From this page you can:
Home |
Search results
137 result(s) search for keyword(s) 'พยาบาลวิชาชีพ. พยาบาล. การดูแล.'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
ผลของการใช้ระบบพยาบาลเจ้าของไข้ในหน่วยงานห้องคลอดและหลังคลอดต่อความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพและความพึงพอใจต่อบริการพยาบาลของผู้รับบริการโรงพยาบาลชุมพร / จิรภัค สุวรรณเจริญ, / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2545
Title : ผลของการใช้ระบบพยาบาลเจ้าของไข้ในหน่วยงานห้องคลอดและหลังคลอดต่อความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพและความพึงพอใจต่อบริการพยาบาลของผู้รับบริการโรงพยาบาลชุมพร Original title : Effects of using primary nursing system in labor and post partum unit on job Satisfaction of nurses and patient satisfaction in nursign services, Chumphon Hospital Material Type: printed text Authors: จิรภัค สุวรรณเจริญ, (2518-), Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2545 Pagination: ก-ญ, 122 แผ่น Layout: ตาราง, แผนภูมิ Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-173-313-5 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2545. Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]Infant, Newborn
[LCSH]Obstetrical Nursing -- methods
[LCSH]พยาบาล -- การดูแล
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพKeywords: พยาบาลวิชาชีพ.
พยาบาล.
การดูแล.Class number: WY157.3 จ276 2545 Abstract: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์ในการวิจัย 2 ข้อ คือ 1) เพื่อเปรียบเทียบความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพก่อนและหลังการใช้ระบบพยาบาลเจ้าของไข้ในการให้บริการผู้รับบริการในหน่วยงานห้องคลอดและหลังคลอด กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ พยาบาลวิชาชีพทั้งหมดที่ปฏิบัติงานในหน่วยงานห้องคลอดและหลังคลอดจำนวน 16 คน และ 2) เพื่อเปรียบเทียบความพึงพอใจต่อบริการพยาบาลของผู้รับบริการระหว่างผู้รับบริการกลุ่มที่ได้รับการบริการด้วยระบบพยาบาลเจ้าของไข้กับผู้รับบริการกลุ่มที่ได้รับการบริการด้วยระบบการมอบหมายงานตามหน้าที่ในหน่วยงานห้องคลอดและหลังคลอด โรงพยาบาลชุมพร กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้รับบริการจำนวน 60 คน ที่ได้จากการคัดเลือกแบบสะดวกตามคุณสมบัติที่กำหนด และจัดเข้ากลุ่มโดยใช้วิธีการจับคู่กลุ่มละ 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง คือ คู่มือระบบพยาบาลเจ้าของไข้ สำหรับพยาบาลวิชาชีพ ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นโดยการสังเคราะห์เนื้อหาจากแนวคิดเชิงทฤษฎีเกี่ยวกับระบบพยาบาลเจ้าของไข้ ร่วมกับการสัมภาษณ์แนวลึกจากผู้ทรงคุณวุฒิทางการพยาบาล เครื่องมือที่ใช้ในการกำกับการทดลอง คือ แบบทดสอบวัดความรู้ เรื่องระบบพยาบาลเจ้าของไข้ที่มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .65 เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินผลการทดลอง คือ แบบสอบถามความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพ และแบบสอบถามความพึงพอใจต่อบริการพยาบาลของผู้รับบริการ ที่ผู้วิจัยสร้างและดัดแปลงขึ้น โดยผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ และตรวจสอบค่าความเที่ยงของแบบสอบถามเท่ากับ .86 และ .91 ตามลำดับ สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบที ผลการวิจัย พบว่า 1. ความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพหลังการใช้ระบบพยาบาลเจ้าของไข้ สูงกว่าก่อนใช้ระบบพยาบาลเจ้าของไข้ ในหน่วยงานห้องคลอดและหลังคลอด อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (t = 8.48, p < .05) 2. ความพึงพอใจต่อบริการพยาบาลของผู้รับบริการกลุ่มที่ได้รับการบริการพยาบาลด้วยระบบพยาบาลเจ้าของไข้ สูงกว่า ความพึงพอใจต่อบริการพยาบาลของผู้รับบริการกลุ่มที่ได้รับการบริการพยาบาลด้วยระบบการมอบหมายงานตามหน้าที่ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (t = 12.32, p < .05) ผลการวิจัยนี้สามารถใช้เป็นแนวทางในการบริหารจัดการของหัวหน้าหน่วยงานให้เกิดการบริการที่มีความความพึงพอใจทั้งในพยาบาลวิชาชีพและในผู้รับบริการ Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23180 ผลของการใช้ระบบพยาบาลเจ้าของไข้ในหน่วยงานห้องคลอดและหลังคลอดต่อความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพและความพึงพอใจต่อบริการพยาบาลของผู้รับบริการโรงพยาบาลชุมพร = Effects of using primary nursing system in labor and post partum unit on job Satisfaction of nurses and patient satisfaction in nursign services, Chumphon Hospital [printed text] / จิรภัค สุวรรณเจริญ, (2518-), Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545 . - ก-ญ, 122 แผ่น : ตาราง, แผนภูมิ ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-173-313-5 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2545.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]Infant, Newborn
[LCSH]Obstetrical Nursing -- methods
[LCSH]พยาบาล -- การดูแล
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพKeywords: พยาบาลวิชาชีพ.
