลตามการรับรู้ของสมาชิกทีมการพยาบาล ระหว่างกลุ่มที่หัวหน้าหอผู้ป่วยได้รับโปรแกรมการแก้ไขความขัดแย้งกับกลุ่มที่ไม่ได้รับโปรแกรม กลุ่มตัวอย่างเป็นหัวหน้าหอผู้ป่วยจำนวน 44 คน และสมาชิกทีมการพยาบาลที่หัวหน้าหอผู้ป่วยเป็นกลุ่มตัวอย่าง ซึ่งประกอบด้วยพยาบาลวิชาชีพและผู้ช่วยพยาบาล จำนวน 176 คน เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง ประกอบด้วย แผนการอบรม คู่มือแนวทางการแก้ไขความขัดแย้ง แบบบันทึกสถานการณ์การแก้ไขความขัดแย้ง เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามประสิทธิผลของทีมการพยาบาล ซึ่งเครื่องมือทั้งหมดผ่านการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ ตรวจสอบค่าความเที่ยงของแบบสอบถามด้วยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบราคได้เท่ากับ 0.91 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบสถิติที ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. คะแนนเฉลี่ยของประสิทธิผลของทีมการพยาบาลในหอผู้ป่วยกลุ่มที่หัวหน้าหอผู้ป่วยได้รับโปรแกรมการแก้ไขความขัดแย้งสูงกว่าก่อนได้รับโปรแกรม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. คะแนนเฉลี่ยของประสิทธิผลของทีมการพยาบาลในหอผู้ป่วยกลุ่มที่หัวหน้าหอผู้ป่วยได้รับโปรแกรมการแก้ไขความขัดแย้งสูงกว่ากลุ่มที่หัวหน้าหอผู้ป่วยไม่ได้รับโปรแกรม อย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23225 ผลของโปรแกรมการแก้ไขความขัดแย้งของหัวหน้าหอผู้ป่วยต่อประสิทธิผลของทีมการพยาบาล = The effect of using conflict resolution of head nurses program on nursing team effectiveness [printed text] / พรทิพย์ ควรคิด, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550 . - ก-ญ, 129 แผ่น : ตารางประกอบ. ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย. ม [การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2550
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การจัดการความขัดแย้ง
[LCSH]การบริหารความขัดแย้ง
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วยKeywords: พยาบาล.
หัวหน้าหอผู้ป่วย.
การบริหาร.
ความขัดแย้ง.Class number: WY160 พ674 2550 Abstract: การวิจัยกึ่งทดลองครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเปรียบเทียบประสิทธิผลของทีมการพยาบาลตามการรับรู้ของสมาชิกทีมการพยาบาล ระหว่างกลุ่มที่หัวหน้าหอผู้ป่วยได้รับโปรแกรมการแก้ไขความขัดแย้งกับกลุ่มที่ไม่ได้รับโปรแกรม กลุ่มตัวอย่างเป็นหัวหน้าหอผู้ป่วยจำนวน 44 คน และสมาชิกทีมการพยาบาลที่หัวหน้าหอผู้ป่วยเป็นกลุ่มตัวอย่าง ซึ่งประกอบด้วยพยาบาลวิชาชีพและผู้ช่วยพยาบาล จำนวน 176 คน เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง ประกอบด้วย แผนการอบรม คู่มือแนวทางการแก้ไขความขัดแย้ง แบบบันทึกสถานการณ์การแก้ไขความขัดแย้ง เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามประสิทธิผลของทีมการพยาบาล ซึ่งเครื่องมือทั้งหมดผ่านการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ ตรวจสอบค่าความเที่ยงของแบบสอบถามด้วยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบราคได้เท่ากับ 0.91 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบสถิติที ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. คะแนนเฉลี่ยของประสิทธิผลของทีมการพยาบาลในหอผู้ป่วยกลุ่มที่หัวหน้าหอผู้ป่วยได้รับโปรแกรมการแก้ไขความขัดแย้งสูงกว่าก่อนได้รับโปรแกรม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. คะแนนเฉลี่ยของประสิทธิผลของทีมการพยาบาลในหอผู้ป่วยกลุ่มที่หัวหน้าหอผู้ป่วยได้รับโปรแกรมการแก้ไขความขัดแย้งสูงกว่ากลุ่มที่หัวหน้าหอผู้ป่วยไม่ได้รับโปรแกรม อย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23225 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000355048 WY160 พ674 2550 Thesis Main Library Thesis Corner Available การวิเคราะห์กิจกรรมการพยาบาลและอัตรากำลังบุคลากรทางการพยาบาลในห้องผ่าตัดสูติ-นรีเวช โรงพยาบาลรามาธิบดี / รัตนา เพิ่มเพ็ชร์ / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2553
Title : การวิเคราะห์กิจกรรมการพยาบาลและอัตรากำลังบุคลากรทางการพยาบาลในห้องผ่าตัดสูติ-นรีเวช โรงพยาบาลรามาธิบดี Original title : An Analysis of nursing activeities and perioperative nurse staffing in the obstetric-gynecology operationg room at Ramathibodi Hospital Material Type: printed text Authors: รัตนา เพิ่มเพ็ชร์, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2553 Pagination: ก-ฎ, 150 แผ่น Layout: ตาราง. Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]] --จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2553 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]Nurses -- Manpower
[LCSH]Operating room nurses -- Manpower
[LCSH]พยาบาล -- อัตรากำลัง
[LCSH]พยาบาลห้องผ่าตัด -- อัตรากำลังKeywords: พยาบาล.
อัตรากำลัง
การบริหาร.
ห้องผ่าตัด.Class number: WY157 ร745 2553 Abstract: วิเคราะห์กิจกรรมการพยาบาลตามความต้องการการพยาบาลของผู้ป่วย ศึกษาจำนวนชั่วโมงการพยาบาลของพยาบาลในการปฏิบัติกิจกรรมการพยาบาลให้ผู้ป่วยในระยะก่อนผ่าตัด ระยะผ่าตัด และระยะหลังผ่าตัด และเพื่อศึกษาอัตรากำลังบุคลากรทางการพยาบาลในห้องผ่าตัดสูติ-นรีเวช โรงพยาบาลรามาธิบดี กลุ่มตัวอย่าง คือ บุคลากรทางการพยาบาลที่ปฏิบัติงานในห้องผ่าตัดสูติ-นรีเวช โรงพยาบาลรามาธิบดี และมีประสบการณ์ทำงานตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไป จำนวน 29 คน ประกอบด้วย พยาบาลวิชาชีพจำนวน 18 คน และผู้ช่วยพยาบาลจำนวน 11 คน ซึ่งได้จากการคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง เครื่องมือการวิจัยประกอบด้วย แบบบันทึกข้อมูลซึ่งแบ่งเป็น 2 ส่วน ส่วนที่ 1 คือ แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ป่วย และส่วนที่ 2 คือ แบบบันทึกการปฏิบัติกิจกรรมพยาบาล และคู่มือพจนานุกรมกิจกรรมการพยาบาลผ่าตัด ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาได้ค่าดัชนีความตรงตามเนื้อหา (CVI) เท่ากับ 0.94 และหาค่าความเที่ยงจากการสังเกตโดยเฉลี่ยมีค่าเท่ากับ 0.91 วิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติการแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. กิจกรรมการพยาบาลตามความต้องการการพยาบาลให้ผู้ป่วย 1 ราย ในห้องผ่าตัดสูติ-นรีเวช โรงพยาบาลรามาธิบดี มีกิจกรรมหลัก ระยะก่อนผ่าตัด ประกอบด้วย กิจกรรมโดยตรง 4 กิจกรรม และกิจกรรมโดยอ้อม 3 กิจกรรม ระยะผ่าตัด ประกอบด้วย กิจกรรมโดยตรง 3 กิจกรรม และกิจกรรมโดยอ้อม 2 กิจกรรม และระยะหลังผ่าตัด ประกอบด้วย กิจกรรมโดยตรง 3 กิจกรรม และกิจกรรมโดยอ้อม 3 กิจกรรม 2. จำนวนชั่วโมงการพยาบาลของพยาบาลในการปฏิบัติกิจกรรมการพยาบาลให้ผู้ป่วย 1 ราย ในห้องผ่าตัดสูติ-นรีเวช โรงพยาบาลรามาธิบดี ใช้เวลาเฉลี่ยรวม 6 ชั่วโมง 37.8 นาที ซึ่งใช้เวลาในระยะก่อนผ่าตัด 1ชั่วโมง 7 นาที ระยะผ่าตัด 3 ชั่วโมง 51.6 นาที และระยะหลังผ่าตัด 1 ชั่วโมง 39.1 นาที 3. อัตรากำลังบุคลากรทางการพยาบาล ตามความต้องการการพยาบาลของผู้ป่วยในห้องผ่าตัดสูติ-นรีเวช โรงพยาบาลรามาธิบดีที่ควรจะมีบุคลากรทางการพยาบาลรวมทั้งสิ้น 36 คน โดยแบ่งเป็นพยาบาลวิชาชีพจำนวน 27 คน และผู้ปฏิบัติงานพยาบาลจำนวน 9 คน Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23199 การวิเคราะห์กิจกรรมการพยาบาลและอัตรากำลังบุคลากรทางการพยาบาลในห้องผ่าตัดสูติ-นรีเวช โรงพยาบาลรามาธิบดี = An Analysis of nursing activeities and perioperative nurse staffing in the obstetric-gynecology operationg room at Ramathibodi Hospital [printed text] / รัตนา เพิ่มเพ็ชร์, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553 . - ก-ฎ, 150 แผ่น : ตาราง. ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]] --จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2553
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]Nurses -- Manpower
[LCSH]Operating room nurses -- Manpower
[LCSH]พยาบาล -- อัตรากำลัง
[LCSH]พยาบาลห้องผ่าตัด -- อัตรากำลังKeywords: พยาบาล.
อัตรากำลัง
การบริหาร.
