From this page you can:
Home |
Search results
176 result(s) search for keyword(s) 'พยาบาลวิชาชีพ. ความพอใจ. การบริหาร. การดูแล.'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
ผลของการพัฒนาการบริหารยาโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ต่ออุบัติการณ์ความคลาดเคลื่อนทางยาและความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพหอผู้ป่วยวิกฤต / นงนุช หอมเนียม / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2554
Title : ผลของการพัฒนาการบริหารยาโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ต่ออุบัติการณ์ความคลาดเคลื่อนทางยาและความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพหอผู้ป่วยวิกฤต : Effects of using medication administration by evidence-based practice on incidence of medication errors and nurses' job satisfaction in intensive care unit Material Type: printed text Authors: นงนุช หอมเนียม, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2554 Pagination: ก-ญ, 171 แผ่น Layout: ตาราง. Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]Critical Care -- methods
[LCSH]Intensive Care Units
[LCSH]การพยาบาลตามหลักฐานเชิงประจักษ์
[LCSH]พยาบาล -- ความพอใจในการทำงาน
[LCSH]ยา -- การบริหาร
[LCSH]หน่วยรักษาพยาบาลผู้ป่วยหนักKeywords: พยาบาลวิชาชีพ.
ความพอใจ.
การบริหาร.
การดูแล.Class number: WX218 น525 2554 Abstract: วิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาการบริหารยาโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ และเพื่อเปรียบเทียบอุบัติการณ์ความคลาดเคลื่อนในการบริหารยาและความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพก่อนและหลังการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการบริหารยาในหอผู้ป่วยวิกฤต กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยวิกฤต โรงพยาบาลพญาไท 2 จำนวน 18 คน เครื่องมือที่ใช้ในดำเนินการทดลองประกอบด้วย แผนการอบรม คู่มือการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการบริหารยาในหอผู้ป่วยวิกฤต แบบกำกับการทดลอง เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูลเป็นแบบบันทึกอุบัติการณ์ความคลาดเคลื่อนในการบริหารยาในหอผู้ป่วยวิกฤต และแบบสอบถามความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพ ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ และหาค่าความเที่ยงของแบบสอบถามความพึงพอใจในงานด้วยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาคได้เท่ากับ .91 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการทดสอบสถิติค่าที
ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. จำนวนอุบัติการณ์ความคลาดเคลื่อนในการให้ยาผิดขนาดภายหลังการทดลอง (2.44 ครั้งต่อ 1000 วันนอน) น้อยกว่าก่อนการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการบริหารยา (8.47 ครั้ง ต่อ 1000 วันนอน) และความคลาดเคลื่อนในการให้ยาผิดเวลาภายหลังการทดลอง (2.44 ครั้ง ต่อ 1000 วันนอน) น้อยกว่าก่อนการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการบริหารยา (5.65 ครั้งต่อ 1000 วันนอน) 2. คะแนนเฉลี่ยของความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพหลังการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการบริหารยาในหอผู้ป่วยวิกฤต (ค่าเฉลี่ย = 3.96) สูงกว่าก่อนการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ (ค่าเฉลี่ย = 3.16) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติระดับ .05
Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23195 ผลของการพัฒนาการบริหารยาโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ต่ออุบัติการณ์ความคลาดเคลื่อนทางยาและความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพหอผู้ป่วยวิกฤต : Effects of using medication administration by evidence-based practice on incidence of medication errors and nurses' job satisfaction in intensive care unit [printed text] / นงนุช หอมเนียม, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554 . - ก-ญ, 171 แผ่น : ตาราง. ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]Critical Care -- methods
[LCSH]Intensive Care Units
[LCSH]การพยาบาลตามหลักฐานเชิงประจักษ์
[LCSH]พยาบาล -- ความพอใจในการทำงาน
[LCSH]ยา -- การบริหาร
[LCSH]หน่วยรักษาพยาบาลผู้ป่วยหนักKeywords: พยาบาลวิชาชีพ.
ความพอใจ.
การบริหาร.
การดูแล.Class number: WX218 น525 2554 Abstract: วิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาการบริหารยาโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ และเพื่อเปรียบเทียบอุบัติการณ์ความคลาดเคลื่อนในการบริหารยาและความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพก่อนและหลังการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการบริหารยาในหอผู้ป่วยวิกฤต กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยวิกฤต โรงพยาบาลพญาไท 2 จำนวน 18 คน เครื่องมือที่ใช้ในดำเนินการทดลองประกอบด้วย แผนการอบรม คู่มือการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการบริหารยาในหอผู้ป่วยวิกฤต แบบกำกับการทดลอง เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูลเป็นแบบบันทึกอุบัติการณ์ความคลาดเคลื่อนในการบริหารยาในหอผู้ป่วยวิกฤต และแบบสอบถามความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพ ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ และหาค่าความเที่ยงของแบบสอบถามความพึงพอใจในงานด้วยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาคได้เท่ากับ .91 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการทดสอบสถิติค่าที
ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. จำนวนอุบัติการณ์ความคลาดเคลื่อนในการให้ยาผิดขนาดภายหลังการทดลอง (2.44 ครั้งต่อ 1000 วันนอน) น้อยกว่าก่อนการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการบริหารยา (8.47 ครั้ง ต่อ 1000 วันนอน) และความคลาดเคลื่อนในการให้ยาผิดเวลาภายหลังการทดลอง (2.44 ครั้ง ต่อ 1000 วันนอน) น้อยกว่าก่อนการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการบริหารยา (5.65 ครั้งต่อ 1000 วันนอน) 2. คะแนนเฉลี่ยของความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพหลังการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการบริหารยาในหอผู้ป่วยวิกฤต (ค่าเฉลี่ย = 3.96) สูงกว่าก่อนการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ (ค่าเฉลี่ย = 3.16) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติระดับ .05
Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23195 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000355261 WX218 น525 2554 Thesis Main Library Thesis Corner Available ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยบุคคล ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วยบรรยากาศองค์การ กับความตั้งใจที่จะอยู่ในงานของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ / ปิ่นฤทัย ประดิษฐศิลป์, / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2551
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยบุคคล ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วยบรรยากาศองค์การ กับความตั้งใจที่จะอยู่ในงานของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ Original title : Relationships between personal factors, strategic leadership of head nurse, organizational climate and intention to stay in nursing, service of professional nurses, government university hospitals Material Type: printed text Authors: ปิ่นฤทัย ประดิษฐศิลป์, (2525-), Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2551 Pagination: ก-ฎ, 164 แผ่น Layout: ตารางประกอบ Size: 30 ซม. Price: บริจาค General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม. [การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,2551 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารเชิงกลยุทธ์
[LCSH]พยาบาล -- การทำงาน
[LCSH]พยาบาล--วิชาชีพ
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย
[LCSH]ภาวะผู้นำKeywords: ภาวะผู้นำ.
การบริหาร.
พยาบาลวิชาชีพ.Class number: WY18 ป535 2551 Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยส่วนบุคคล ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย บรรยากาศองค์การ และความตั้งใจที่จะอยู่ในงานของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ และเพื่อศึกษาหาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย บรรยากาศองค์การ กับความตั้งใจที่จะอยู่ในงานของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ กลุ่มตัวอย่าง คือ พยาบาลวิชาชีพระดับปฏิบัติการที่มีประสบการณ์ทำงานตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไป ในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ จำนวน 350 คน ซึ่งได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือการวิจัยประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย บรรยากาศองค์การ และความตั้งใจที่จะอยู่ในงาน ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา และหาค่าความเที่ยง โดยค่าสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาค มีค่าเท่ากับ .97 และ .93 วิเคราะห์ข้อมูลโดยการแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติไคสแควร์ ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
1.พยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐส่วนใหญ่มีความตั้งใจที่จะอยู่ในงานต่อไป มากถึง ร้อยละ 93.7 2.ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ มีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับสูง และบรรยากาศองค์การ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ มีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับดี ( [Mean] = 3.93 และ [Mean] = 3.89 ตามลำดับ) 3.ปัจจัยส่วนบุคคล ด้านระดับการศึกษา มีความสัมพันธ์กับความตั้งใจที่จะอยู่ในงานของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วน อายุ สถานภาพสมรส ประสบการณ์การทำงาน และสถานภาพการทำงาน ไม่มีความสัมพันธ์กับความตั้งใจที่จะอยู่ในงานของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ 4.ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย ไม่มีความสัมพันธ์กับความตั้งใจที่จะอยู่ในงานของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 5.บรรยากาศองค์การ มีความสัมพันธ์กับความตั้งใจที่จะอยู่ในงานของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23171 ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยบุคคล ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วยบรรยากาศองค์การ กับความตั้งใจที่จะอยู่ในงานของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ = Relationships between personal factors, strategic leadership of head nurse, organizational climate and intention to stay in nursing, service of professional nurses, government university hospitals [printed text] / ปิ่นฤทัย ประดิษฐศิลป์, (2525-), Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551 . - ก-ฎ, 164 แผ่น : ตารางประกอบ ; 30 ซม.