พยาบาล.
การดูแล.Class number: WY157.3 จ276 2545 Abstract: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์ในการวิจัย 2 ข้อ คือ 1) เพื่อเปรียบเทียบความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพก่อนและหลังการใช้ระบบพยาบาลเจ้าของไข้ในการให้บริการผู้รับบริการในหน่วยงานห้องคลอดและหลังคลอด กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ พยาบาลวิชาชีพทั้งหมดที่ปฏิบัติงานในหน่วยงานห้องคลอดและหลังคลอดจำนวน 16 คน และ 2) เพื่อเปรียบเทียบความพึงพอใจต่อบริการพยาบาลของผู้รับบริการระหว่างผู้รับบริการกลุ่มที่ได้รับการบริการด้วยระบบพยาบาลเจ้าของไข้กับผู้รับบริการกลุ่มที่ได้รับการบริการด้วยระบบการมอบหมายงานตามหน้าที่ในหน่วยงานห้องคลอดและหลังคลอด โรงพยาบาลชุมพร กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้รับบริการจำนวน 60 คน ที่ได้จากการคัดเลือกแบบสะดวกตามคุณสมบัติที่กำหนด และจัดเข้ากลุ่มโดยใช้วิธีการจับคู่กลุ่มละ 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง คือ คู่มือระบบพยาบาลเจ้าของไข้ สำหรับพยาบาลวิชาชีพ ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นโดยการสังเคราะห์เนื้อหาจากแนวคิดเชิงทฤษฎีเกี่ยวกับระบบพยาบาลเจ้าของไข้ ร่วมกับการสัมภาษณ์แนวลึกจากผู้ทรงคุณวุฒิทางการพยาบาล เครื่องมือที่ใช้ในการกำกับการทดลอง คือ แบบทดสอบวัดความรู้ เรื่องระบบพยาบาลเจ้าของไข้ที่มีค่าความเที่ยงเท่ากับ .65 เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินผลการทดลอง คือ แบบสอบถามความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพ และแบบสอบถามความพึงพอใจต่อบริการพยาบาลของผู้รับบริการ ที่ผู้วิจัยสร้างและดัดแปลงขึ้น โดยผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ และตรวจสอบค่าความเที่ยงของแบบสอบถามเท่ากับ .86 และ .91 ตามลำดับ สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบที ผลการวิจัย พบว่า 1. ความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพหลังการใช้ระบบพยาบาลเจ้าของไข้ สูงกว่าก่อนใช้ระบบพยาบาลเจ้าของไข้ ในหน่วยงานห้องคลอดและหลังคลอด อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (t = 8.48, p < .05) 2. ความพึงพอใจต่อบริการพยาบาลของผู้รับบริการกลุ่มที่ได้รับการบริการพยาบาลด้วยระบบพยาบาลเจ้าของไข้ สูงกว่า ความพึงพอใจต่อบริการพยาบาลของผู้รับบริการกลุ่มที่ได้รับการบริการพยาบาลด้วยระบบการมอบหมายงานตามหน้าที่ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (t = 12.32, p < .05) ผลการวิจัยนี้สามารถใช้เป็นแนวทางในการบริหารจัดการของหัวหน้าหน่วยงานให้เกิดการบริการที่มีความความพึงพอใจทั้งในพยาบาลวิชาชีพและในผู้รับบริการ Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23180 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000355501 WY157.3 จ276 2545 Thesis Main Library Thesis Corner Available ผลของการพัฒนาการบริหารยาโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ต่ออุบัติการณ์ความคลาดเคลื่อนทางยาและความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพหอผู้ป่วยวิกฤต / นงนุช หอมเนียม / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2554
Title : ผลของการพัฒนาการบริหารยาโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ต่ออุบัติการณ์ความคลาดเคลื่อนทางยาและความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพหอผู้ป่วยวิกฤต : Effects of using medication administration by evidence-based practice on incidence of medication errors and nurses' job satisfaction in intensive care unit Material Type: printed text Authors: นงนุช หอมเนียม, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2554 Pagination: ก-ญ, 171 แผ่น Layout: ตาราง. Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]Critical Care -- methods
[LCSH]Intensive Care Units
[LCSH]การพยาบาลตามหลักฐานเชิงประจักษ์
[LCSH]พยาบาล -- ความพอใจในการทำงาน
[LCSH]ยา -- การบริหาร
[LCSH]หน่วยรักษาพยาบาลผู้ป่วยหนักKeywords: พยาบาลวิชาชีพ.