ห้องผ่าตัด.Class number: WY157 ร745 2553 Abstract: วิเคราะห์กิจกรรมการพยาบาลตามความต้องการการพยาบาลของผู้ป่วย ศึกษาจำนวนชั่วโมงการพยาบาลของพยาบาลในการปฏิบัติกิจกรรมการพยาบาลให้ผู้ป่วยในระยะก่อนผ่าตัด ระยะผ่าตัด และระยะหลังผ่าตัด และเพื่อศึกษาอัตรากำลังบุคลากรทางการพยาบาลในห้องผ่าตัดสูติ-นรีเวช โรงพยาบาลรามาธิบดี กลุ่มตัวอย่าง คือ บุคลากรทางการพยาบาลที่ปฏิบัติงานในห้องผ่าตัดสูติ-นรีเวช โรงพยาบาลรามาธิบดี และมีประสบการณ์ทำงานตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไป จำนวน 29 คน ประกอบด้วย พยาบาลวิชาชีพจำนวน 18 คน และผู้ช่วยพยาบาลจำนวน 11 คน ซึ่งได้จากการคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง เครื่องมือการวิจัยประกอบด้วย แบบบันทึกข้อมูลซึ่งแบ่งเป็น 2 ส่วน ส่วนที่ 1 คือ แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ป่วย และส่วนที่ 2 คือ แบบบันทึกการปฏิบัติกิจกรรมพยาบาล และคู่มือพจนานุกรมกิจกรรมการพยาบาลผ่าตัด ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาได้ค่าดัชนีความตรงตามเนื้อหา (CVI) เท่ากับ 0.94 และหาค่าความเที่ยงจากการสังเกตโดยเฉลี่ยมีค่าเท่ากับ 0.91 วิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติการแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. กิจกรรมการพยาบาลตามความต้องการการพยาบาลให้ผู้ป่วย 1 ราย ในห้องผ่าตัดสูติ-นรีเวช โรงพยาบาลรามาธิบดี มีกิจกรรมหลัก ระยะก่อนผ่าตัด ประกอบด้วย กิจกรรมโดยตรง 4 กิจกรรม และกิจกรรมโดยอ้อม 3 กิจกรรม ระยะผ่าตัด ประกอบด้วย กิจกรรมโดยตรง 3 กิจกรรม และกิจกรรมโดยอ้อม 2 กิจกรรม และระยะหลังผ่าตัด ประกอบด้วย กิจกรรมโดยตรง 3 กิจกรรม และกิจกรรมโดยอ้อม 3 กิจกรรม 2. จำนวนชั่วโมงการพยาบาลของพยาบาลในการปฏิบัติกิจกรรมการพยาบาลให้ผู้ป่วย 1 ราย ในห้องผ่าตัดสูติ-นรีเวช โรงพยาบาลรามาธิบดี ใช้เวลาเฉลี่ยรวม 6 ชั่วโมง 37.8 นาที ซึ่งใช้เวลาในระยะก่อนผ่าตัด 1ชั่วโมง 7 นาที ระยะผ่าตัด 3 ชั่วโมง 51.6 นาที และระยะหลังผ่าตัด 1 ชั่วโมง 39.1 นาที 3. อัตรากำลังบุคลากรทางการพยาบาล ตามความต้องการการพยาบาลของผู้ป่วยในห้องผ่าตัดสูติ-นรีเวช โรงพยาบาลรามาธิบดีที่ควรจะมีบุคลากรทางการพยาบาลรวมทั้งสิ้น 36 คน โดยแบ่งเป็นพยาบาลวิชาชีพจำนวน 27 คน และผู้ปฏิบัติงานพยาบาลจำนวน 9 คน Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23199 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354686 WY157 ร745 2553 Thesis Main Library Thesis Corner Available ขอบเขตการปฏิบัติงานของหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลศูนย์ในปีพุทธศักราช 2554 / อโนชา ทองกองทุน / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2544
Title : ขอบเขตการปฏิบัติงานของหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลศูนย์ในปีพุทธศักราช 2554 Material Type: printed text Authors: อโนชา ทองกองทุน, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2544 Pagination: ก- ฌ, 184 แผ่น. Layout: ตารางประกอบ, แผนภูมิ Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-170-062-8 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์. (พย. ม (การบริหารการพยาบาล)).-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]พยาบาล -- การทำงานเป็นทีม
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย
[LCSH]เทคนิคเดลฟายKeywords: หัวหน้าหอผู้ป่วย.
พยาบาลประจำการ.
การทำงานเป็นทีม.Class number: WY18 อ985 2544 Abstract: การวิจัยครั้งนี้เพื่อ ศึกษาขอบเขตการปฏิบัติงานของหัีวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาลศูนย์ในปีพุทธศักราช 2554 วิธีดำเนินการวิจัยประกอบด้วย 2 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นที่ 1 ศึกษาและวิเคราะห์เอกสาร เพื่อนำสาระที่ได้มากำหนดกรอบแนวคิดในการวิจัย ขั้นที่ 2 ศึกษาขอบเขตการปฎบัติงานของหัวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาลศูนย์ในปีพุทธศักราช 2554 โดยใช้เทคนิด Ethnographic Future Research (EDFR) ทำการคัดเลือกขอบเขตการปฎิบัติงานของหัวหน้าหอผู้ป่วย โดยพิจารณาจากค่ามัธยฐานตั้งแต่ระดับมากขึ้นไป และเป็นความคิดเห็นที่สอดคล้องกันของผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 19 ท่าน (Md มากกว่า 3.50, IR น้อย 1.50) ระยะเวลาการเก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้เชี่ยวชาญ รวมทั้งสิ้น 99 วัน
ผลการวิจัยพบว่า ขอบเขตการปฎิบัติงานของหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลศูนย์ในปีพุทธศักราช 2554 ประกอบด้วย ขอบเขตการปฏิบัติงาน 6 ด้าน ดังนี้
1. ด้านการบริหารทั่วไป ครอบคลุมขอบเขตการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการกำหนดนโยบาย และการวางแผนในระดับหน่วยงาน และระดับโรงพยาบาล ตลอดจนการบริหารจัดการในหน่วยงานเกี่ยวกับงบประมาณ วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือเครื่องใช้ต่าง ๆ รวมถึงอาคาร สถานที่
2. ด้านการบริหารทรัพยากรมนุษย์ ครอบคลุมขอบเขตการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการ บุคลากรพยาบาลในหน่วยงาน การพัฒนาบุคลากร รวมทั้งการรักษาบุคลากรที่มีคุณค่าเอาไว้
3. ด้านการบริการและการพัฒนาคุณภาพการบริการ ครอบคลุมขอบเขตการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการดูแลสุขภาพของผู้ป่วย ครอบครัว ชุมชน ทั้งในโรงพยาบาลและในชุมชน รวมถึงการพัฒนาคุณภาพบริการ
4. ด้านวิชาการและการวิจัย ครอบคลุมขอบเขตการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้่ด้วยตนเองของบุคลากรพยาบาล และการพัฒนาการวิจัย
5. ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ครอบคลุมขอบเขตการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับ การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ
6. ด้านการพัฒนาวิชาชีพ ครอบคุลมขอบเขตการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการเป็นแบบอย่างที่ดีในการปฏิบัติการพยาบาลเชิงวิชาชีพ และการมีส่วนร่วมในกิจกรรมขององค์กรวิชาชีพCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23331 ขอบเขตการปฏิบัติงานของหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลศูนย์ในปีพุทธศักราช 2554 [printed text] / อโนชา ทองกองทุน, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544 . - ก- ฌ, 184 แผ่น. : ตารางประกอบ, แผนภูมิ ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-170-062-8 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์. (พย. ม (การบริหารการพยาบาล)).-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]พยาบาล -- การทำงานเป็นทีม
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย
[LCSH]เทคนิคเดลฟายKeywords: หัวหน้าหอผู้ป่วย.
พยาบาลประจำการ.