บริจาค
วิทยานิพนธ์ [พย.ม. [การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,2551
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารเชิงกลยุทธ์
[LCSH]พยาบาล -- การทำงาน
[LCSH]พยาบาล--วิชาชีพ
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย
[LCSH]ภาวะผู้นำKeywords: ภาวะผู้นำ.
การบริหาร.
พยาบาลวิชาชีพ.Class number: WY18 ป535 2551 Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยส่วนบุคคล ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย บรรยากาศองค์การ และความตั้งใจที่จะอยู่ในงานของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ และเพื่อศึกษาหาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย บรรยากาศองค์การ กับความตั้งใจที่จะอยู่ในงานของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ กลุ่มตัวอย่าง คือ พยาบาลวิชาชีพระดับปฏิบัติการที่มีประสบการณ์ทำงานตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไป ในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ จำนวน 350 คน ซึ่งได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือการวิจัยประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย บรรยากาศองค์การ และความตั้งใจที่จะอยู่ในงาน ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา และหาค่าความเที่ยง โดยค่าสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาค มีค่าเท่ากับ .97 และ .93 วิเคราะห์ข้อมูลโดยการแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติไคสแควร์ ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
1.พยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐส่วนใหญ่มีความตั้งใจที่จะอยู่ในงานต่อไป มากถึง ร้อยละ 93.7 2.ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ มีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับสูง และบรรยากาศองค์การ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ มีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับดี ( [Mean] = 3.93 และ [Mean] = 3.89 ตามลำดับ) 3.ปัจจัยส่วนบุคคล ด้านระดับการศึกษา มีความสัมพันธ์กับความตั้งใจที่จะอยู่ในงานของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วน อายุ สถานภาพสมรส ประสบการณ์การทำงาน และสถานภาพการทำงาน ไม่มีความสัมพันธ์กับความตั้งใจที่จะอยู่ในงานของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ 4.ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย ไม่มีความสัมพันธ์กับความตั้งใจที่จะอยู่ในงานของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 5.บรรยากาศองค์การ มีความสัมพันธ์กับความตั้งใจที่จะอยู่ในงานของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23171 ความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมเชิงสร้างสรรค์ ความไว้วางใจในองค์การกับผลการดำเนินงานของกลุ่มงานการพยาบาล ตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลศูนย์ที่ผ่านการประเมินและรับรองคุณภาพโรงพยาบ่าล / อารีย์ คำนวนศักดิ์ / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2545
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมเชิงสร้างสรรค์ ความไว้วางใจในองค์การกับผลการดำเนินงานของกลุ่มงานการพยาบาล ตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลศูนย์ที่ผ่านการประเมินและรับรองคุณภาพโรงพยาบ่าล Original title : Relationships between constructive culture organizational trust and performance of nursing department as recieved by professional nurse at accredited regional hospitals and medical centers Material Type: printed text Authors: อารีย์ คำนวนศักดิ์, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2545 Pagination: ก-ญ, 124 แผ่น Layout: ตารางประกอบ Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-179-810-5 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์. (พย. ม (การบริการการพยาบาล)).-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารคุณภาพโดยรวม
[LCSH]ความผูกพันต่อองค์การ
[LCSH]พยาบาลประจำการ
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพ
[LCSH]วัฒนธรรมองค์การ
[LCSH]โรงพยาบาล -- การรับรองคุณภาพKeywords: พยาบาลวิชาชีพ
ความผูกผันต่อองค์การ.
การบริหารคุณภาพโดยรวม.Class number: WY125 อ927 2545 Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับผลการดำเนินงานของกลุ่มพยาบาล ความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมเชิงสร้างสรรค์ ความไว้วางใจองค์การ กับผลการดำเนินงานของกลุ่มงานการพยาบาลตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลศูนย์ที่ผ่านการประเิมินและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลกลุ่มตัวอย่าง คือ พยาบาลประจำการจำนวน 287 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งขั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบสอบถามวัฒนธรรมเชิงสร้างสรรค์ของกลุ่มงานการพยาบาล แบบสอบถามความไว้วางใจในองค์การและแบบสอบถามผลการดำเนินงานของกลุ่มงานการพยาบาล ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาและวิเคราะห์ค่าความเที่ยงของแบบสอบถามเท่ากับ .092 .94 และ.96 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติวิเคราะห์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัีน และการวิเคราะห์ถดถอยแบบเข้าทีละตัว
ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
1. ค่าเฉลี่ยผลการดำเนินงานของกลุ่มงานการพยาบาลโรงพยาบาลศูนย์ที่ผ่านการประเมินและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลอยู่ในระดับสูง (ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.91)
2. ความไว้วางใจในองค์การมีความสัมพันธ์ทางบวกกับผลการดำเนินงานของกลุ่มงานการพยาบาลโรงพยาบาลศูนย์ที่ผ่านการประเิมินและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลอยู่ในระดับปานกลาง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r=.625 p<.01)
3. วัฒนธรรมเชิงสร้่างสรรค์มีความสัมพนะ์ทางบวกกับผลการดำเนินงานของกลุ่มการพยาบาลโรงพยาบาลศูนย์ที่ผ่านการประเมินและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลอยู่ในระดับปานกลาง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r=.606 p<.01)
4. ตัวแปรที่สามารถพยากรณ์ผลการดำเนินงานของกลุ่มงานการพยาบาลโรงพยาบาลศูนย์ที่ผ่านการประเมินและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลได้แก่ ความไว้วางใจองค์การ และวัฒนธรรมเชิงสร้างสรรค์ซึ่งสมารถร่วมกันพยากรณ์ ผลการดำเนินงานของกลุ่มงานการพยาบาลได้ร้อยละ 43.50 (R ยกกำลังสอง = .435 p<.05) โดยสมการพยากรณ์ผลการดำเนินงานของกลุ่มงานการพยาบาลในรูปคะแนนมาตรฐานCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23363 ความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมเชิงสร้างสรรค์ ความไว้วางใจในองค์การกับผลการดำเนินงานของกลุ่มงานการพยาบาล ตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลศูนย์ที่ผ่านการประเมินและรับรองคุณภาพโรงพยาบ่าล = Relationships between constructive culture organizational trust and performance of nursing department as recieved by professional nurse at accredited regional hospitals and medical centers [printed text] / อารีย์ คำนวนศักดิ์, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545 . - ก-ญ, 124 แผ่น : ตารางประกอบ ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-179-810-5 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์. (พย. ม (การบริการการพยาบาล)).-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารคุณภาพโดยรวม
[LCSH]ความผูกพันต่อองค์การ
[LCSH]พยาบาลประจำการ
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพ
[LCSH]วัฒนธรรมองค์การ
[LCSH]โรงพยาบาล -- การรับรองคุณภาพKeywords: พยาบาลวิชาชีพ
ความผูกผันต่อองค์การ.