ความพอใจ.
การบริหาร.
การดูแล.Class number: WX218 น525 2554 Abstract: วิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาการบริหารยาโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ และเพื่อเปรียบเทียบอุบัติการณ์ความคลาดเคลื่อนในการบริหารยาและความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพก่อนและหลังการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการบริหารยาในหอผู้ป่วยวิกฤต กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยวิกฤต โรงพยาบาลพญาไท 2 จำนวน 18 คน เครื่องมือที่ใช้ในดำเนินการทดลองประกอบด้วย แผนการอบรม คู่มือการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการบริหารยาในหอผู้ป่วยวิกฤต แบบกำกับการทดลอง เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูลเป็นแบบบันทึกอุบัติการณ์ความคลาดเคลื่อนในการบริหารยาในหอผู้ป่วยวิกฤต และแบบสอบถามความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพ ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ และหาค่าความเที่ยงของแบบสอบถามความพึงพอใจในงานด้วยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาคได้เท่ากับ .91 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการทดสอบสถิติค่าที
ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. จำนวนอุบัติการณ์ความคลาดเคลื่อนในการให้ยาผิดขนาดภายหลังการทดลอง (2.44 ครั้งต่อ 1000 วันนอน) น้อยกว่าก่อนการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการบริหารยา (8.47 ครั้ง ต่อ 1000 วันนอน) และความคลาดเคลื่อนในการให้ยาผิดเวลาภายหลังการทดลอง (2.44 ครั้ง ต่อ 1000 วันนอน) น้อยกว่าก่อนการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการบริหารยา (5.65 ครั้งต่อ 1000 วันนอน) 2. คะแนนเฉลี่ยของความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพหลังการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการบริหารยาในหอผู้ป่วยวิกฤต (ค่าเฉลี่ย = 3.96) สูงกว่าก่อนการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ (ค่าเฉลี่ย = 3.16) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติระดับ .05
Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23195 ผลของการพัฒนาการบริหารยาโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ต่ออุบัติการณ์ความคลาดเคลื่อนทางยาและความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพหอผู้ป่วยวิกฤต : Effects of using medication administration by evidence-based practice on incidence of medication errors and nurses' job satisfaction in intensive care unit [printed text] / นงนุช หอมเนียม, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554 . - ก-ญ, 171 แผ่น : ตาราง. ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]Critical Care -- methods
[LCSH]Intensive Care Units
[LCSH]การพยาบาลตามหลักฐานเชิงประจักษ์
[LCSH]พยาบาล -- ความพอใจในการทำงาน
[LCSH]ยา -- การบริหาร
[LCSH]หน่วยรักษาพยาบาลผู้ป่วยหนักKeywords: พยาบาลวิชาชีพ.
ความพอใจ.
การบริหาร.