การทำงานเป็นทีม.Class number: WY18 อ985 2544 Abstract: การวิจัยครั้งนี้เพื่อ ศึกษาขอบเขตการปฏิบัติงานของหัีวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาลศูนย์ในปีพุทธศักราช 2554 วิธีดำเนินการวิจัยประกอบด้วย 2 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นที่ 1 ศึกษาและวิเคราะห์เอกสาร เพื่อนำสาระที่ได้มากำหนดกรอบแนวคิดในการวิจัย ขั้นที่ 2 ศึกษาขอบเขตการปฎบัติงานของหัวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาลศูนย์ในปีพุทธศักราช 2554 โดยใช้เทคนิด Ethnographic Future Research (EDFR) ทำการคัดเลือกขอบเขตการปฎิบัติงานของหัวหน้าหอผู้ป่วย โดยพิจารณาจากค่ามัธยฐานตั้งแต่ระดับมากขึ้นไป และเป็นความคิดเห็นที่สอดคล้องกันของผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 19 ท่าน (Md มากกว่า 3.50, IR น้อย 1.50) ระยะเวลาการเก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้เชี่ยวชาญ รวมทั้งสิ้น 99 วัน
ผลการวิจัยพบว่า ขอบเขตการปฎิบัติงานของหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลศูนย์ในปีพุทธศักราช 2554 ประกอบด้วย ขอบเขตการปฏิบัติงาน 6 ด้าน ดังนี้
1. ด้านการบริหารทั่วไป ครอบคลุมขอบเขตการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการกำหนดนโยบาย และการวางแผนในระดับหน่วยงาน และระดับโรงพยาบาล ตลอดจนการบริหารจัดการในหน่วยงานเกี่ยวกับงบประมาณ วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือเครื่องใช้ต่าง ๆ รวมถึงอาคาร สถานที่
2. ด้านการบริหารทรัพยากรมนุษย์ ครอบคลุมขอบเขตการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการ บุคลากรพยาบาลในหน่วยงาน การพัฒนาบุคลากร รวมทั้งการรักษาบุคลากรที่มีคุณค่าเอาไว้
3. ด้านการบริการและการพัฒนาคุณภาพการบริการ ครอบคลุมขอบเขตการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการดูแลสุขภาพของผู้ป่วย ครอบครัว ชุมชน ทั้งในโรงพยาบาลและในชุมชน รวมถึงการพัฒนาคุณภาพบริการ
4. ด้านวิชาการและการวิจัย ครอบคลุมขอบเขตการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการเรียนรู้่ด้วยตนเองของบุคลากรพยาบาล และการพัฒนาการวิจัย
5. ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ครอบคลุมขอบเขตการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับ การพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ
6. ด้านการพัฒนาวิชาชีพ ครอบคุลมขอบเขตการปฏิบัติงานที่เกี่ยวข้องกับการเป็นแบบอย่างที่ดีในการปฏิบัติการพยาบาลเชิงวิชาชีพ และการมีส่วนร่วมในกิจกรรมขององค์กรวิชาชีพCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23331 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000357267 THE WY18 อ985 2544 Thesis Main Library Thesis Corner Available ความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถ ในการบริหารคุณภาพทั้งองค์กรของหัวหน้าหอผู้ป่วย ภาวะการติดงาน กับผลผลิตของหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการโรงพยาบาลทั่วไป เขต 11 / รำไพ ปรียากร / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2552
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถ ในการบริหารคุณภาพทั้งองค์กรของหัวหน้าหอผู้ป่วย ภาวะการติดงาน กับผลผลิตของหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการโรงพยาบาลทั่วไป เขต 11 Original title : Relationships between total qualty mamagement ability of head nurse, workaholism, and units' productivity as perceived by staff nurses, general hospitals region 11 Material Type: printed text Authors: รำไพ ปรียากร, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2552 Pagination: ก-ญ, 119 แผ่น Layout: ตารางประกอบ Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย. ม [การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2552 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารคุณภาพโดยรวม
[LCSH]บริการการพยาบาลของโรงพยาบาล
[LCSH]โรงพยาบาล -- การบริหารKeywords: การบริหารคุณภาพโดยรวม.
โรงพยาบาล.
การบริหาร.
การบริการ.
พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย.Class number: WX150 ร729 2552 Abstract: งานวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถในการบริหารคุณภาพทั้งองค์กรของหัวหน้าหอผู้ป่วย ภาวะการติดงาน กับผลผลิตของหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลทั่วไป เขต 11 กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลประจำการที่ปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไป ในโรงพยาบาลทั่วไป เขต 11 จำนวน 287 คน ได้จากการสุ่มแบบ 2 ขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม ประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามความสามารถในการบริหารคุณภาพทั้งองค์กรของหัวหน้าหอผู้ป่วย แบบสอบถามภาวะการติดงาน และแบบสอบถามผลผลิตของหอผู้ป่วย ตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาและคำนวณค่าความเที่ยงของแบบสอบถาม โดยสูตรสัมประสิทธ์แอลฟ่าของครอนบาคได้เท่ากับ .94, .89 และ.84 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติการแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ผลผลิตของหอผู้ป่วย ความสามารถในการบริหารคุณภาพทั้งองค์กรของหัวหน้าหอผู้ป่วย และภาวะการติดงานของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลทั่วไป เขต 11 อยู่ในระดับสูง (X-bar = 3.80, SD = .43, X-bar = 3.54, SD = .61 และ X-bar = 3.87, SD = .48 ตามลำดับ) 2. ความสามารถในการบริหารคุณภาพทั้งองค์กรของหัวหน้าหอผู้ป่วย และภาวะการติดงาน มีความสัมพันธ์ทางบวกกับผลผลิตของหอผู้ป่วย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = .47 และ r = .57 ตามลำดับ) Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23223 ความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถ ในการบริหารคุณภาพทั้งองค์กรของหัวหน้าหอผู้ป่วย ภาวะการติดงาน กับผลผลิตของหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการโรงพยาบาลทั่วไป เขต 11 = Relationships between total qualty mamagement ability of head nurse, workaholism, and units' productivity as perceived by staff nurses, general hospitals region 11 [printed text] / รำไพ ปรียากร, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552 . - ก-ญ, 119 แผ่น : ตารางประกอบ ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย. ม [การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2552
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารคุณภาพโดยรวม
[LCSH]บริการการพยาบาลของโรงพยาบาล
[LCSH]โรงพยาบาล -- การบริหารKeywords: การบริหารคุณภาพโดยรวม.
โรงพยาบาล.
การบริหาร.
การบริการ.
พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย.Class number: WX150 ร729 2552 Abstract: งานวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถในการบริหารคุณภาพทั้งองค์กรของหัวหน้าหอผู้ป่วย ภาวะการติดงาน กับผลผลิตของหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลทั่วไป เขต 11 กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลประจำการที่ปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไป ในโรงพยาบาลทั่วไป เขต 11 จำนวน 287 คน ได้จากการสุ่มแบบ 2 ขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม ประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามความสามารถในการบริหารคุณภาพทั้งองค์กรของหัวหน้าหอผู้ป่วย แบบสอบถามภาวะการติดงาน และแบบสอบถามผลผลิตของหอผู้ป่วย ตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาและคำนวณค่าความเที่ยงของแบบสอบถาม โดยสูตรสัมประสิทธ์แอลฟ่าของครอนบาคได้เท่ากับ .94, .89 และ.84 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติการแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ผลผลิตของหอผู้ป่วย ความสามารถในการบริหารคุณภาพทั้งองค์กรของหัวหน้าหอผู้ป่วย และภาวะการติดงานของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลทั่วไป เขต 11 อยู่ในระดับสูง (X-bar = 3.80, SD = .43, X-bar = 3.54, SD = .61 และ X-bar = 3.87, SD = .48 ตามลำดับ) 2. ความสามารถในการบริหารคุณภาพทั้งองค์กรของหัวหน้าหอผู้ป่วย และภาวะการติดงาน มีความสัมพันธ์ทางบวกกับผลผลิตของหอผู้ป่วย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = .47 และ r = .57 ตามลำดับ) Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23223 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000355147 WX150 ร729 2552 Thesis Main Library Thesis Corner Available ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยบุคคล ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วยบรรยากาศองค์การ กับความตั้งใจที่จะอยู่ในงานของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ / ปิ่นฤทัย ประดิษฐศิลป์, / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2551
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยบุคคล ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วยบรรยากาศองค์การ กับความตั้งใจที่จะอยู่ในงานของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ Original title : Relationships between personal factors, strategic leadership of head nurse, organizational climate and intention to stay in nursing, service of professional nurses, government university hospitals Material Type: printed text Authors: ปิ่นฤทัย ประดิษฐศิลป์, (2525-), Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2551 Pagination: ก-ฎ, 164 แผ่น Layout: ตารางประกอบ Size: 30 ซม. Price: บริจาค General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม. [การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,2551 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารเชิงกลยุทธ์
[LCSH]พยาบาล -- การทำงาน
[LCSH]พยาบาล--วิชาชีพ
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย
[LCSH]ภาวะผู้นำKeywords: ภาวะผู้นำ.
การบริหาร.
พยาบาลวิชาชีพ.Class number: WY18 ป535 2551 Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยส่วนบุคคล ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย บรรยากาศองค์การ และความตั้งใจที่จะอยู่ในงานของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ และเพื่อศึกษาหาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย บรรยากาศองค์การ กับความตั้งใจที่จะอยู่ในงานของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ กลุ่มตัวอย่าง คือ พยาบาลวิชาชีพระดับปฏิบัติการที่มีประสบการณ์ทำงานตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไป ในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ จำนวน 350 คน ซึ่งได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือการวิจัยประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย บรรยากาศองค์การ และความตั้งใจที่จะอยู่ในงาน ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา และหาค่าความเที่ยง โดยค่าสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาค มีค่าเท่ากับ .97 และ .93 วิเคราะห์ข้อมูลโดยการแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติไคสแควร์ ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
1.พยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐส่วนใหญ่มีความตั้งใจที่จะอยู่ในงานต่อไป มากถึง ร้อยละ 93.7 2.ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ มีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับสูง และบรรยากาศองค์การ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ มีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับดี ( [Mean] = 3.93 และ [Mean] = 3.89 ตามลำดับ) 3.ปัจจัยส่วนบุคคล ด้านระดับการศึกษา มีความสัมพันธ์กับความตั้งใจที่จะอยู่ในงานของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วน อายุ สถานภาพสมรส ประสบการณ์การทำงาน และสถานภาพการทำงาน ไม่มีความสัมพันธ์กับความตั้งใจที่จะอยู่ในงานของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ 4.ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย ไม่มีความสัมพันธ์กับความตั้งใจที่จะอยู่ในงานของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 5.บรรยากาศองค์การ มีความสัมพันธ์กับความตั้งใจที่จะอยู่ในงานของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23171 ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยบุคคล ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วยบรรยากาศองค์การ กับความตั้งใจที่จะอยู่ในงานของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ = Relationships between personal factors, strategic leadership of head nurse, organizational climate and intention to stay in nursing, service of professional nurses, government university hospitals [printed text] / ปิ่นฤทัย ประดิษฐศิลป์, (2525-), Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551 . - ก-ฎ, 164 แผ่น : ตารางประกอบ ; 30 ซม.
บริจาค
วิทยานิพนธ์ [พย.ม. [การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,2551
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารเชิงกลยุทธ์
[LCSH]พยาบาล -- การทำงาน
[LCSH]พยาบาล--วิชาชีพ
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย
[LCSH]ภาวะผู้นำKeywords: ภาวะผู้นำ.
การบริหาร.