การบริหารคุณภาพโดยรวม.Class number: WY125 อ927 2545 Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับผลการดำเนินงานของกลุ่มพยาบาล ความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมเชิงสร้างสรรค์ ความไว้วางใจองค์การ กับผลการดำเนินงานของกลุ่มงานการพยาบาลตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลศูนย์ที่ผ่านการประเิมินและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลกลุ่มตัวอย่าง คือ พยาบาลประจำการจำนวน 287 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งขั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบสอบถามวัฒนธรรมเชิงสร้างสรรค์ของกลุ่มงานการพยาบาล แบบสอบถามความไว้วางใจในองค์การและแบบสอบถามผลการดำเนินงานของกลุ่มงานการพยาบาล ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาและวิเคราะห์ค่าความเที่ยงของแบบสอบถามเท่ากับ .092 .94 และ.96 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติวิเคราะห์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัีน และการวิเคราะห์ถดถอยแบบเข้าทีละตัว
ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
1. ค่าเฉลี่ยผลการดำเนินงานของกลุ่มงานการพยาบาลโรงพยาบาลศูนย์ที่ผ่านการประเมินและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลอยู่ในระดับสูง (ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.91)
2. ความไว้วางใจในองค์การมีความสัมพันธ์ทางบวกกับผลการดำเนินงานของกลุ่มงานการพยาบาลโรงพยาบาลศูนย์ที่ผ่านการประเิมินและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลอยู่ในระดับปานกลาง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r=.625 p<.01)
3. วัฒนธรรมเชิงสร้่างสรรค์มีความสัมพนะ์ทางบวกกับผลการดำเนินงานของกลุ่มการพยาบาลโรงพยาบาลศูนย์ที่ผ่านการประเมินและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลอยู่ในระดับปานกลาง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r=.606 p<.01)
4. ตัวแปรที่สามารถพยากรณ์ผลการดำเนินงานของกลุ่มงานการพยาบาลโรงพยาบาลศูนย์ที่ผ่านการประเมินและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลได้แก่ ความไว้วางใจองค์การ และวัฒนธรรมเชิงสร้างสรรค์ซึ่งสมารถร่วมกันพยากรณ์ ผลการดำเนินงานของกลุ่มงานการพยาบาลได้ร้อยละ 43.50 (R ยกกำลังสอง = .435 p<.05) โดยสมการพยากรณ์ผลการดำเนินงานของกลุ่มงานการพยาบาลในรูปคะแนนมาตรฐานCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23363 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000357010 THE WY125 อ927 2545 Thesis Main Library Thesis Corner Available บทบาทหัวหน้าพยาบาลโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐที่พึงประสงค์ในทศวรรษหน้า (พ.ศ. 25512560) / วิภาวรรณ บัวสรวง / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2550
Title : บทบาทหัวหน้าพยาบาลโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐที่พึงประสงค์ในทศวรรษหน้า (พ.ศ. 25512560) Original title : The Desirable roles of nursing directors, government university hospitals, in the next decade (A.D. 2008-2017) Material Type: printed text Authors: วิภาวรรณ บัวสรวง, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2550 Pagination: ก-ฏ, 188 แผ่น Layout: ตารางประกอบ Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย. ม [การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2550 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารคุณภาพโดยรวม
[LCSH]การบริหารงานบุคคล
[LCSH]บทบาทที่คาดหวัง
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพKeywords: การบริหารงานบุคคล.
การบริหาร.
โรงพยาบาล.
พยาบาลวิชาชีพ.Class number: WX150 ว736 2550 Abstract: วัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาบทบาทหัวหน้าพยาบาลโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐที่พึงประสงค์ในทศวรรษหน้า (พ.ศ. 2551-2560) โดยใช้เทคนิค EDFR กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้เชี่ยวชาญจำนวน 25 คน คัดเลือกตามคุณสมบัติที่กำหนดไว้ โดยเป็นผู้เชี่ยวชาญที่มีความรู้ และประสบการณ์ตรงกับปัญหาการวิจัย และยินดีร่วมมือในการวิจัย ประกอบด้วย กลุ่มผู้เชี่ยวชาญด้านการบริหารโรงพยาบาล ด้านการบริหารการพยาบาล ด้านการศึกษาพยาบาล ด้านองค์การวิชาชีพพยาบาล และด้านนโยบายและองค์การสุขภาพ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสัมภาษณ์ปลายเปิดในรอบที่ 1 ส่วนรอบที่ 2 และรอบที่ 3 เป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่าใช้ระยะเวลาเก็บรวบรวมข้อมูล 93 วัน วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่ามัธยฐานและค่าพิสัยระหว่างควอไทล์
ผลการวิจัยพบว่า บทบาทหัวหนัาพยาบาลโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐที่พึงประสงค์ในทศวรรษหน้า (2551-2560) ที่ผู้เชี่ยวชาญมีความคิดเห็นสอดคล้องกัน ประกอบด้วยบทบาทย่อย 69 ข้อ เป็นบทบาทที่มีระดับความสำคัญมากที่สุด 56 ข้อ และระดับความสำคัญมาก 13 ข้อ จำแนกเป็น 9 ด้านดังนี้
1. ภาวะผู้นำ 2. การบริหารจัดการ 3. การพัฒนาคุณภาพบริการพยาบาล 4. พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 5. พัฒนาวิชาชีพ 6. วิชาการและการวิจัย 7. ด้านการจัดการการเิงิน 8. ด้านการจัดการสารสนเทศทางการพยาบาล 9. ด้านการอำนวยความสะดวกRecord link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23231 บทบาทหัวหน้าพยาบาลโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐที่พึงประสงค์ในทศวรรษหน้า (พ.ศ. 25512560) = The Desirable roles of nursing directors, government university hospitals, in the next decade (A.D. 2008-2017) [printed text] / วิภาวรรณ บัวสรวง, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550 . - ก-ฏ, 188 แผ่น : ตารางประกอบ ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย. ม [การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2550
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารคุณภาพโดยรวม
[LCSH]การบริหารงานบุคคล
[LCSH]บทบาทที่คาดหวัง
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพKeywords: การบริหารงานบุคคล.
การบริหาร.
โรงพยาบาล.
พยาบาลวิชาชีพ.Class number: WX150 ว736 2550 Abstract: วัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาบทบาทหัวหน้าพยาบาลโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐที่พึงประสงค์ในทศวรรษหน้า (พ.ศ. 2551-2560) โดยใช้เทคนิค EDFR กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้เชี่ยวชาญจำนวน 25 คน คัดเลือกตามคุณสมบัติที่กำหนดไว้ โดยเป็นผู้เชี่ยวชาญที่มีความรู้ และประสบการณ์ตรงกับปัญหาการวิจัย และยินดีร่วมมือในการวิจัย ประกอบด้วย กลุ่มผู้เชี่ยวชาญด้านการบริหารโรงพยาบาล ด้านการบริหารการพยาบาล ด้านการศึกษาพยาบาล ด้านองค์การวิชาชีพพยาบาล และด้านนโยบายและองค์การสุขภาพ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสัมภาษณ์ปลายเปิดในรอบที่ 1 ส่วนรอบที่ 2 และรอบที่ 3 เป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่าใช้ระยะเวลาเก็บรวบรวมข้อมูล 93 วัน วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่ามัธยฐานและค่าพิสัยระหว่างควอไทล์
ผลการวิจัยพบว่า บทบาทหัวหนัาพยาบาลโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐที่พึงประสงค์ในทศวรรษหน้า (2551-2560) ที่ผู้เชี่ยวชาญมีความคิดเห็นสอดคล้องกัน ประกอบด้วยบทบาทย่อย 69 ข้อ เป็นบทบาทที่มีระดับความสำคัญมากที่สุด 56 ข้อ และระดับความสำคัญมาก 13 ข้อ จำแนกเป็น 9 ด้านดังนี้
1. ภาวะผู้นำ 2. การบริหารจัดการ 3. การพัฒนาคุณภาพบริการพยาบาล 4. พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 5. พัฒนาวิชาชีพ 6. วิชาการและการวิจัย 7. ด้านการจัดการการเิงิน 8. ด้านการจัดการสารสนเทศทางการพยาบาล 9. ด้านการอำนวยความสะดวกRecord link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23231 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000355022 WX150 ว736 2550 Thesis Main Library Thesis Corner Available ผลของการฝึกอบรมการป้องกันความเสี่ยงต่อความสามารถในการจัดการความเสี่ยง / ชวไล ชุ่มคำ / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2545
Title : ผลของการฝึกอบรมการป้องกันความเสี่ยงต่อความสามารถในการจัดการความเสี่ยง : ของพยาบาลวิชาชีพ กรณีศึกษาโรงพยาบาลเลิดสิน Original title : The effect of risk prevention training program on risk management ability of professional nurses a case study of Lerdsin hospital Material Type: printed text Authors: ชวไล ชุ่มคำ, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2545 Pagination: ญ, 103 แผ่น Layout: ตาราง Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-179-850-4 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม. [การบริหารการพยาบาล]] - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2545 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารความเสี่ยง
[LCSH]การพยาบาล -- การฝึกอบรม
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพ
[LCSH]วิทยานิพนธ์
[LCSH]โรงพยาบาลเลิดสินKeywords: การบริหารความเสี่ยง.