การดูแล.Class number: WX218 น525 2554 Abstract: วิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาการบริหารยาโดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ และเพื่อเปรียบเทียบอุบัติการณ์ความคลาดเคลื่อนในการบริหารยาและความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพก่อนและหลังการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการบริหารยาในหอผู้ป่วยวิกฤต กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยวิกฤต โรงพยาบาลพญาไท 2 จำนวน 18 คน เครื่องมือที่ใช้ในดำเนินการทดลองประกอบด้วย แผนการอบรม คู่มือการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการบริหารยาในหอผู้ป่วยวิกฤต แบบกำกับการทดลอง เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูลเป็นแบบบันทึกอุบัติการณ์ความคลาดเคลื่อนในการบริหารยาในหอผู้ป่วยวิกฤต และแบบสอบถามความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพ ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ และหาค่าความเที่ยงของแบบสอบถามความพึงพอใจในงานด้วยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาคได้เท่ากับ .91 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและการทดสอบสถิติค่าที
ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. จำนวนอุบัติการณ์ความคลาดเคลื่อนในการให้ยาผิดขนาดภายหลังการทดลอง (2.44 ครั้งต่อ 1000 วันนอน) น้อยกว่าก่อนการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการบริหารยา (8.47 ครั้ง ต่อ 1000 วันนอน) และความคลาดเคลื่อนในการให้ยาผิดเวลาภายหลังการทดลอง (2.44 ครั้ง ต่อ 1000 วันนอน) น้อยกว่าก่อนการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการบริหารยา (5.65 ครั้งต่อ 1000 วันนอน) 2. คะแนนเฉลี่ยของความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพหลังการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการบริหารยาในหอผู้ป่วยวิกฤต (ค่าเฉลี่ย = 3.96) สูงกว่าก่อนการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ (ค่าเฉลี่ย = 3.16) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติระดับ .05
Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23195 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000355261 WX218 น525 2554 Thesis Main Library Thesis Corner Available ผลของโปรแกรมการปฏิรูปการดูแลผู้ป่วยข้างเตียงต่อความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพและอัตราการเกิดความผิดพลาดทางการพยาบาลในหอผู้ป่วยวิกฤต โรงพยาบาลสมิติเวช สุขุมวิท / นิษฐ์อร วชิรสวัสดิ์ / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2551
Title : ผลของโปรแกรมการปฏิรูปการดูแลผู้ป่วยข้างเตียงต่อความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพและอัตราการเกิดความผิดพลาดทางการพยาบาลในหอผู้ป่วยวิกฤต โรงพยาบาลสมิติเวช สุขุมวิท Original title : Effects of transforming care at the bedside program on job satisfaction of staff nurses and nursing error rate at critical care unit of Samitivej Sukhumvit Hospital Material Type: printed text Authors: นิษฐ์อร วชิรสวัสดิ์, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2551 Pagination: ก-ญ, 127 แผ่น Layout: ตารางประกอบ Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย. ม [การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัีย 2551 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การดูแลขั้นวิกฤต
[LCSH]ผู้ป่วย -- การดูแล
[LCSH]พยาบาล -- ความพอใจในการทำงานKeywords: พยาบาลวิชาชีพ.
โรงพยาบาลสมิติเวช.
การดูแล.
ผู้ป่วย.Class number: WY154 น538 2551 Abstract: การวิจัยกึ่งทดลองครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเปรียบเทียบความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพ และอัตราการเกิดความผิดพลาดทางการพยาบาลก่อนและหลังการใช้โปรแกรมการปฏิรูปการดูแลผู้ป่วยข้างเตียง กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยวิกฤตโรงพยาบาลสมิติเวช สุขุมวิทจำนวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย แผนการอบรม คู่มือการปฏิรูปการดูแลผู้ป่วยข้างเตียง แบบบันทึกสถานการณ์การปฏิบัติตามแนวทางการปฏิรูปการดูแลผู้ป่วยข้างเตียง เก็บรวมรวมข้อมูล โดยใช้แบบสอบถามความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพและแบบรายงานความผิดพลาดทางการพยาบาล ตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ และค่าความเที่ยงของแบบสอบถามด้วยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาคได้เท่ากับ .89 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบสถิติที ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. คะแนนเฉลี่ยของความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยวิกฤตหลังใช้โปรแกรมการปฏิรูปการดูแลผู้ป่วยข้างเตียงสูงกว่าก่อนใช้โปรแกรม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. อัตราความผิดพลาดจากการเลื่อนหลุดของสายหรือท่อที่ต่อจากร่างกาย หลังการใช้โปรแกรมการปฏิรูปการดูแลผู้ป่วยข้างเตียงต่ำกว่าก่อนใช้โปรแกรมร้อยละ 45.26 3. อัตราความผิดพลาดจากการบริหารยาของพยาบาลวิชาชีพ หลังการใช้โปรแกรมการปฏิรูปการดูแลผู้ป่วยข้างเตียงต่ำกว่าก่อนใช้โปรแกรมร้อยละ 100 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23226 ผลของโปรแกรมการปฏิรูปการดูแลผู้ป่วยข้างเตียงต่อความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพและอัตราการเกิดความผิดพลาดทางการพยาบาลในหอผู้ป่วยวิกฤต โรงพยาบาลสมิติเวช สุขุมวิท = Effects of transforming care at the bedside program on job satisfaction of staff nurses and nursing error rate at critical care unit of Samitivej Sukhumvit Hospital [printed text] / นิษฐ์อร วชิรสวัสดิ์, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551 . - ก-ญ, 127 แผ่น : ตารางประกอบ ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย. ม [การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัีย 2551
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การดูแลขั้นวิกฤต
[LCSH]ผู้ป่วย -- การดูแล
[LCSH]พยาบาล -- ความพอใจในการทำงานKeywords: พยาบาลวิชาชีพ.