พยาบาลวิชาชีพ.Class number: WY18 ป535 2551 Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยส่วนบุคคล ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย บรรยากาศองค์การ และความตั้งใจที่จะอยู่ในงานของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ และเพื่อศึกษาหาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย บรรยากาศองค์การ กับความตั้งใจที่จะอยู่ในงานของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ กลุ่มตัวอย่าง คือ พยาบาลวิชาชีพระดับปฏิบัติการที่มีประสบการณ์ทำงานตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไป ในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ จำนวน 350 คน ซึ่งได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือการวิจัยประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย บรรยากาศองค์การ และความตั้งใจที่จะอยู่ในงาน ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา และหาค่าความเที่ยง โดยค่าสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาค มีค่าเท่ากับ .97 และ .93 วิเคราะห์ข้อมูลโดยการแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติไคสแควร์ ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
1.พยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐส่วนใหญ่มีความตั้งใจที่จะอยู่ในงานต่อไป มากถึง ร้อยละ 93.7 2.ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ มีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับสูง และบรรยากาศองค์การ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ มีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับดี ( [Mean] = 3.93 และ [Mean] = 3.89 ตามลำดับ) 3.ปัจจัยส่วนบุคคล ด้านระดับการศึกษา มีความสัมพันธ์กับความตั้งใจที่จะอยู่ในงานของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วน อายุ สถานภาพสมรส ประสบการณ์การทำงาน และสถานภาพการทำงาน ไม่มีความสัมพันธ์กับความตั้งใจที่จะอยู่ในงานของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ 4.ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย ไม่มีความสัมพันธ์กับความตั้งใจที่จะอยู่ในงานของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 5.บรรยากาศองค์การ มีความสัมพันธ์กับความตั้งใจที่จะอยู่ในงานของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23171 ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย / ปราณี มีหาญพงษ์ / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2547
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย : พฤติกรรมการเป็นสมาชิกองค์การ กับประสิทธิผลของหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลทั่วไป Original title : Relationships between transformational leadership of head nurses organizational citizenship behavior and effectiveness of patient units as perceived by staff nurses general hospital Material Type: printed text Authors: ปราณี มีหาญพงษ์, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2547 Pagination: ฎ, 126 แผ่น Layout: ตาราง Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-175-935-5 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย. ม. [การบริหารการพยาบาล]]- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2547 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารองค์การ
[LCSH]การพัฒนาตนเอง
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย
[LCSH]ภาวะผู้นำKeywords: การบริหารองค์การ.
ภาวะผู้นำ.
พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย.Class number: WY18 ป572 2547 Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย พฤติกรรมการเป็นสมาชิกขององค์การ กับประสิทธิผลของหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลทั่วไป กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลวิชาชีพระดับปฏิบัติการที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลทั่วไปจำนวน 389 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามจำนวน 1 ชุด แบ่งเป็น 4 ตอน คือ แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย แบบสอบถามพฤติกรรมการเป็นสมาชิกขององค์การ และแบบสอบถามประสิทธิผลของหอผู้ป่วย ตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาและหาค่าความเที่ยงของแบบสอบถามโดยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาคได้ .96, .91 และ .93 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ประสิทธิผลของหอผู้ป่วย ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วยและพฤติกรรมการเป็นสมาชิกขององค์การของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลทั่วไป อยู่ในระดับสูง ([Mean] = 4.00, S.D. = .40, [Mean] = 3.84, S.D. = .56 และ [Mean] = 4.00, S.D. = .33 ตามลำดับ) 2. ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย และพฤติกรรมการเป็นสมาชิกขององค์การ มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลางกับประสิทธิผลของหอผู้ป่วย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = .57 และ .52 ตามลำดับ) Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23131 ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย = Relationships between transformational leadership of head nurses organizational citizenship behavior and effectiveness of patient units as perceived by staff nurses general hospital : พฤติกรรมการเป็นสมาชิกองค์การ กับประสิทธิผลของหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลทั่วไป [printed text] / ปราณี มีหาญพงษ์, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547 . - ฎ, 126 แผ่น : ตาราง ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-175-935-5 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย. ม. [การบริหารการพยาบาล]]- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2547
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารองค์การ
[LCSH]การพัฒนาตนเอง
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย
[LCSH]ภาวะผู้นำKeywords: การบริหารองค์การ.
ภาวะผู้นำ.
พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย.Class number: WY18 ป572 2547 Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย พฤติกรรมการเป็นสมาชิกขององค์การ กับประสิทธิผลของหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลทั่วไป กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลวิชาชีพระดับปฏิบัติการที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลทั่วไปจำนวน 389 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามจำนวน 1 ชุด แบ่งเป็น 4 ตอน คือ แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย แบบสอบถามพฤติกรรมการเป็นสมาชิกขององค์การ และแบบสอบถามประสิทธิผลของหอผู้ป่วย ตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาและหาค่าความเที่ยงของแบบสอบถามโดยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาคได้ .96, .91 และ .93 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ประสิทธิผลของหอผู้ป่วย ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วยและพฤติกรรมการเป็นสมาชิกขององค์การของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลทั่วไป อยู่ในระดับสูง ([Mean] = 4.00, S.D. = .40, [Mean] = 3.84, S.D. = .56 และ [Mean] = 4.00, S.D. = .33 ตามลำดับ) 2. ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย และพฤติกรรมการเป็นสมาชิกขององค์การ มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลางกับประสิทธิผลของหอผู้ป่วย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = .57 และ .52 ตามลำดับ) Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23131 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354470 WY18 ป572 2547 Thesis Main Library Thesis Corner Available ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย / สุนีย์พร แคล้วปลอดทุกข์ / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2551
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย : การบริหารผลการปฏิบัติงานของกลุ่มงานการพยาบาลกับประสิทธิผลของหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการโรงพยาบาลทั่วไป Original title : Relationships between strategic leadership of head nurses, performance management of nurse division, and effectiveness of patient units as perceived by staff nurses, general hospitals Material Type: printed text Authors: สุนีย์พร แคล้วปลอดทุกข์, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2551 Pagination: ก-ฎ, 149 แผ่น Layout: ตาราง Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย. ม. [การบริหารการพยาบาล]].-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2551 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การพยาบาล -- การบริหาร
[LCSH]พยาบาล -- การทำงาน
[LCSH]พยาบาล--วิชาชีพ
[LCSH]ภาวะผู้นำKeywords: หัวหน้าหอผู้ป่วย.
ภาวะผู้นำ.
พยาบาล.Class number: WY18 ส845 2551 Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาระดับภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วยการบริหารผลการปฎิบัติงานของกลุ่มงานการพยาบาล และประสิทธิผลของหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลทั่วไป และศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย การบริหารผลการปฎิบัติงานของกลุ่มงานการพยาบาล กับประสิทธิผลของหอผู้่ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลทั่วไป กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลวิชาชีพระดับปฎิบัติการ จำนวน 352 คน ซึ่งได้จาการสุ่มตัวอย่างแบบสองขั้นตอน. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย แบบสอบถามการบริหารผลการปฏิบัติงานของกลุ่มงานการพยาบาล และแบบสอบถามประสิทธิผลของหอผู้ป่วย ตรวจสอบเชิงเนื้อหาและหาค่าความเที่ยงของแบบสอบถามโดยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาคได้ .97 .96 และ.95 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการใช้การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย สาวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสัีมประสิทธิสหสัมพนธ์ของเพียร์สัน
ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ คือ
1. ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย การบริหารผลการปฎิบัิติงานของกลุ่มการพยาบาล และประสิทธิผลของผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลทั่วไป ต่างก็อยู่ในระดับสูง (ค่าเฉลี่ย = 3.85 3.62 และ 3.90 ตามลำดับ)
2. 2. ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วยและการบริหารผลการปฏิบัติงานของ กลุ่มงานการพยาบาล ต่างก็มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลางกับประสิทธิผลของ หอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลทั่วไป อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = .67 และ .64 ตามลำดับ)Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23170 ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย = Relationships between strategic leadership of head nurses, performance management of nurse division, and effectiveness of patient units as perceived by staff nurses, general hospitals : การบริหารผลการปฏิบัติงานของกลุ่มงานการพยาบาลกับประสิทธิผลของหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการโรงพยาบาลทั่วไป [printed text] / สุนีย์พร แคล้วปลอดทุกข์, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551 . - ก-ฎ, 149 แผ่น : ตาราง ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย. ม. [การบริหารการพยาบาล]].-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2551
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การพยาบาล -- การบริหาร
[LCSH]พยาบาล -- การทำงาน
[LCSH]พยาบาล--วิชาชีพ
[LCSH]ภาวะผู้นำKeywords: หัวหน้าหอผู้ป่วย.
ภาวะผู้นำ.