พยาบาลวิชาชีพ.Class number: WY100 ช279 2545 Abstract: การวิจัยนี้เป็นการวิจัยแบบการทดลองเบื้องต้น ศึกษาในกลุ่มเดียววัดก่อนและหลังการทดลองมีวัตถุประสงค์ เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการจัดการความเสี่ยงของพยาบาลวิชาชีพก่อนและหลังการฝึกอบรมการป้องกันความเสี่ยงด้านการบริหารยาและเวชภัณฑ์ ในหอผู้ป่วยอายุรกรรม โรงพยาบาลเลิดสิน กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลวิชาชีพหอผู้ป่วยอายุรกรรมชายและอายุรกรรมหญิงโรงพยาบาลเลิดสิน จำนวน 22 คน เครื่องมือที่ใช้ในการทดลองประกอบด้วยแผนการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการบริหารความเสี่ยง แนวทางป้องกันความเสี่ยงด้านการบริหารยาและเวชภัณฑ์ในหอผู้ป่วยและแบบตรวจเยี่ยมการปฏิบัติตามแนวทางป้องกันความเสี่ยงด้านการบริหารยาและเวชภัณฑ์ในหอผู้ป่วย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือแบบสอบอัตนัยประยุกต์ (เอ็ม อี คิว) วัดความสามารถในการจัดการความเสี่ยงของพยาบาลวิชาชีพที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นตรวจสอบค่าความเที่ยงของแบบสอบด้วยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาของคอรนบาคเท่ากับ 0.746 ค่าดัชนีความยากของแบบสอบเท่ากับ 0.43 ค่าอำนาจจำแนกเท่ากับ 0.75 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและสถิติที ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ ความสามารถในการจัดการความเสี่ยงของพยาบาลวิชาชีพภายหลังการฝึกอบรมการป้องกันความเสี่ยงด้านการบริหารยาและเวชภัณฑ์ในหอผู้ป่วยอายุรกรรมสูงกว่าก่อนการฝึกอบรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23123 ผลของการฝึกอบรมการป้องกันความเสี่ยงต่อความสามารถในการจัดการความเสี่ยง = The effect of risk prevention training program on risk management ability of professional nurses a case study of Lerdsin hospital : ของพยาบาลวิชาชีพ กรณีศึกษาโรงพยาบาลเลิดสิน [printed text] / ชวไล ชุ่มคำ, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545 . - ญ, 103 แผ่น : ตาราง ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-179-850-4 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม. [การบริหารการพยาบาล]] - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2545
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารความเสี่ยง
[LCSH]การพยาบาล -- การฝึกอบรม
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพ
[LCSH]วิทยานิพนธ์
[LCSH]โรงพยาบาลเลิดสินKeywords: การบริหารความเสี่ยง.
พยาบาลวิชาชีพ.Class number: WY100 ช279 2545 Abstract: การวิจัยนี้เป็นการวิจัยแบบการทดลองเบื้องต้น ศึกษาในกลุ่มเดียววัดก่อนและหลังการทดลองมีวัตถุประสงค์ เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการจัดการความเสี่ยงของพยาบาลวิชาชีพก่อนและหลังการฝึกอบรมการป้องกันความเสี่ยงด้านการบริหารยาและเวชภัณฑ์ ในหอผู้ป่วยอายุรกรรม โรงพยาบาลเลิดสิน กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลวิชาชีพหอผู้ป่วยอายุรกรรมชายและอายุรกรรมหญิงโรงพยาบาลเลิดสิน จำนวน 22 คน เครื่องมือที่ใช้ในการทดลองประกอบด้วยแผนการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการบริหารความเสี่ยง แนวทางป้องกันความเสี่ยงด้านการบริหารยาและเวชภัณฑ์ในหอผู้ป่วยและแบบตรวจเยี่ยมการปฏิบัติตามแนวทางป้องกันความเสี่ยงด้านการบริหารยาและเวชภัณฑ์ในหอผู้ป่วย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือแบบสอบอัตนัยประยุกต์ (เอ็ม อี คิว) วัดความสามารถในการจัดการความเสี่ยงของพยาบาลวิชาชีพที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นตรวจสอบค่าความเที่ยงของแบบสอบด้วยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาของคอรนบาคเท่ากับ 0.746 ค่าดัชนีความยากของแบบสอบเท่ากับ 0.43 ค่าอำนาจจำแนกเท่ากับ 0.75 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและสถิติที ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ ความสามารถในการจัดการความเสี่ยงของพยาบาลวิชาชีพภายหลังการฝึกอบรมการป้องกันความเสี่ยงด้านการบริหารยาและเวชภัณฑ์ในหอผู้ป่วยอายุรกรรมสูงกว่าก่อนการฝึกอบรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23123 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354512 WY100 ช279 2545 Thesis Main Library Thesis Corner Available ผลของการใช้ระบบพยาบาลเจ้าของไข้ในหน่วยงานห้องคลอดและหลังคลอดต่อความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพและความพึงพอใจต่อบริการพยาบาลของผู้รับบริการโรงพยาบาลชุมพร / จิรภัค สุวรรณเจริญ, / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2545
Title : ผลของการใช้ระบบพยาบาลเจ้าของไข้ในหน่วยงานห้องคลอดและหลังคลอดต่อความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพและความพึงพอใจต่อบริการพยาบาลของผู้รับบริการโรงพยาบาลชุมพร Original title : Effects of using primary nursing system in labor and post partum unit on job Satisfaction of nurses and patient satisfaction in nursign services, Chumphon Hospital Material Type: printed text Authors: จิรภัค สุวรรณเจริญ, (2518-), Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2545 Pagination: ก-ญ, 122 แผ่น Layout: ตาราง, แผนภูมิ Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-173-313-5 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2545. Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]Infant, Newborn
[LCSH]Obstetrical Nursing -- methods
[LCSH]พยาบาล -- การดูแล
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพKeywords: พยาบาลวิชาชีพ.
พยาบาล.
การดูแล.Class number: WY157.3 จ276 2545 Abstract: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์ในการวิจัย 2 ข้อ คือ 1) เพื่อเปรียบเทียบความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพก่อนและหลังการใช้ระบบพยาบาลเจ้าของไข้ในการให้บริการผู้รับบริการในหน่วยงานห้องคลอดและหลังคลอด กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ พยาบาลวิชาชีพทั้งหมดที่ปฏิบัติงานในหน่วยงานห้องคลอดและหลังคลอดจำนวน 16 คน และ 2) เพื่อเปรียบเทียบความพึงพอใจต่อบริการพยาบาลของผู้รับบริการระหว่างผู้รับบริการกลุ่มที่ได้รับการบริการด้วยระบบพยาบาลเจ้าของไข้กับผู้รับบริการกลุ่มที่ได้รับการบริการด้วยระบบการมอบหมายงานตามหน้าที่ในหน่วยงานห้องคลอดและหลังคลอด โรงพยาบาลชุมพร กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้รับบริการจำนวน 60 คน ที่ได้จากการคัดเลือกแบบสะดวกตามคุณสมบัติที่กำหนด และจัดเข้ากลุ่มโดยใช้วิธีการจับคู่กลุ่มละ 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง คือ คู่มือระบบพยาบาลเจ้าของไข้ สำหรับพยาบาลวิชาชีพ ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นโดยการสังเคราะห์เนื้อหาจากแนวคิดเชิงทฤษฎีเกี่ยวกับระบบพยาบาลเจ้าของไข้ ร่วมกับการสัมภาษณ์แนวลึกจากผู้ทรงคุณวุฒิทางการพยาบาล เครื่องมือที่ใช้ในการกำกับการทดลอง คือ แบบทดสอบวัดความรู้ เรื่องระบบพยาบาลเจ้าของไข้ที่มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .65 เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินผลการทดลอง คือ แบบสอบถามความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพ และแบบสอบถามความพึงพอใจต่อบริการพยาบาลของผู้รับบริการ ที่ผู้วิจัยสร้างและดัดแปลงขึ้น โดยผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ และตรวจสอบค่าความเที่ยงของแบบสอบถามเท่ากับ .86 และ .91 ตามลำดับ สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบที ผลการวิจัย พบว่า 1. ความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพหลังการใช้ระบบพยาบาลเจ้าของไข้ สูงกว่าก่อนใช้ระบบพยาบาลเจ้าของไข้ ในหน่วยงานห้องคลอดและหลังคลอด อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (t = 8.48, p < .05) 2. ความพึงพอใจต่อบริการพยาบาลของผู้รับบริการกลุ่มที่ได้รับการบริการพยาบาลด้วยระบบพยาบาลเจ้าของไข้ สูงกว่า ความพึงพอใจต่อบริการพยาบาลของผู้รับบริการกลุ่มที่ได้รับการบริการพยาบาลด้วยระบบการมอบหมายงานตามหน้าที่ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (t = 12.32, p < .05) ผลการวิจัยนี้สามารถใช้เป็นแนวทางในการบริหารจัดการของหัวหน้าหน่วยงานให้เกิดการบริการที่มีความความพึงพอใจทั้งในพยาบาลวิชาชีพและในผู้รับบริการ Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23180 ผลของการใช้ระบบพยาบาลเจ้าของไข้ในหน่วยงานห้องคลอดและหลังคลอดต่อความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพและความพึงพอใจต่อบริการพยาบาลของผู้รับบริการโรงพยาบาลชุมพร = Effects of using primary nursing system in labor and post partum unit on job Satisfaction of nurses and patient satisfaction in nursign services, Chumphon Hospital [printed text] / จิรภัค สุวรรณเจริญ, (2518-), Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545 . - ก-ญ, 122 แผ่น : ตาราง, แผนภูมิ ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-173-313-5 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2545.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]Infant, Newborn
[LCSH]Obstetrical Nursing -- methods
[LCSH]พยาบาล -- การดูแล
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพKeywords: พยาบาลวิชาชีพ.