โรงพยาบาลสมิติเวช.
การดูแล.
ผู้ป่วย.Class number: WY154 น538 2551 Abstract: การวิจัยกึ่งทดลองครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเปรียบเทียบความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพ และอัตราการเกิดความผิดพลาดทางการพยาบาลก่อนและหลังการใช้โปรแกรมการปฏิรูปการดูแลผู้ป่วยข้างเตียง กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยวิกฤตโรงพยาบาลสมิติเวช สุขุมวิทจำนวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย แผนการอบรม คู่มือการปฏิรูปการดูแลผู้ป่วยข้างเตียง แบบบันทึกสถานการณ์การปฏิบัติตามแนวทางการปฏิรูปการดูแลผู้ป่วยข้างเตียง เก็บรวมรวมข้อมูล โดยใช้แบบสอบถามความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพและแบบรายงานความผิดพลาดทางการพยาบาล ตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ และค่าความเที่ยงของแบบสอบถามด้วยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาคได้เท่ากับ .89 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบสถิติที ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. คะแนนเฉลี่ยของความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยวิกฤตหลังใช้โปรแกรมการปฏิรูปการดูแลผู้ป่วยข้างเตียงสูงกว่าก่อนใช้โปรแกรม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. อัตราความผิดพลาดจากการเลื่อนหลุดของสายหรือท่อที่ต่อจากร่างกาย หลังการใช้โปรแกรมการปฏิรูปการดูแลผู้ป่วยข้างเตียงต่ำกว่าก่อนใช้โปรแกรมร้อยละ 45.26 3. อัตราความผิดพลาดจากการบริหารยาของพยาบาลวิชาชีพ หลังการใช้โปรแกรมการปฏิรูปการดูแลผู้ป่วยข้างเตียงต่ำกว่าก่อนใช้โปรแกรมร้อยละ 100 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23226 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354975 WY154 น538 2551 Thesis Main Library Thesis Corner Available ผลของโปรแกรมการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ เรื่องการดูแลทารกแรกเกิดที่มีภาวะตัวเหลืองที่ได้รับรักษาด้วยการส่องไฟ ต่อจำนวนวันส่องไฟและความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพ / สุพัตรา ทาอ้อ / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2551
Title : ผลของโปรแกรมการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ เรื่องการดูแลทารกแรกเกิดที่มีภาวะตัวเหลืองที่ได้รับรักษาด้วยการส่องไฟ ต่อจำนวนวันส่องไฟและความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพ Original title : Effects of evidence-based nursing care program in neonatal hyperbilirubinemia on length of phototherapy and professional nurses' job satisfaction Material Type: printed text Authors: สุพัตรา ทาอ้อ, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2551 Pagination: ก-ญ, 154 แผ่น Layout: ภาพประกอบ, แผนภูมิ Size: 30 ซม. Price: บริจาค General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]] --จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2551 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]Newborn infants -- Diseases
[LCSH]ทารกแรกเกิด -- การดูแล
[LCSH]ทารกแรกเกิด -- โรค
[LCSH]พยาบาลกับผู้ป่วยKeywords: ทารกแรกเกิด.
พยาบาลวิชาชีพ.