พยาบาล.Class number: WY18 ส845 2551 Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาระดับภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วยการบริหารผลการปฎิบัติงานของกลุ่มงานการพยาบาล และประสิทธิผลของหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลทั่วไป และศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย การบริหารผลการปฎิบัติงานของกลุ่มงานการพยาบาล กับประสิทธิผลของหอผู้่ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลทั่วไป กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลวิชาชีพระดับปฎิบัติการ จำนวน 352 คน ซึ่งได้จาการสุ่มตัวอย่างแบบสองขั้นตอน. เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย แบบสอบถามการบริหารผลการปฏิบัติงานของกลุ่มงานการพยาบาล และแบบสอบถามประสิทธิผลของหอผู้ป่วย ตรวจสอบเชิงเนื้อหาและหาค่าความเที่ยงของแบบสอบถามโดยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาคได้ .97 .96 และ.95 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการใช้การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย สาวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสัีมประสิทธิสหสัมพนธ์ของเพียร์สัน
ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ คือ
1. ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย การบริหารผลการปฎิบัิติงานของกลุ่มการพยาบาล และประสิทธิผลของผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลทั่วไป ต่างก็อยู่ในระดับสูง (ค่าเฉลี่ย = 3.85 3.62 และ 3.90 ตามลำดับ)
2. 2. ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วยและการบริหารผลการปฏิบัติงานของ กลุ่มงานการพยาบาล ต่างก็มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลางกับประสิทธิผลของ หอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลทั่วไป อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = .67 และ .64 ตามลำดับ)Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23170 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000383800 WY18 ส845 2551 Thesis Main Library Thesis Corner Available ความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมเชิงสร้างสรรค์ ความไว้วางใจในองค์การกับผลการดำเนินงานของกลุ่มงานการพยาบาล ตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลศูนย์ที่ผ่านการประเมินและรับรองคุณภาพโรงพยาบ่าล / อารีย์ คำนวนศักดิ์ / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2545
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมเชิงสร้างสรรค์ ความไว้วางใจในองค์การกับผลการดำเนินงานของกลุ่มงานการพยาบาล ตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลศูนย์ที่ผ่านการประเมินและรับรองคุณภาพโรงพยาบ่าล Original title : Relationships between constructive culture organizational trust and performance of nursing department as recieved by professional nurse at accredited regional hospitals and medical centers Material Type: printed text Authors: อารีย์ คำนวนศักดิ์, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2545 Pagination: ก-ญ, 124 แผ่น Layout: ตารางประกอบ Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-179-810-5 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์. (พย. ม (การบริการการพยาบาล)).-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารคุณภาพโดยรวม
[LCSH]ความผูกพันต่อองค์การ
[LCSH]พยาบาลประจำการ
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพ
[LCSH]วัฒนธรรมองค์การ
[LCSH]โรงพยาบาล -- การรับรองคุณภาพKeywords: พยาบาลวิชาชีพ
ความผูกผันต่อองค์การ.
การบริหารคุณภาพโดยรวม.Class number: WY125 อ927 2545 Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับผลการดำเนินงานของกลุ่มพยาบาล ความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมเชิงสร้างสรรค์ ความไว้วางใจองค์การ กับผลการดำเนินงานของกลุ่มงานการพยาบาลตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลศูนย์ที่ผ่านการประเิมินและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลกลุ่มตัวอย่าง คือ พยาบาลประจำการจำนวน 287 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งขั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบสอบถามวัฒนธรรมเชิงสร้างสรรค์ของกลุ่มงานการพยาบาล แบบสอบถามความไว้วางใจในองค์การและแบบสอบถามผลการดำเนินงานของกลุ่มงานการพยาบาล ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาและวิเคราะห์ค่าความเที่ยงของแบบสอบถามเท่ากับ .092 .94 และ.96 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติวิเคราะห์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัีน และการวิเคราะห์ถดถอยแบบเข้าทีละตัว
ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
1. ค่าเฉลี่ยผลการดำเนินงานของกลุ่มงานการพยาบาลโรงพยาบาลศูนย์ที่ผ่านการประเมินและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลอยู่ในระดับสูง (ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.91)
2. ความไว้วางใจในองค์การมีความสัมพันธ์ทางบวกกับผลการดำเนินงานของกลุ่มงานการพยาบาลโรงพยาบาลศูนย์ที่ผ่านการประเิมินและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลอยู่ในระดับปานกลาง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r=.625 p<.01)
3. วัฒนธรรมเชิงสร้่างสรรค์มีความสัมพนะ์ทางบวกกับผลการดำเนินงานของกลุ่มการพยาบาลโรงพยาบาลศูนย์ที่ผ่านการประเมินและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลอยู่ในระดับปานกลาง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r=.606 p<.01)
4. ตัวแปรที่สามารถพยากรณ์ผลการดำเนินงานของกลุ่มงานการพยาบาลโรงพยาบาลศูนย์ที่ผ่านการประเมินและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลได้แก่ ความไว้วางใจองค์การ และวัฒนธรรมเชิงสร้างสรรค์ซึ่งสมารถร่วมกันพยากรณ์ ผลการดำเนินงานของกลุ่มงานการพยาบาลได้ร้อยละ 43.50 (R ยกกำลังสอง = .435 p<.05) โดยสมการพยากรณ์ผลการดำเนินงานของกลุ่มงานการพยาบาลในรูปคะแนนมาตรฐานCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23363 ความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมเชิงสร้างสรรค์ ความไว้วางใจในองค์การกับผลการดำเนินงานของกลุ่มงานการพยาบาล ตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลศูนย์ที่ผ่านการประเมินและรับรองคุณภาพโรงพยาบ่าล = Relationships between constructive culture organizational trust and performance of nursing department as recieved by professional nurse at accredited regional hospitals and medical centers [printed text] / อารีย์ คำนวนศักดิ์, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545 . - ก-ญ, 124 แผ่น : ตารางประกอบ ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-179-810-5 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์. (พย. ม (การบริการการพยาบาล)).-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารคุณภาพโดยรวม
[LCSH]ความผูกพันต่อองค์การ
[LCSH]พยาบาลประจำการ
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพ
[LCSH]วัฒนธรรมองค์การ
[LCSH]โรงพยาบาล -- การรับรองคุณภาพKeywords: พยาบาลวิชาชีพ
ความผูกผันต่อองค์การ.
การบริหารคุณภาพโดยรวม.Class number: WY125 อ927 2545 Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับผลการดำเนินงานของกลุ่มพยาบาล ความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมเชิงสร้างสรรค์ ความไว้วางใจองค์การ กับผลการดำเนินงานของกลุ่มงานการพยาบาลตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลศูนย์ที่ผ่านการประเิมินและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลกลุ่มตัวอย่าง คือ พยาบาลประจำการจำนวน 287 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งขั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบสอบถามวัฒนธรรมเชิงสร้างสรรค์ของกลุ่มงานการพยาบาล แบบสอบถามความไว้วางใจในองค์การและแบบสอบถามผลการดำเนินงานของกลุ่มงานการพยาบาล ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาและวิเคราะห์ค่าความเที่ยงของแบบสอบถามเท่ากับ .092 .94 และ.96 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติวิเคราะห์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัีน และการวิเคราะห์ถดถอยแบบเข้าทีละตัว
ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
1. ค่าเฉลี่ยผลการดำเนินงานของกลุ่มงานการพยาบาลโรงพยาบาลศูนย์ที่ผ่านการประเมินและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลอยู่ในระดับสูง (ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.91)
2. ความไว้วางใจในองค์การมีความสัมพันธ์ทางบวกกับผลการดำเนินงานของกลุ่มงานการพยาบาลโรงพยาบาลศูนย์ที่ผ่านการประเิมินและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลอยู่ในระดับปานกลาง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r=.625 p<.01)
3. วัฒนธรรมเชิงสร้่างสรรค์มีความสัมพนะ์ทางบวกกับผลการดำเนินงานของกลุ่มการพยาบาลโรงพยาบาลศูนย์ที่ผ่านการประเมินและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลอยู่ในระดับปานกลาง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r=.606 p<.01)
4. ตัวแปรที่สามารถพยากรณ์ผลการดำเนินงานของกลุ่มงานการพยาบาลโรงพยาบาลศูนย์ที่ผ่านการประเมินและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลได้แก่ ความไว้วางใจองค์การ และวัฒนธรรมเชิงสร้างสรรค์ซึ่งสมารถร่วมกันพยากรณ์ ผลการดำเนินงานของกลุ่มงานการพยาบาลได้ร้อยละ 43.50 (R ยกกำลังสอง = .435 p<.05) โดยสมการพยากรณ์ผลการดำเนินงานของกลุ่มงานการพยาบาลในรูปคะแนนมาตรฐานCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23363 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000357010 THE WY125 อ927 2545 Thesis Main Library Thesis Corner Available ความสัีมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ความไว้วางใจหัวหน้าหอผู้ป่วย ความพึงพอใจในงานกับความยึดมั่นผูกพัน / รัมภาพรรณ ประมวลทรัพย์ / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2549
Title : ความสัีมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ความไว้วางใจหัวหน้าหอผู้ป่วย ความพึงพอใจในงานกับความยึดมั่นผูกพัน : ต่อองค์การของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลศูนย์ Original title : Relationships between personal factors trust in head nurses job satisfaction and organization commitment regional hospital and medical centers Material Type: printed text Authors: รัมภาพรรณ ประมวลทรัพย์, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2549 Pagination: ก-ฎ, 176 แผ่น Layout: ตารางประกอบ, แผนภูมิ Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์. (พย. ม (การบริหารการพยาบาล)). -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ความผูกพันต่อองค์การ
[LCSH]พยาบาลประจำการ
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วยKeywords: พยาบาลประจำการ.
หัวหน้าหอผู้ป่วย.