พยาบาล.
การดูแล.Class number: WY157.3 จ276 2545 Abstract: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์ในการวิจัย 2 ข้อ คือ 1) เพื่อเปรียบเทียบความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพก่อนและหลังการใช้ระบบพยาบาลเจ้าของไข้ในการให้บริการผู้รับบริการในหน่วยงานห้องคลอดและหลังคลอด กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ พยาบาลวิชาชีพทั้งหมดที่ปฏิบัติงานในหน่วยงานห้องคลอดและหลังคลอดจำนวน 16 คน และ 2) เพื่อเปรียบเทียบความพึงพอใจต่อบริการพยาบาลของผู้รับบริการระหว่างผู้รับบริการกลุ่มที่ได้รับการบริการด้วยระบบพยาบาลเจ้าของไข้กับผู้รับบริการกลุ่มที่ได้รับการบริการด้วยระบบการมอบหมายงานตามหน้าที่ในหน่วยงานห้องคลอดและหลังคลอด โรงพยาบาลชุมพร กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้รับบริการจำนวน 60 คน ที่ได้จากการคัดเลือกแบบสะดวกตามคุณสมบัติที่กำหนด และจัดเข้ากลุ่มโดยใช้วิธีการจับคู่กลุ่มละ 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง คือ คู่มือระบบพยาบาลเจ้าของไข้ สำหรับพยาบาลวิชาชีพ ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นโดยการสังเคราะห์เนื้อหาจากแนวคิดเชิงทฤษฎีเกี่ยวกับระบบพยาบาลเจ้าของไข้ ร่วมกับการสัมภาษณ์แนวลึกจากผู้ทรงคุณวุฒิทางการพยาบาล เครื่องมือที่ใช้ในการกำกับการทดลอง คือ แบบทดสอบวัดความรู้ เรื่องระบบพยาบาลเจ้าของไข้ที่มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .65 เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินผลการทดลอง คือ แบบสอบถามความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพ และแบบสอบถามความพึงพอใจต่อบริการพยาบาลของผู้รับบริการ ที่ผู้วิจัยสร้างและดัดแปลงขึ้น โดยผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ และตรวจสอบค่าความเที่ยงของแบบสอบถามเท่ากับ .86 และ .91 ตามลำดับ สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบที ผลการวิจัย พบว่า 1. ความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพหลังการใช้ระบบพยาบาลเจ้าของไข้ สูงกว่าก่อนใช้ระบบพยาบาลเจ้าของไข้ ในหน่วยงานห้องคลอดและหลังคลอด อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (t = 8.48, p < .05) 2. ความพึงพอใจต่อบริการพยาบาลของผู้รับบริการกลุ่มที่ได้รับการบริการพยาบาลด้วยระบบพยาบาลเจ้าของไข้ สูงกว่า ความพึงพอใจต่อบริการพยาบาลของผู้รับบริการกลุ่มที่ได้รับการบริการพยาบาลด้วยระบบการมอบหมายงานตามหน้าที่ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (t = 12.32, p < .05) ผลการวิจัยนี้สามารถใช้เป็นแนวทางในการบริหารจัดการของหัวหน้าหน่วยงานให้เกิดการบริการที่มีความความพึงพอใจทั้งในพยาบาลวิชาชีพและในผู้รับบริการ Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23180 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000355501 WY157.3 จ276 2545 Thesis Main Library Thesis Corner Available ผลของโปรแกรมการปฏิรูปการดูแลผู้ป่วยข้างเตียงต่อความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพและอัตราการเกิดความผิดพลาดทางการพยาบาลในหอผู้ป่วยวิกฤต โรงพยาบาลสมิติเวช สุขุมวิท / นิษฐ์อร วชิรสวัสดิ์ / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2551
Title : ผลของโปรแกรมการปฏิรูปการดูแลผู้ป่วยข้างเตียงต่อความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพและอัตราการเกิดความผิดพลาดทางการพยาบาลในหอผู้ป่วยวิกฤต โรงพยาบาลสมิติเวช สุขุมวิท Original title : Effects of transforming care at the bedside program on job satisfaction of staff nurses and nursing error rate at critical care unit of Samitivej Sukhumvit Hospital Material Type: printed text Authors: นิษฐ์อร วชิรสวัสดิ์, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2551 Pagination: ก-ญ, 127 แผ่น Layout: ตารางประกอบ Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย. ม [การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัีย 2551 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การดูแลขั้นวิกฤต
[LCSH]ผู้ป่วย -- การดูแล
[LCSH]พยาบาล -- ความพอใจในการทำงานKeywords: พยาบาลวิชาชีพ.
โรงพยาบาลสมิติเวช.
การดูแล.
ผู้ป่วย.Class number: WY154 น538 2551 Abstract: การวิจัยกึ่งทดลองครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเปรียบเทียบความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพ และอัตราการเกิดความผิดพลาดทางการพยาบาลก่อนและหลังการใช้โปรแกรมการปฏิรูปการดูแลผู้ป่วยข้างเตียง กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยวิกฤตโรงพยาบาลสมิติเวช สุขุมวิทจำนวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย แผนการอบรม คู่มือการปฏิรูปการดูแลผู้ป่วยข้างเตียง แบบบันทึกสถานการณ์การปฏิบัติตามแนวทางการปฏิรูปการดูแลผู้ป่วยข้างเตียง เก็บรวมรวมข้อมูล โดยใช้แบบสอบถามความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพและแบบรายงานความผิดพลาดทางการพยาบาล ตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ และค่าความเที่ยงของแบบสอบถามด้วยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาคได้เท่ากับ .89 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบสถิติที ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. คะแนนเฉลี่ยของความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยวิกฤตหลังใช้โปรแกรมการปฏิรูปการดูแลผู้ป่วยข้างเตียงสูงกว่าก่อนใช้โปรแกรม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. อัตราความผิดพลาดจากการเลื่อนหลุดของสายหรือท่อที่ต่อจากร่างกาย หลังการใช้โปรแกรมการปฏิรูปการดูแลผู้ป่วยข้างเตียงต่ำกว่าก่อนใช้โปรแกรมร้อยละ 45.26 3. อัตราความผิดพลาดจากการบริหารยาของพยาบาลวิชาชีพ หลังการใช้โปรแกรมการปฏิรูปการดูแลผู้ป่วยข้างเตียงต่ำกว่าก่อนใช้โปรแกรมร้อยละ 100 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23226 ผลของโปรแกรมการปฏิรูปการดูแลผู้ป่วยข้างเตียงต่อความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพและอัตราการเกิดความผิดพลาดทางการพยาบาลในหอผู้ป่วยวิกฤต โรงพยาบาลสมิติเวช สุขุมวิท = Effects of transforming care at the bedside program on job satisfaction of staff nurses and nursing error rate at critical care unit of Samitivej Sukhumvit Hospital [printed text] / นิษฐ์อร วชิรสวัสดิ์, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551 . - ก-ญ, 127 แผ่น : ตารางประกอบ ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย. ม [การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัีย 2551
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การดูแลขั้นวิกฤต
[LCSH]ผู้ป่วย -- การดูแล
[LCSH]พยาบาล -- ความพอใจในการทำงานKeywords: พยาบาลวิชาชีพ.
โรงพยาบาลสมิติเวช.
การดูแล.