การดูแล.Class number: WY159 ส864 2551 Abstract: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์การวิจัยเพื่อเปรียบเทียบจำนวนวันส่องไฟของทารกแรกเกิดและความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพก่อน และหลังการใช้โปรแกรมการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการดูแลทารกแรกเกิดที่มีภาวะตัวเหลืองที่ได้รับรักษาด้วยการส่องไฟ กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยทารกแรกเกิด สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี จำนวน 15 คน เครื่องมือที่ใช้ในการทดลองประกอบด้วย แผนการอบรม คู่มือการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการดูแลทารกแรกเกิดที่มีภาวะตัวเหลืองที่ได้รับรักษาด้วยการส่องไฟ แบบกำกับการทดลอง เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วย แบบบันทึกจำนวนวันส่องไฟ และแบบสอบถามความพึงพอใจในงาน ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาของเครื่องมือโดยผู้ทรงคุณวุฒิ และตรวจหาความเที่ยงของแบบสอบถามด้วยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาคได้เท่ากับ .84 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบสถิติค่าที ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1.จำนวนวันส่องไฟของทารกแรกเกิดหลังใช้โปรแกรมการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการดูแลทารกแรกเกิดที่มีภาวะตัวเหลืองที่ได้รับรักษาด้วยการส่องไฟ ([X-bar] = 37.10 ชั่วโมง) น้อยกว่าก่อนใช้โปรแกรม ([X-bar] = 45.24 ชั่วโมง) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติระดับ .05 2.คะแนนเฉลี่ยของความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพหลังใช้โปรแกรมการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการดูแลทารกแรกเกิดที่มีภาวะตัวเหลืองที่ได้รับรักษาด้วยการส่องไฟ ([X-bar] = 3.53) สูงกว่าก่อนใช้โปรแกรม ([X-bar] = 4.22) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ .05 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23196 ผลของโปรแกรมการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ เรื่องการดูแลทารกแรกเกิดที่มีภาวะตัวเหลืองที่ได้รับรักษาด้วยการส่องไฟ ต่อจำนวนวันส่องไฟและความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพ = Effects of evidence-based nursing care program in neonatal hyperbilirubinemia on length of phototherapy and professional nurses' job satisfaction [printed text] / สุพัตรา ทาอ้อ, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551 . - ก-ญ, 154 แผ่น : ภาพประกอบ, แผนภูมิ ; 30 ซม.
บริจาค
วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]] --จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2551
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]Newborn infants -- Diseases
[LCSH]ทารกแรกเกิด -- การดูแล
[LCSH]ทารกแรกเกิด -- โรค
[LCSH]พยาบาลกับผู้ป่วยKeywords: ทารกแรกเกิด.
พยาบาลวิชาชีพ.
การดูแล.Class number: WY159 ส864 2551 Abstract: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์การวิจัยเพื่อเปรียบเทียบจำนวนวันส่องไฟของทารกแรกเกิดและความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพก่อน และหลังการใช้โปรแกรมการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการดูแลทารกแรกเกิดที่มีภาวะตัวเหลืองที่ได้รับรักษาด้วยการส่องไฟ กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยทารกแรกเกิด สถาบันสุขภาพเด็กแห่งชาติมหาราชินี จำนวน 15 คน เครื่องมือที่ใช้ในการทดลองประกอบด้วย แผนการอบรม คู่มือการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการดูแลทารกแรกเกิดที่มีภาวะตัวเหลืองที่ได้รับรักษาด้วยการส่องไฟ แบบกำกับการทดลอง เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วย แบบบันทึกจำนวนวันส่องไฟ และแบบสอบถามความพึงพอใจในงาน ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาของเครื่องมือโดยผู้ทรงคุณวุฒิ และตรวจหาความเที่ยงของแบบสอบถามด้วยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาคได้เท่ากับ .84 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบสถิติค่าที ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1.