ความผูกพันต่อองค์การ.Class number: WY125 ร716 2549 Abstract: การวิจัยครั้งนี้่มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ความไว้วางใจในหัวหน้าหอผู้ป่วย ความพึงพอใจในงาน กับความยึดมั่นผูกผันต่อองค์การของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลศูนย์ กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลประจำการที่ปฎิบัติงานในโรงพยาบาลศูนย์ จำนวน 380 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมุลส่วนบุคคล แบบสอบถามความพึงพอใจในงาน และแบบสอบถามความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลประจำการ ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา และหาค่าความเที่ยงโดยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาคได้ .93 .95 และ.96 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูล โดยกาีรแจกแจงความถี่ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสถิติไคสแควร์ ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุุคูณแบบขั้นตอน
ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
1. ค่าเฉลี่ยความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การ ความไว้วางใจในหัวหน้าหอผู้ป่วย ความพึงพอใจในงานพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลศูนย์ อยู่ในระดับปานกลาง (ค่าเฉลี่ย = 4.00 3.86 3.90 ตามลำดับ)
2. ประสบการณ์ในการทำงานมีความสัมพันธ์ กับความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลศูนย์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001
3. ความไว้วางใจในหัวหน้าหอผู้ป่วย มีความสัมพันธ์ทางบวกระดับปานกลาง กับความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การ ของพยาบาลประจำการ (r=.467) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001
4. ความพึงพอใจในงานมีความสัมพันธ์ทางบวกระดับปานกลาง กับความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลประจำการ (r=.672) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001
5. ตัวแปรที่ร่วมกันพยากรณ์ ความยึดมั่ยผูกพันต่อองค์การ ของพยาบาลประจำการได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 คือ ความพึงพอใจในงานของพยาบาลประจำการ และประสบการณ์ในการทำงาน สามารถอธิบายความแปรปรวนของความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การ ของพยาบาลประจำการได้ร้อยละ 46.3 (R ยกกำลังสอง = .463 )
Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23332 ความสัีมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ความไว้วางใจหัวหน้าหอผู้ป่วย ความพึงพอใจในงานกับความยึดมั่นผูกพัน = Relationships between personal factors trust in head nurses job satisfaction and organization commitment regional hospital and medical centers : ต่อองค์การของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลศูนย์ [printed text] / รัมภาพรรณ ประมวลทรัพย์, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549 . - ก-ฎ, 176 แผ่น : ตารางประกอบ, แผนภูมิ ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์. (พย. ม (การบริหารการพยาบาล)). -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ความผูกพันต่อองค์การ
[LCSH]พยาบาลประจำการ
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วยKeywords: พยาบาลประจำการ.
หัวหน้าหอผู้ป่วย.
ความผูกพันต่อองค์การ.Class number: WY125 ร716 2549 Abstract: การวิจัยครั้งนี้่มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ความไว้วางใจในหัวหน้าหอผู้ป่วย ความพึงพอใจในงาน กับความยึดมั่นผูกผันต่อองค์การของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลศูนย์ กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลประจำการที่ปฎิบัติงานในโรงพยาบาลศูนย์ จำนวน 380 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมุลส่วนบุคคล แบบสอบถามความพึงพอใจในงาน และแบบสอบถามความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลประจำการ ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา และหาค่าความเที่ยงโดยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาคได้ .93 .95 และ.96 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูล โดยกาีรแจกแจงความถี่ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสถิติไคสแควร์ ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุุคูณแบบขั้นตอน
ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
1. ค่าเฉลี่ยความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การ ความไว้วางใจในหัวหน้าหอผู้ป่วย ความพึงพอใจในงานพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลศูนย์ อยู่ในระดับปานกลาง (ค่าเฉลี่ย = 4.00 3.86 3.90 ตามลำดับ)
2. ประสบการณ์ในการทำงานมีความสัมพันธ์ กับความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลศูนย์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001
3. ความไว้วางใจในหัวหน้าหอผู้ป่วย มีความสัมพันธ์ทางบวกระดับปานกลาง กับความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การ ของพยาบาลประจำการ (r=.467) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001
4. ความพึงพอใจในงานมีความสัมพันธ์ทางบวกระดับปานกลาง กับความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลประจำการ (r=.672) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001
5. ตัวแปรที่ร่วมกันพยากรณ์ ความยึดมั่ยผูกพันต่อองค์การ ของพยาบาลประจำการได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 คือ ความพึงพอใจในงานของพยาบาลประจำการ และประสบการณ์ในการทำงาน สามารถอธิบายความแปรปรวนของความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การ ของพยาบาลประจำการได้ร้อยละ 46.3 (R ยกกำลังสอง = .463 )
Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23332 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000357242 THE WY125 ร716 2549 Thesis Main Library Thesis Corner Available บทบาทหัวหน้าพยาบาลโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐที่พึงประสงค์ในทศวรรษหน้า (พ.ศ. 25512560) / วิภาวรรณ บัวสรวง / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2550
Title : บทบาทหัวหน้าพยาบาลโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐที่พึงประสงค์ในทศวรรษหน้า (พ.ศ. 25512560) Original title : The Desirable roles of nursing directors, government university hospitals, in the next decade (A.D. 2008-2017) Material Type: printed text Authors: วิภาวรรณ บัวสรวง, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2550 Pagination: ก-ฏ, 188 แผ่น Layout: ตารางประกอบ Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย. ม [การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2550 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารคุณภาพโดยรวม
[LCSH]การบริหารงานบุคคล
[LCSH]บทบาทที่คาดหวัง
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพKeywords: การบริหารงานบุคคล.
การบริหาร.
โรงพยาบาล.
พยาบาลวิชาชีพ.Class number: WX150 ว736 2550 Abstract: วัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาบทบาทหัวหน้าพยาบาลโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐที่พึงประสงค์ในทศวรรษหน้า (พ.ศ. 2551-2560) โดยใช้เทคนิค EDFR กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้เชี่ยวชาญจำนวน 25 คน คัดเลือกตามคุณสมบัติที่กำหนดไว้ โดยเป็นผู้เชี่ยวชาญที่มีความรู้ และประสบการณ์ตรงกับปัญหาการวิจัย และยินดีร่วมมือในการวิจัย ประกอบด้วย กลุ่มผู้เชี่ยวชาญด้านการบริหารโรงพยาบาล ด้านการบริหารการพยาบาล ด้านการศึกษาพยาบาล ด้านองค์การวิชาชีพพยาบาล และด้านนโยบายและองค์การสุขภาพ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสัมภาษณ์ปลายเปิดในรอบที่ 1 ส่วนรอบที่ 2 และรอบที่ 3 เป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่าใช้ระยะเวลาเก็บรวบรวมข้อมูล 93 วัน วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่ามัธยฐานและค่าพิสัยระหว่างควอไทล์
ผลการวิจัยพบว่า บทบาทหัวหนัาพยาบาลโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐที่พึงประสงค์ในทศวรรษหน้า (2551-2560) ที่ผู้เชี่ยวชาญมีความคิดเห็นสอดคล้องกัน ประกอบด้วยบทบาทย่อย 69 ข้อ เป็นบทบาทที่มีระดับความสำคัญมากที่สุด 56 ข้อ และระดับความสำคัญมาก 13 ข้อ จำแนกเป็น 9 ด้านดังนี้
1. ภาวะผู้นำ 2. การบริหารจัดการ 3. การพัฒนาคุณภาพบริการพยาบาล 4. พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 5. พัฒนาวิชาชีพ 6. วิชาการและการวิจัย 7. ด้านการจัดการการเิงิน 8. ด้านการจัดการสารสนเทศทางการพยาบาล 9. ด้านการอำนวยความสะดวกRecord link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23231 บทบาทหัวหน้าพยาบาลโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐที่พึงประสงค์ในทศวรรษหน้า (พ.ศ. 25512560) = The Desirable roles of nursing directors, government university hospitals, in the next decade (A.D. 2008-2017) [printed text] / วิภาวรรณ บัวสรวง, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550 . - ก-ฏ, 188 แผ่น : ตารางประกอบ ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย. ม [การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2550
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารคุณภาพโดยรวม
[LCSH]การบริหารงานบุคคล
[LCSH]บทบาทที่คาดหวัง
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพKeywords: การบริหารงานบุคคล.
การบริหาร.
โรงพยาบาล.
พยาบาลวิชาชีพ.Class number: WX150 ว736 2550 Abstract: วัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาบทบาทหัวหน้าพยาบาลโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐที่พึงประสงค์ในทศวรรษหน้า (พ.ศ. 2551-2560) โดยใช้เทคนิค EDFR กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้เชี่ยวชาญจำนวน 25 คน คัดเลือกตามคุณสมบัติที่กำหนดไว้ โดยเป็นผู้เชี่ยวชาญที่มีความรู้ และประสบการณ์ตรงกับปัญหาการวิจัย และยินดีร่วมมือในการวิจัย ประกอบด้วย กลุ่มผู้เชี่ยวชาญด้านการบริหารโรงพยาบาล ด้านการบริหารการพยาบาล ด้านการศึกษาพยาบาล ด้านองค์การวิชาชีพพยาบาล และด้านนโยบายและองค์การสุขภาพ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสัมภาษณ์ปลายเปิดในรอบที่ 1 ส่วนรอบที่ 2 และรอบที่ 3 เป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่าใช้ระยะเวลาเก็บรวบรวมข้อมูล 93 วัน วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่ามัธยฐานและค่าพิสัยระหว่างควอไทล์
ผลการวิจัยพบว่า บทบาทหัวหนัาพยาบาลโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐที่พึงประสงค์ในทศวรรษหน้า (2551-2560) ที่ผู้เชี่ยวชาญมีความคิดเห็นสอดคล้องกัน ประกอบด้วยบทบาทย่อย 69 ข้อ เป็นบทบาทที่มีระดับความสำคัญมากที่สุด 56 ข้อ และระดับความสำคัญมาก 13 ข้อ จำแนกเป็น 9 ด้านดังนี้
1. ภาวะผู้นำ 2. การบริหารจัดการ 3. การพัฒนาคุณภาพบริการพยาบาล 4. พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 5. พัฒนาวิชาชีพ 6. วิชาการและการวิจัย 7. ด้านการจัดการการเิงิน 8. ด้านการจัดการสารสนเทศทางการพยาบาล 9. ด้านการอำนวยความสะดวกRecord link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23231 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000355022 WX150 ว736 2550 Thesis Main Library Thesis Corner Available ผลของการฝึกอบรมการป้องกันความเสี่ยงต่อความสามารถในการจัดการความเสี่ยง / ชวไล ชุ่มคำ / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2545
Title : ผลของการฝึกอบรมการป้องกันความเสี่ยงต่อความสามารถในการจัดการความเสี่ยง : ของพยาบาลวิชาชีพ กรณีศึกษาโรงพยาบาลเลิดสิน Original title : The effect of risk prevention training program on risk management ability of professional nurses a case study of Lerdsin hospital Material Type: printed text Authors: ชวไล ชุ่มคำ, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2545 Pagination: ญ, 103 แผ่น Layout: ตาราง Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-179-850-4 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม. [การบริหารการพยาบาล]] - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2545 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารความเสี่ยง
[LCSH]การพยาบาล -- การฝึกอบรม
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพ
[LCSH]วิทยานิพนธ์
[LCSH]โรงพยาบาลเลิดสินKeywords: การบริหารความเสี่ยง.