ผู้ป่วย.Class number: WY154 น538 2551 Abstract: การวิจัยกึ่งทดลองครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเปรียบเทียบความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพ และอัตราการเกิดความผิดพลาดทางการพยาบาลก่อนและหลังการใช้โปรแกรมการปฏิรูปการดูแลผู้ป่วยข้างเตียง กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยวิกฤตโรงพยาบาลสมิติเวช สุขุมวิทจำนวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย แผนการอบรม คู่มือการปฏิรูปการดูแลผู้ป่วยข้างเตียง แบบบันทึกสถานการณ์การปฏิบัติตามแนวทางการปฏิรูปการดูแลผู้ป่วยข้างเตียง เก็บรวมรวมข้อมูล โดยใช้แบบสอบถามความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพและแบบรายงานความผิดพลาดทางการพยาบาล ตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ และค่าความเที่ยงของแบบสอบถามด้วยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาคได้เท่ากับ .89 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบสถิติที ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. คะแนนเฉลี่ยของความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยวิกฤตหลังใช้โปรแกรมการปฏิรูปการดูแลผู้ป่วยข้างเตียงสูงกว่าก่อนใช้โปรแกรม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. อัตราความผิดพลาดจากการเลื่อนหลุดของสายหรือท่อที่ต่อจากร่างกาย หลังการใช้โปรแกรมการปฏิรูปการดูแลผู้ป่วยข้างเตียงต่ำกว่าก่อนใช้โปรแกรมร้อยละ 45.26 3. อัตราความผิดพลาดจากการบริหารยาของพยาบาลวิชาชีพ หลังการใช้โปรแกรมการปฏิรูปการดูแลผู้ป่วยข้างเตียงต่ำกว่าก่อนใช้โปรแกรมร้อยละ 100 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23226 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354975 WY154 น538 2551 Thesis Main Library Thesis Corner Available ผลของโปรแกรมการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ เรื่องการดูแลทารกแรกเกิดที่มีภาวะตัวเหลืองที่ได้รับรักษาด้วยการส่องไฟ ต่อจำนวนวันส่องไฟและความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพ / สุพัตรา ทาอ้อ / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2551
Title : ผลของโปรแกรมการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ เรื่องการดูแลทารกแรกเกิดที่มีภาวะตัวเหลืองที่ได้รับรักษาด้วยการส่องไฟ ต่อจำนวนวันส่องไฟและความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพ Original title : Effects of evidence-based nursing care program in neonatal hyperbilirubinemia on length of phototherapy and professional nurses' job satisfaction Material Type: printed text Authors: สุพัตรา ทาอ้อ, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2551 Pagination: ก-ญ, 154 แผ่น Layout: ภาพประกอบ, แผนภูมิ Size: 30 ซม. Price: บริจาค General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]] --จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2551 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]Newborn infants -- Diseases
[LCSH]ทารกแรกเกิด -- การดูแล
[LCSH]ทารกแรกเกิด -- โรค
[LCSH]พยาบาลกับผู้ป่วยKeywords: ทารกแรกเกิด.
พยาบาลวิชาชีพ.
การดูแล.Class number: WY159 ส864 2551 Abstract: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์การวิจัยเพื่อเปรียบเทียบจำนวนวันส่องไฟของทารกแรกเกิดและความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพก่อน และหลังการใช้โปรแกรมการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการดูแลทารกแรกเกิดที่มีภาวะตัวเหลืองที่ได้รับรักษาด้วยการส่องไฟ กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยทารกแรกเกิด สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี จำนวน 15 คน เครื่องมือที่ใช้ในการทดลองประกอบด้วย แผนการอบรม คู่มือการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการดูแลทารกแรกเกิดที่มีภาวะตัวเหลืองที่ได้รับรักษาด้วยการส่องไฟ แบบกำกับการทดลอง เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วย แบบบันทึกจำนวนวันส่องไฟ และแบบสอบถามความพึงพอใจในงาน ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาของเครื่องมือโดยผู้ทรงคุณวุฒิ และตรวจหาความเที่ยงของแบบสอบถามด้วยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาคได้เท่ากับ .84 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบสถิติค่าที ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1.จำนวนวันส่องไฟของทารกแรกเกิดหลังใช้โปรแกรมการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการดูแลทารกแรกเกิดที่มีภาวะตัวเหลืองที่ได้รับรักษาด้วยการส่องไฟ ([X-bar] = 37.10 ชั่วโมง) น้อยกว่าก่อนใช้โปรแกรม ([X-bar] = 45.24 ชั่วโมง) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติระดับ .05 2.คะแนนเฉลี่ยของความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพหลังใช้โปรแกรมการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการดูแลทารกแรกเกิดที่มีภาวะตัวเหลืองที่ได้รับรักษาด้วยการส่องไฟ ([X-bar] = 3.53) สูงกว่าก่อนใช้โปรแกรม ([X-bar] = 4.22) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ .05 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23196 ผลของโปรแกรมการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ เรื่องการดูแลทารกแรกเกิดที่มีภาวะตัวเหลืองที่ได้รับรักษาด้วยการส่องไฟ ต่อจำนวนวันส่องไฟและความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพ = Effects of evidence-based nursing care program in neonatal hyperbilirubinemia on length of phototherapy and professional nurses' job satisfaction [printed text] / สุพัตรา ทาอ้อ, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551 . - ก-ญ, 154 แผ่น : ภาพประกอบ, แผนภูมิ ; 30 ซม.
บริจาค
วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]] --จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2551
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]Newborn infants -- Diseases
[LCSH]ทารกแรกเกิด -- การดูแล
[LCSH]ทารกแรกเกิด -- โรค
[LCSH]พยาบาลกับผู้ป่วยKeywords: ทารกแรกเกิด.
พยาบาลวิชาชีพ.
การดูแล.Class number: WY159 ส864 2551 Abstract: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์การวิจัยเพื่อเปรียบเทียบจำนวนวันส่องไฟของทารกแรกเกิดและความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพก่อน และหลังการใช้โปรแกรมการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการดูแลทารกแรกเกิดที่มีภาวะตัวเหลืองที่ได้รับรักษาด้วยการส่องไฟ กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยทารกแรกเกิด สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี จำนวน 15 คน เครื่องมือที่ใช้ในการทดลองประกอบด้วย แผนการอบรม คู่มือการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการดูแลทารกแรกเกิดที่มีภาวะตัวเหลืองที่ได้รับรักษาด้วยการส่องไฟ แบบกำกับการทดลอง เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วย แบบบันทึกจำนวนวันส่องไฟ และแบบสอบถามความพึงพอใจในงาน ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาของเครื่องมือโดยผู้ทรงคุณวุฒิ และตรวจหาความเที่ยงของแบบสอบถามด้วยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาคได้เท่ากับ .84 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบสถิติค่าที ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1.จำนวนวันส่องไฟของทารกแรกเกิดหลังใช้โปรแกรมการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการดูแลทารกแรกเกิดที่มีภาวะตัวเหลืองที่ได้รับรักษาด้วยการส่องไฟ ([X-bar] = 37.10 ชั่วโมง) น้อยกว่าก่อนใช้โปรแกรม ([X-bar] = 45.24 ชั่วโมง) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติระดับ .05 2.คะแนนเฉลี่ยของความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพหลังใช้โปรแกรมการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการดูแลทารกแรกเกิดที่มีภาวะตัวเหลืองที่ได้รับรักษาด้วยการส่องไฟ ([X-bar] = 3.53) สูงกว่าก่อนใช้โปรแกรม ([X-bar] = 4.22) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ .05 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23196 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000355089 WY159 ส864 2551 Thesis Main Library Thesis Corner Available การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว / สำนักส่งเสริมสุขภาพ / กรุงเทพฯ: องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก - 2554
Title : การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว Material Type: printed text Authors: สำนักส่งเสริมสุขภาพ, Author Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 2 Publisher: กรุงเทพฯ: องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก Publication Date: 2554 Pagination: 102 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 21 ซม. ISBN (or other code): 978-6-16-110245-6 Price: บริจาค Languages : Thai (tha) Descriptors: [NLM]ผู้สูงอายุ -- การดูแลสุขภาพ
[NLM]ผู้สูงอายุ -- การส่งเสริมสุขภาพ
[NLM]ผู้สูงอายุ -- สุขภาพและอนามัยKeywords: ผู้สูงอายุ, สุขภาพและอนามัย, การส่งเสริมสุขภาพ, การดูแลสุขภาพ Class number: WT100 ก451 2554 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28092 การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว [printed text] / สำนักส่งเสริมสุขภาพ, Author . - พิมพ์ครั้งที่ 2 . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก, 2554 . - 102 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 21 ซม.
ISBN : 978-6-16-110245-6 : บริจาค
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [NLM]ผู้สูงอายุ -- การดูแลสุขภาพ
[NLM]ผู้สูงอายุ -- การส่งเสริมสุขภาพ
[NLM]ผู้สูงอายุ -- สุขภาพและอนามัยKeywords: ผู้สูงอายุ, สุขภาพและอนามัย, การส่งเสริมสุขภาพ, การดูแลสุขภาพ Class number: WT100 ก451 2554 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28092 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607346 WT100 ก451 2554 c.1 Book Main Library Library Counter Available 32002000607347 WT100 ก451 2554 c.2 Book Main Library Library Counter Available การบริหารเวลา / ฮินเดิล ทิม / กรุงเทพฯ : นานมีบุ๊คส์พับสิเคชั่นส์ - 2546
Title : การบริหารเวลา Original title : Manage your time Material Type: printed text Authors: ฮินเดิล ทิม, Author ; Hindle Tim, Associated Name ; สมโภช อนันต์คูศรี, Translator Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 1. Publisher: กรุงเทพฯ : นานมีบุ๊คส์พับสิเคชั่นส์ Publication Date: 2546 Series: Essential managers Pagination: 74 หน้า Layout: ภาพประกอบ ISBN (or other code): 978-974-965609--9 Price: 95.00 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารเวลา Keywords: การบริหารเวลา Class number: HD69.T54 Abstract: Curricular : BBA/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=21411 การบริหารเวลา = Manage your time [printed text] / ฮินเดิล ทิม, Author ; Hindle Tim, Associated Name ; สมโภช อนันต์คูศรี, Translator . - พิมพ์ครั้งที่ 1. . - นานมีบุ๊คส์พับสิเคชั่นส์, 2546 . - 74 หน้า : ภาพประกอบ. - (Essential managers) .
ISBN : 978-974-965609--9 : 95.00
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารเวลา Keywords: การบริหารเวลา Class number: HD69.T54 Abstract: Curricular : BBA/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=21411 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000335156 HD69.T54 ฮ437 2546 Book Main Library General Shelf Available คู่มือ : รายการข้อวินิจฉัยการพยาบาลตามกรอบแนวคิดของโอเร็ม / มหาวิทยาลัยขอนแก่น คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลศรีนครินทร์ / ขอนแก่น : คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น - 2541
Title : คู่มือ : รายการข้อวินิจฉัยการพยาบาลตามกรอบแนวคิดของโอเร็ม Material Type: printed text Authors: มหาวิทยาลัยขอนแก่น คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลศรีนครินทร์, Author Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 2. Publisher: ขอนแก่น : คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น Publication Date: 2541 Pagination: (ก-ฎ), 146 หน้า. Size: 29 ซม. ISBN (or other code): 978-974-675-282-6 Price: 90.00 (ถ่ายสำเนา) Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การดูแลตนเอง
[LCSH]การพยาบาล, การวินิจฉัย
[LCSH]การพยาบาล, ทฤษฎีKeywords: การดูแลตนเอง.
การพยาบาล.
การวินิจฉัย.
ทฤษฎี.Class number: WY86 ค695 2541 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23823 คู่มือ : รายการข้อวินิจฉัยการพยาบาลตามกรอบแนวคิดของโอเร็ม [printed text] / มหาวิทยาลัยขอนแก่น คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลศรีนครินทร์, Author . - พิมพ์ครั้งที่ 2. . - ขอนแก่น : คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 2541 . - (ก-ฎ), 146 หน้า. ; 29 ซม.
ISSN : 978-974-675-282-6 : 90.00 (ถ่ายสำเนา)
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การดูแลตนเอง
[LCSH]การพยาบาล, การวินิจฉัย
[LCSH]การพยาบาล, ทฤษฎีKeywords: การดูแลตนเอง.
การพยาบาล.
การวินิจฉัย.
ทฤษฎี.Class number: WY86 ค695 2541 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23823 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000397271 WY86 ค695 2541 Book Main Library Library Counter Available สารารนุกรมการเลี้ยงดูเด็ก / มัตสุดะ, มิชิโอะ / กรุงเทพฯ : หมอชาวบ้าน - 2554
Title : สารารนุกรมการเลี้ยงดูเด็ก Original title : IKUJI NO HYAKKA Material Type: printed text Authors: มัตสุดะ, มิชิโอะ, Author ; พรอนงค์ นิยมค้า, Translator Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 27. Publisher: กรุงเทพฯ : หมอชาวบ้าน Publication Date: 2554 Pagination: (15) 214 หน้า Layout: ภาพประกอบ Size: 22 ซม. ISBN (or other code): 978-974-950708--7 Price: 160.00 General note: เป็นตำราสำหรับการเลี้ยงดูเด็กตั้งแต่หนึ่งขวบถึงวัยประถม Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ทารก, การดูแล -- สารานุกรม
[LCSH]เด็ก -- การดูแล -- สารานุกรม
[LCSH]เด็ก -- การเลี้ยง -- สารานุกรมKeywords: การดูแล
ทารก
สารานุกรมClass number: WS113 ม339 2554 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23775 สารารนุกรมการเลี้ยงดูเด็ก = IKUJI NO HYAKKA [printed text] / มัตสุดะ, มิชิโอะ, Author ; พรอนงค์ นิยมค้า, Translator . - พิมพ์ครั้งที่ 27. . - กรุงเทพฯ : หมอชาวบ้าน, 2554 . - (15) 214 หน้า : ภาพประกอบ ; 22 ซม.
ISBN : 978-974-950708--7 : 160.00
เป็นตำราสำหรับการเลี้ยงดูเด็กตั้งแต่หนึ่งขวบถึงวัยประถม
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ทารก, การดูแล -- สารานุกรม
[LCSH]เด็ก -- การดูแล -- สารานุกรม
[LCSH]เด็ก -- การเลี้ยง -- สารานุกรมKeywords: การดูแล
ทารก
สารานุกรมClass number: WS113 ม339 2554 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23775 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000362614 WS113 ม339 2554 v.2 c.1 Book Main Library Library Counter Available 32002000393668 WS113 ม339 2554 v.2 c.2 Book Main Library Library Counter Available 32002000393650 WS113 ม339 2554 v.2 c.3 Book Main Library Library Counter Available 32002000393635 WS113 ม339 2554 v.2 c.4 Book Main Library Library Counter Available 32002000393676 WS113 ม339 2554 v.2 c.5 Book Main Library Library Counter Available 32002000393700 WS113 ม339 2554 v.2 c.6 Book Main Library Library Counter Available Edutainment Collection. 10 อาชีพเทรนด์ของโลก / มูลนิธิไทยคม / กรุงเทพฯ : มูลนิธิไทยคม - 2011
Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000327237 DOCF12031 ส728 2554 v.1 c.1 Book Graduate Library General Shelf Available 32002000327294 DOCF12031 ส728 2554 v.2 c.1 Documentary Film Graduate Library General Shelf Available 32002000327252 DOCF12031 ส728 2554 v.3 c.1 Documentary Film Graduate Library General Shelf Available 32002000327260 DOCF12031 ส728 2554 v.1 c.2 Documentary Film Main Library Library Counter Not for loan 32002000327302 DOCF12031 ส728 2554 v.2 c.2 Documentary Film Main Library Library Counter Not for loan 32002000332567 DOCF12031 ส728 2554 v.3 c.2 Documentary Film Main Library Library Counter Not for loan Old book collection. การพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ เล่ม 3 / คณาจารย์สถาบันพระบรมราชชนก / นนทบุรี : โครงการสวัสดิการวิชาการ สถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข - 2552
Collection Title: Old book collection Title : การพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ เล่ม 3 Material Type: printed text Authors: คณาจารย์สถาบันพระบรมราชชนก, Author Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 8. (ปรับปรุงครั้งที่ 1) Publisher: นนทบุรี : โครงการสวัสดิการวิชาการ สถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข Publication Date: 2552 Pagination: 394 หน้า. Layout: ภาพประกอบ. Size: 26 ซม. ISBN (or other code): 978-974-291-153-3 Price: 150.00 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การพยาบาล -- ในวัยชรา
[LCSH]การพยาบาล -- ในวัยผู้ใหญ่
[LCSH]การพยาบาลผู้สูงอายุ
[LCSH]ผู้สูงอายุ--การดูแลKeywords: ผู้สูงอายุ.
การดูแล.