พยาบาลวิชาชีพ.Class number: WY100 ช279 2545 Abstract: การวิจัยนี้เป็นการวิจัยแบบการทดลองเบื้องต้น ศึกษาในกลุ่มเดียววัดก่อนและหลังการทดลองมีวัตถุประสงค์ เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการจัดการความเสี่ยงของพยาบาลวิชาชีพก่อนและหลังการฝึกอบรมการป้องกันความเสี่ยงด้านการบริหารยาและเวชภัณฑ์ ในหอผู้ป่วยอายุรกรรม โรงพยาบาลเลิดสิน กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลวิชาชีพหอผู้ป่วยอายุรกรรมชายและอายุรกรรมหญิงโรงพยาบาลเลิดสิน จำนวน 22 คน เครื่องมือที่ใช้ในการทดลองประกอบด้วยแผนการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการบริหารความเสี่ยง แนวทางป้องกันความเสี่ยงด้านการบริหารยาและเวชภัณฑ์ในหอผู้ป่วยและแบบตรวจเยี่ยมการปฏิบัติตามแนวทางป้องกันความเสี่ยงด้านการบริหารยาและเวชภัณฑ์ในหอผู้ป่วย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือแบบสอบอัตนัยประยุกต์ (เอ็ม อี คิว) วัดความสามารถในการจัดการความเสี่ยงของพยาบาลวิชาชีพที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นตรวจสอบค่าความเที่ยงของแบบสอบด้วยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาของคอรนบาคเท่ากับ 0.746 ค่าดัชนีความยากของแบบสอบเท่ากับ 0.43 ค่าอำนาจจำแนกเท่ากับ 0.75 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและสถิติที ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ ความสามารถในการจัดการความเสี่ยงของพยาบาลวิชาชีพภายหลังการฝึกอบรมการป้องกันความเสี่ยงด้านการบริหารยาและเวชภัณฑ์ในหอผู้ป่วยอายุรกรรมสูงกว่าก่อนการฝึกอบรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23123 ผลของการฝึกอบรมการป้องกันความเสี่ยงต่อความสามารถในการจัดการความเสี่ยง = The effect of risk prevention training program on risk management ability of professional nurses a case study of Lerdsin hospital : ของพยาบาลวิชาชีพ กรณีศึกษาโรงพยาบาลเลิดสิน [printed text] / ชวไล ชุ่มคำ, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545 . - ญ, 103 แผ่น : ตาราง ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-179-850-4 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม. [การบริหารการพยาบาล]] - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2545
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารความเสี่ยง
[LCSH]การพยาบาล -- การฝึกอบรม
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพ
[LCSH]วิทยานิพนธ์
[LCSH]โรงพยาบาลเลิดสินKeywords: การบริหารความเสี่ยง.
พยาบาลวิชาชีพ.Class number: WY100 ช279 2545 Abstract: การวิจัยนี้เป็นการวิจัยแบบการทดลองเบื้องต้น ศึกษาในกลุ่มเดียววัดก่อนและหลังการทดลองมีวัตถุประสงค์ เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการจัดการความเสี่ยงของพยาบาลวิชาชีพก่อนและหลังการฝึกอบรมการป้องกันความเสี่ยงด้านการบริหารยาและเวชภัณฑ์ ในหอผู้ป่วยอายุรกรรม โรงพยาบาลเลิดสิน กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลวิชาชีพหอผู้ป่วยอายุรกรรมชายและอายุรกรรมหญิงโรงพยาบาลเลิดสิน จำนวน 22 คน เครื่องมือที่ใช้ในการทดลองประกอบด้วยแผนการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการบริหารความเสี่ยง แนวทางป้องกันความเสี่ยงด้านการบริหารยาและเวชภัณฑ์ในหอผู้ป่วยและแบบตรวจเยี่ยมการปฏิบัติตามแนวทางป้องกันความเสี่ยงด้านการบริหารยาและเวชภัณฑ์ในหอผู้ป่วย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือแบบสอบอัตนัยประยุกต์ (เอ็ม อี คิว) วัดความสามารถในการจัดการความเสี่ยงของพยาบาลวิชาชีพที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นตรวจสอบค่าความเที่ยงของแบบสอบด้วยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาของคอรนบาคเท่ากับ 0.746 ค่าดัชนีความยากของแบบสอบเท่ากับ 0.43 ค่าอำนาจจำแนกเท่ากับ 0.75 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและสถิติที ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ ความสามารถในการจัดการความเสี่ยงของพยาบาลวิชาชีพภายหลังการฝึกอบรมการป้องกันความเสี่ยงด้านการบริหารยาและเวชภัณฑ์ในหอผู้ป่วยอายุรกรรมสูงกว่าก่อนการฝึกอบรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23123 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354512 WY100 ช279 2545 Thesis Main Library Thesis Corner Available ผลของการพัฒนาการบริหารยาโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ต่ออุบัติการณ์ความคลาดเคลื่อนทางยาและความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพหอผู้ป่วยวิกฤต / นงนุช หอมเนียม / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2554
Title : ผลของการพัฒนาการบริหารยาโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ต่ออุบัติการณ์ความคลาดเคลื่อนทางยาและความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพหอผู้ป่วยวิกฤต : Effects of using medication administration by evidence-based practice on incidence of medication errors and nurses' job satisfaction in intensive care unit Material Type: printed text Authors: นงนุช หอมเนียม, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2554 Pagination: ก-ญ, 171 แผ่น Layout: ตาราง. Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]Critical Care -- methods
[LCSH]Intensive Care Units
[LCSH]การพยาบาลตามหลักฐานเชิงประจักษ์
[LCSH]พยาบาล -- ความพอใจในการทำงาน
[LCSH]ยา -- การบริหาร
[LCSH]หน่วยรักษาพยาบาลผู้ป่วยหนักKeywords: พยาบาลวิชาชีพ.
ความพอใจ.
การบริหาร.
การดูแล.Class number: WX218 น525 2554 Abstract: วิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาการบริหารยาโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ และเพื่อเปรียบเทียบอุบัติการณ์ความคลาดเคลื่อนในการบริหารยาและความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพก่อนและหลังการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการบริหารยาในหอผู้ป่วยวิกฤต กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยวิกฤต โรงพยาบาลพญาไท 2 จำนวน 18 คน เครื่องมือที่ใช้ในดำเนินการทดลองประกอบด้วย แผนการอบรม คู่มือการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการบริหารยาในหอผู้ป่วยวิกฤต แบบกำกับการทดลอง เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูลเป็นแบบบันทึกอุบัติการณ์ความคลาดเคลื่อนในการบริหารยาในหอผู้ป่วยวิกฤต และแบบสอบถามความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพ ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ และหาค่าความเที่ยงของแบบสอบถามความพึงพอใจในงานด้วยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาคได้เท่ากับ .91 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการทดสอบสถิติค่าที
ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. จำนวนอุบัติการณ์ความคลาดเคลื่อนในการให้ยาผิดขนาดภายหลังการทดลอง (2.44 ครั้งต่อ 1000 วันนอน) น้อยกว่าก่อนการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการบริหารยา (8.47 ครั้ง ต่อ 1000 วันนอน) และความคลาดเคลื่อนในการให้ยาผิดเวลาภายหลังการทดลอง (2.44 ครั้ง ต่อ 1000 วันนอน) น้อยกว่าก่อนการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการบริหารยา (5.65 ครั้งต่อ 1000 วันนอน) 2. คะแนนเฉลี่ยของความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพหลังการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการบริหารยาในหอผู้ป่วยวิกฤต (ค่าเฉลี่ย = 3.96) สูงกว่าก่อนการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ (ค่าเฉลี่ย = 3.16) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติระดับ .05
Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23195 ผลของการพัฒนาการบริหารยาโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ต่ออุบัติการณ์ความคลาดเคลื่อนทางยาและความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพหอผู้ป่วยวิกฤต : Effects of using medication administration by evidence-based practice on incidence of medication errors and nurses' job satisfaction in intensive care unit [printed text] / นงนุช หอมเนียม, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554 . - ก-ญ, 171 แผ่น : ตาราง. ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]Critical Care -- methods
[LCSH]Intensive Care Units
[LCSH]การพยาบาลตามหลักฐานเชิงประจักษ์
[LCSH]พยาบาล -- ความพอใจในการทำงาน
[LCSH]ยา -- การบริหาร
[LCSH]หน่วยรักษาพยาบาลผู้ป่วยหนักKeywords: พยาบาลวิชาชีพ.
ความพอใจ.
การบริหาร.