การพยาบาล.Contents note: บทที่ 1: การดูแลช่วยเหลือผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับระบบผิวหนัง.-- บทที่ 2: การดูแลช่วยเหลือผู้ที่มีปัญหาทางระบบสืบพันธุ์.--บทที่ 3: การดูแลช่วยเหลือผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับการเจริญเติบโตผิดปกติของเซลล์.-- บทที่ 4: การดูแลช่วยเหลือผู้ที่มีปัญหาเกี่ยวกับโรคติดต่อ.-- Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23782 Old book collection. การพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ เล่ม 3 [printed text] / คณาจารย์สถาบันพระบรมราชชนก, Author . - พิมพ์ครั้งที่ 8. (ปรับปรุงครั้งที่ 1) . - นนทบุรี : โครงการสวัสดิการวิชาการ สถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข, 2552 . - 394 หน้า. : ภาพประกอบ. ; 26 ซม.
ISSN : 978-974-291-153-3 : 150.00
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การพยาบาล -- ในวัยชรา
[LCSH]การพยาบาล -- ในวัยผู้ใหญ่
[LCSH]การพยาบาลผู้สูงอายุ
[LCSH]ผู้สูงอายุ--การดูแลKeywords: ผู้สูงอายุ.
การดูแล.
การพยาบาล.Contents note: บทที่ 1: การดูแลช่วยเหลือผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับระบบผิวหนัง.-- บทที่ 2: การดูแลช่วยเหลือผู้ที่มีปัญหาทางระบบสืบพันธุ์.--บทที่ 3: การดูแลช่วยเหลือผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับการเจริญเติบโตผิดปกติของเซลล์.-- บทที่ 4: การดูแลช่วยเหลือผู้ที่มีปัญหาเกี่ยวกับโรคติดต่อ.-- Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23782 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000393874 RC954 ก492พ 2553 v.3 c.1 Book Dormitory Dormitory shelf Available 32002000319747 RC954 ก492พ 2553 v.3 c.2 Book Main Library Library Counter Available 32002000319796 RC954 ก492พ 2553 v.3 c.3 Book Main Library Library Counter Available 32002000319176 RC954 ก492พ 2553 v.3 c.4 Book Main Library Library Counter Available Old book collection. ความปลอดภัยและ Competency พยาบาล CVT / เพ็ญจันทร์ แสนประสาน / กรุงเทพฯ : สุขขุมวิทการพิมพ์ - 2554
in ความปลอดภัย และ Competency พยาบาล CVT / บุปผาวัลย์ ศรีล้ำ ; ดวงกมล วัตราดุลย์ / กรุงเทพฯ : สุขขุมวิทการพิมพ์ - 2551
Collection Title: Old book collection Title : ความปลอดภัยและ Competency พยาบาล CVT Material Type: printed text Authors: เพ็ญจันทร์ แสนประสาน, Editor ; ดวงกมล วัตราดุลย์, Editor ; บุปผาวัลย์ ศรีล้ำ, Editor Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 3 Publisher: กรุงเทพฯ : สุขขุมวิทการพิมพ์ Publication Date: 2554 Pagination: 182 หน้า Layout: ภาพประกอบ Size: 27 ซม. ISBN (or other code): 978-974-383-227-7 Price: บริจาค. (250.00) General note: หนังสือเล่มนี้ได้มีการปรับปรุง เพิ่มเิติมเนื้อหาเพื่อให้ทันกับปัจจุบัน และมีการแบ่งเนื้อหาออกเป็น 3 ส่วน คือ ส่วนที่ 1: กล่าวถึงระบบบริหารความเสี่ยงทางการพยาบาล ที่รวบรวมแนวคิดการบริหารความเสี่ยงระบบมาตรฐานที่เกี่ยวข้อง การจัดการทางการพยาบาลเพื่อความปลอดภัย รวมทั้งตัวอย่างการค้นหาความเสี่ยง Trigger tool การตั้งทีมเฝ้าระวัีง การใช้ระบบการสื่อสารรายงานโดยการใช้ SABAR เป็นต้น โดยการนำความรู้จากคณะทำงานมาประสานประโยชน์ในการเรียนรู้เนื้อหาวิธีการขึ้น. ส่วนที่ 2: เป็นการรวบรวมผลการแบ่งปันความรู้จากผู้เชี่ยวชาญโรคหัวใจหลอดเลือดและทรวงอกเป็นจำนวนมาก มาสร้างเป็นสมรรถนะเฉพาะของพยาบาลวิชาชีพที่สามารถประยุกต์ใช้กับพยาบาลได้ทุกระดับตั้งแต่ปฐมภูิมิื ทุติยภูมิ และตติยภูมิ โดยนำตัวอย่างจากสถาบันต่าง ๆ เป็นจำนวนมารวบรวมอย่างเป็นระบบ ส่วนที่ 3: เป็นแนวคิดการสร้างรูปแบบการพยาบาล CVT เครือข่ายโดยการใช้การจัดการความรู้สู่ประชาชน เพื่อให้ประชาชนช่วยเหลือตนเองได้โดยกรอบแนวคิดที่คณะทำงานได้จัดสร้างขึ้น 5 Module ซึ่งอาจเป็นความพยายามที่จะแก้ปัญหาของชาติในการสร้างองค์ความรู้ใหม่จากผู้ปฎิบัิติงานและประชาชนทั่วประเทศในที่สุด Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]Cardiovascular -- assessment
[LCSH]Thoracic -- assessment
[LCSH]ความปลอดภัย -- พยาบาล
[LCSH]สมรรถนะ -- พยาบาลKeywords: สมรรถนะ.
พยาบาลวิชาชีพ.
ความปลอดภัย.
CTV.Class number: WY105 ค181 2554 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23182
in ความปลอดภัย และ Competency พยาบาล CVT / บุปผาวัลย์ ศรีล้ำ ; ดวงกมล วัตราดุลย์ / กรุงเทพฯ : สุขขุมวิทการพิมพ์ - 2551
Old book collection. ความปลอดภัยและ Competency พยาบาล CVT [printed text] / เพ็ญจันทร์ แสนประสาน, Editor ; ดวงกมล วัตราดุลย์, Editor ; บุปผาวัลย์ ศรีล้ำ, Editor . - พิมพ์ครั้งที่ 3 . - กรุงเทพฯ : สุขขุมวิทการพิมพ์, 2554 . - 182 หน้า : ภาพประกอบ ; 27 ซม.
ISBN : 978-974-383-227-7 : บริจาค. (250.00)
หนังสือเล่มนี้ได้มีการปรับปรุง เพิ่มเิติมเนื้อหาเพื่อให้ทันกับปัจจุบัน และมีการแบ่งเนื้อหาออกเป็น 3 ส่วน คือ ส่วนที่ 1: กล่าวถึงระบบบริหารความเสี่ยงทางการพยาบาล ที่รวบรวมแนวคิดการบริหารความเสี่ยงระบบมาตรฐานที่เกี่ยวข้อง การจัดการทางการพยาบาลเพื่อความปลอดภัย รวมทั้งตัวอย่างการค้นหาความเสี่ยง Trigger tool การตั้งทีมเฝ้าระวัีง การใช้ระบบการสื่อสารรายงานโดยการใช้ SABAR เป็นต้น โดยการนำความรู้จากคณะทำงานมาประสานประโยชน์ในการเรียนรู้เนื้อหาวิธีการขึ้น. ส่วนที่ 2: เป็นการรวบรวมผลการแบ่งปันความรู้จากผู้เชี่ยวชาญโรคหัวใจหลอดเลือดและทรวงอกเป็นจำนวนมาก มาสร้างเป็นสมรรถนะเฉพาะของพยาบาลวิชาชีพที่สามารถประยุกต์ใช้กับพยาบาลได้ทุกระดับตั้งแต่ปฐมภูิมิื ทุติยภูมิ และตติยภูมิ โดยนำตัวอย่างจากสถาบันต่าง ๆ เป็นจำนวนมารวบรวมอย่างเป็นระบบ ส่วนที่ 3: เป็นแนวคิดการสร้างรูปแบบการพยาบาล CVT เครือข่ายโดยการใช้การจัดการความรู้สู่ประชาชน เพื่อให้ประชาชนช่วยเหลือตนเองได้โดยกรอบแนวคิดที่คณะทำงานได้จัดสร้างขึ้น 5 Module ซึ่งอาจเป็นความพยายามที่จะแก้ปัญหาของชาติในการสร้างองค์ความรู้ใหม่จากผู้ปฎิบัิติงานและประชาชนทั่วประเทศในที่สุด
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]Cardiovascular -- assessment
[LCSH]Thoracic -- assessment
[LCSH]ความปลอดภัย -- พยาบาล
[LCSH]สมรรถนะ -- พยาบาลKeywords: สมรรถนะ.
พยาบาลวิชาชีพ.
ความปลอดภัย.
CTV.Class number: WY105 ค181 2554 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23182 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000383719 WY105 ค181 2554 Book Main Library Library Counter Available