การดูแล.Class number: WX218 น525 2554 Abstract: วิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาการบริหารยาโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ และเพื่อเปรียบเทียบอุบัติการณ์ความคลาดเคลื่อนในการบริหารยาและความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพก่อนและหลังการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการบริหารยาในหอผู้ป่วยวิกฤต กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยวิกฤต โรงพยาบาลพญาไท 2 จำนวน 18 คน เครื่องมือที่ใช้ในดำเนินการทดลองประกอบด้วย แผนการอบรม คู่มือการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการบริหารยาในหอผู้ป่วยวิกฤต แบบกำกับการทดลอง เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูลเป็นแบบบันทึกอุบัติการณ์ความคลาดเคลื่อนในการบริหารยาในหอผู้ป่วยวิกฤต และแบบสอบถามความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพ ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ และหาค่าความเที่ยงของแบบสอบถามความพึงพอใจในงานด้วยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาคได้เท่ากับ .91 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการทดสอบสถิติค่าที
ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. จำนวนอุบัติการณ์ความคลาดเคลื่อนในการให้ยาผิดขนาดภายหลังการทดลอง (2.44 ครั้งต่อ 1000 วันนอน) น้อยกว่าก่อนการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการบริหารยา (8.47 ครั้ง ต่อ 1000 วันนอน) และความคลาดเคลื่อนในการให้ยาผิดเวลาภายหลังการทดลอง (2.44 ครั้ง ต่อ 1000 วันนอน) น้อยกว่าก่อนการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการบริหารยา (5.65 ครั้งต่อ 1000 วันนอน) 2. คะแนนเฉลี่ยของความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพหลังการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการบริหารยาในหอผู้ป่วยวิกฤต (ค่าเฉลี่ย = 3.96) สูงกว่าก่อนการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ (ค่าเฉลี่ย = 3.16) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติระดับ .05
Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23195 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000355261 WX218 น525 2554 Thesis Main Library Thesis Corner Available การบริหารเวลา / ฮินเดิล ทิม / กรุงเทพฯ : นานมีบุ๊คส์พับสิเคชั่นส์ - 2546
Title : การบริหารเวลา Original title : Manage your time Material Type: printed text Authors: ฮินเดิล ทิม, Author ; Hindle Tim, Associated Name ; สมโภช อนันต์คูศรี, Translator Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 1. Publisher: กรุงเทพฯ : นานมีบุ๊คส์พับสิเคชั่นส์ Publication Date: 2546 Series: Essential managers Pagination: 74 หน้า Layout: ภาพประกอบ ISBN (or other code): 978-974-965609--9 Price: 95.00 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารเวลา Keywords: การบริหารเวลา Class number: HD69.T54 Abstract: Curricular : BBA/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=21411 การบริหารเวลา = Manage your time [printed text] / ฮินเดิล ทิม, Author ; Hindle Tim, Associated Name ; สมโภช อนันต์คูศรี, Translator . - พิมพ์ครั้งที่ 1. . - นานมีบุ๊คส์พับสิเคชั่นส์, 2546 . - 74 หน้า : ภาพประกอบ. - (Essential managers) .
ISBN : 978-974-965609--9 : 95.00
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารเวลา Keywords: การบริหารเวลา Class number: HD69.T54 Abstract: Curricular : BBA/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=21411 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000335156 HD69.T54 ฮ437 2546 Book Main Library General Shelf Available Edutainment Collection. 10 อาชีพเทรนด์ของโลก / มูลนิธิไทยคม / กรุงเทพฯ : มูลนิธิไทยคม - 2011
Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000327237 DOCF12031 ส728 2554 v.1 c.1 Book Graduate Library General Shelf Available 32002000327294 DOCF12031 ส728 2554 v.2 c.1 Documentary Film Graduate Library General Shelf Available 32002000327252 DOCF12031 ส728 2554 v.3 c.1 Documentary Film Graduate Library General Shelf Available 32002000327260 DOCF12031 ส728 2554 v.1 c.2 Documentary Film Main Library Library Counter Not for loan 32002000327302 DOCF12031 ส728 2554 v.2 c.2 Documentary Film Main Library Library Counter Not for loan 32002000332567 DOCF12031 ส728 2554 v.3 c.2 Documentary Film Main Library Library Counter Not for loan Old book collection. ความปลอดภัยและ Competency พยาบาล CVT / เพ็ญจันทร์ แสนประสาน / กรุงเทพฯ : สุขขุมวิทการพิมพ์ - 2554
in ความปลอดภัย และ Competency พยาบาล CVT / บุปผาวัลย์ ศรีล้ำ ; ดวงกมล วัตราดุลย์ / กรุงเทพฯ : สุขขุมวิทการพิมพ์ - 2551
Collection Title: Old book collection Title : ความปลอดภัยและ Competency พยาบาล CVT Material Type: printed text Authors: เพ็ญจันทร์ แสนประสาน, Editor ; ดวงกมล วัตราดุลย์, Editor ; บุปผาวัลย์ ศรีล้ำ, Editor Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 3 Publisher: กรุงเทพฯ : สุขขุมวิทการพิมพ์ Publication Date: 2554 Pagination: 182 หน้า Layout: ภาพประกอบ Size: 27 ซม. ISBN (or other code): 978-974-383-227-7 Price: บริจาค. (250.00) General note: หนังสือเล่มนี้ได้มีการปรับปรุง เพิ่มเิติมเนื้อหาเพื่อให้ทันกับปัจจุบัน และมีการแบ่งเนื้อหาออกเป็น 3 ส่วน คือ ส่วนที่ 1: กล่าวถึงระบบบริหารความเสี่ยงทางการพยาบาล ที่รวบรวมแนวคิดการบริหารความเสี่ยงระบบมาตรฐานที่เกี่ยวข้อง การจัดการทางการพยาบาลเพื่อความปลอดภัย รวมทั้งตัวอย่างการค้นหาความเสี่ยง Trigger tool การตั้งทีมเฝ้าระวัีง การใช้ระบบการสื่อสารรายงานโดยการใช้ SABAR เป็นต้น โดยการนำความรู้จากคณะทำงานมาประสานประโยชน์ในการเรียนรู้เนื้อหาวิธีการขึ้น. ส่วนที่ 2: เป็นการรวบรวมผลการแบ่งปันความรู้จากผู้เชี่ยวชาญโรคหัวใจหลอดเลือดและทรวงอกเป็นจำนวนมาก มาสร้างเป็นสมรรถนะเฉพาะของพยาบาลวิชาชีพที่สามารถประยุกต์ใช้กับพยาบาลได้ทุกระดับตั้งแต่ปฐมภูิมิื ทุติยภูมิ และตติยภูมิ โดยนำตัวอย่างจากสถาบันต่าง ๆ เป็นจำนวนมารวบรวมอย่างเป็นระบบ ส่วนที่ 3: เป็นแนวคิดการสร้างรูปแบบการพยาบาล CVT เครือข่ายโดยการใช้การจัดการความรู้สู่ประชาชน เพื่อให้ประชาชนช่วยเหลือตนเองได้โดยกรอบแนวคิดที่คณะทำงานได้จัดสร้างขึ้น 5 Module ซึ่งอาจเป็นความพยายามที่จะแก้ปัญหาของชาติในการสร้างองค์ความรู้ใหม่จากผู้ปฎิบัิติงานและประชาชนทั่วประเทศในที่สุด Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]Cardiovascular -- assessment
[LCSH]Thoracic -- assessment
[LCSH]ความปลอดภัย -- พยาบาล
[LCSH]สมรรถนะ -- พยาบาลKeywords: สมรรถนะ.
พยาบาลวิชาชีพ.
ความปลอดภัย.
CTV.Class number: WY105 ค181 2554 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23182
in ความปลอดภัย และ Competency พยาบาล CVT / บุปผาวัลย์ ศรีล้ำ ; ดวงกมล วัตราดุลย์ / กรุงเทพฯ : สุขขุมวิทการพิมพ์ - 2551
Old book collection. ความปลอดภัยและ Competency พยาบาล CVT [printed text] / เพ็ญจันทร์ แสนประสาน, Editor ; ดวงกมล วัตราดุลย์, Editor ; บุปผาวัลย์ ศรีล้ำ, Editor . - พิมพ์ครั้งที่ 3 . - กรุงเทพฯ : สุขขุมวิทการพิมพ์, 2554 . - 182 หน้า : ภาพประกอบ ; 27 ซม.
ISBN : 978-974-383-227-7 : บริจาค. (250.00)
หนังสือเล่มนี้ได้มีการปรับปรุง เพิ่มเิติมเนื้อหาเพื่อให้ทันกับปัจจุบัน และมีการแบ่งเนื้อหาออกเป็น 3 ส่วน คือ ส่วนที่ 1: กล่าวถึงระบบบริหารความเสี่ยงทางการพยาบาล ที่รวบรวมแนวคิดการบริหารความเสี่ยงระบบมาตรฐานที่เกี่ยวข้อง การจัดการทางการพยาบาลเพื่อความปลอดภัย รวมทั้งตัวอย่างการค้นหาความเสี่ยง Trigger tool การตั้งทีมเฝ้าระวัีง การใช้ระบบการสื่อสารรายงานโดยการใช้ SABAR เป็นต้น โดยการนำความรู้จากคณะทำงานมาประสานประโยชน์ในการเรียนรู้เนื้อหาวิธีการขึ้น. ส่วนที่ 2: เป็นการรวบรวมผลการแบ่งปันความรู้จากผู้เชี่ยวชาญโรคหัวใจหลอดเลือดและทรวงอกเป็นจำนวนมาก มาสร้างเป็นสมรรถนะเฉพาะของพยาบาลวิชาชีพที่สามารถประยุกต์ใช้กับพยาบาลได้ทุกระดับตั้งแต่ปฐมภูิมิื ทุติยภูมิ และตติยภูมิ โดยนำตัวอย่างจากสถาบันต่าง ๆ เป็นจำนวนมารวบรวมอย่างเป็นระบบ ส่วนที่ 3: เป็นแนวคิดการสร้างรูปแบบการพยาบาล CVT เครือข่ายโดยการใช้การจัดการความรู้สู่ประชาชน เพื่อให้ประชาชนช่วยเหลือตนเองได้โดยกรอบแนวคิดที่คณะทำงานได้จัดสร้างขึ้น 5 Module ซึ่งอาจเป็นความพยายามที่จะแก้ปัญหาของชาติในการสร้างองค์ความรู้ใหม่จากผู้ปฎิบัิติงานและประชาชนทั่วประเทศในที่สุด
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]Cardiovascular -- assessment
[LCSH]Thoracic -- assessment
[LCSH]ความปลอดภัย -- พยาบาล
[LCSH]สมรรถนะ -- พยาบาลKeywords: สมรรถนะ.
พยาบาลวิชาชีพ.
ความปลอดภัย.
CTV.Class number: WY105 ค181 2554 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23182 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000383719 WY105 ค181 2554 Book Main Library Library Counter Available