จำนวนวันส่องไฟของทารกแรกเกิดหลังใช้โปรแกรมการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการดูแลทารกแรกเกิดที่มีภาวะตัวเหลืองที่ได้รับรักษาด้วยการส่องไฟ ([X-bar] = 37.10 ชั่วโมง) น้อยกว่าก่อนใช้โปรแกรม ([X-bar] = 45.24 ชั่วโมง) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติระดับ .05 2.คะแนนเฉลี่ยของความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพหลังใช้โปรแกรมการใช้หลักฐานเชิงประจักษ์ในการดูแลทารกแรกเกิดที่มีภาวะตัวเหลืองที่ได้รับรักษาด้วยการส่องไฟ ([X-bar] = 3.53) สูงกว่าก่อนใช้โปรแกรม ([X-bar] = 4.22) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ .05 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23196 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000355089 WY159 ส864 2551 Thesis Main Library Thesis Corner Available Old book collection. ความปลอดภัยและ Competency พยาบาล CVT / เพ็ญจันทร์ แสนประสาน / กรุงเทพฯ : สุขขุมวิทการพิมพ์ - 2554
in ความปลอดภัย และ Competency พยาบาล CVT / บุปผาวัลย์ ศรีล้ำ ; ดวงกมล วัตราดุลย์ / กรุงเทพฯ : สุขขุมวิทการพิมพ์ - 2551
Collection Title: Old book collection Title : ความปลอดภัยและ Competency พยาบาล CVT Material Type: printed text Authors: เพ็ญจันทร์ แสนประสาน, Editor ; ดวงกมล วัตราดุลย์, Editor ; บุปผาวัลย์ ศรีล้ำ, Editor Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 3 Publisher: กรุงเทพฯ : สุขขุมวิทการพิมพ์ Publication Date: 2554 Pagination: 182 หน้า Layout: ภาพประกอบ Size: 27 ซม. ISBN (or other code): 978-974-383-227-7 Price: บริจาค. (250.00) General note: หนังสือเล่มนี้ได้มีการปรับปรุง เพิ่มเิติมเนื้อหาเพื่อให้ทันกับปัจจุบัน และมีการแบ่งเนื้อหาออกเป็น 3 ส่วน คือ ส่วนที่ 1: กล่าวถึงระบบบริหารความเสี่ยงทางการพยาบาล ที่รวบรวมแนวคิดการบริหารความเสี่ยงระบบมาตรฐานที่เกี่ยวข้อง การจัดการทางการพยาบาลเพื่อความปลอดภัย รวมทั้งตัวอย่างการค้นหาความเสี่ยง Trigger tool การตั้งทีมเฝ้าระวัีง การใช้ระบบการสื่อสารรายงานโดยการใช้ SABAR เป็นต้น โดยการนำความรู้จากคณะทำงานมาประสานประโยชน์ในการเรียนรู้เนื้อหาวิธีการขึ้น. ส่วนที่ 2: เป็นการรวบรวมผลการแบ่งปันความรู้จากผู้เชี่ยวชาญโรคหัวใจหลอดเลือดและทรวงอกเป็นจำนวนมาก มาสร้างเป็นสมรรถนะเฉพาะของพยาบาลวิชาชีพที่สามารถประยุกต์ใช้กับพยาบาลได้ทุกระดับตั้งแต่ปฐมภูิมิื ทุติยภูมิ และตติยภูมิ โดยนำตัวอย่างจากสถาบันต่าง ๆ เป็นจำนวนมารวบรวมอย่างเป็นระบบ ส่วนที่ 3: เป็นแนวคิดการสร้างรูปแบบการพยาบาล CVT เครือข่ายโดยการใช้การจัดการความรู้สู่ประชาชน เพื่อให้ประชาชนช่วยเหลือตนเองได้โดยกรอบแนวคิดที่คณะทำงานได้จัดสร้างขึ้น 5 Module ซึ่งอาจเป็นความพยายามที่จะแก้ปัญหาของชาติในการสร้างองค์ความรู้ใหม่จากผู้ปฎิบัิติงานและประชาชนทั่วประเทศในที่สุด Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]Cardiovascular -- assessment
[LCSH]Thoracic -- assessment
[LCSH]ความปลอดภัย -- พยาบาล
[LCSH]สมรรถนะ -- พยาบาลKeywords: สมรรถนะ.
พยาบาลวิชาชีพ.
ความปลอดภัย.
CTV.Class number: WY105 ค181 2554 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23182
in ความปลอดภัย และ Competency พยาบาล CVT / บุปผาวัลย์ ศรีล้ำ ; ดวงกมล วัตราดุลย์ / กรุงเทพฯ : สุขขุมวิทการพิมพ์ - 2551
Old book collection. ความปลอดภัยและ Competency พยาบาล CVT [printed text] / เพ็ญจันทร์ แสนประสาน, Editor ; ดวงกมล วัตราดุลย์, Editor ; บุปผาวัลย์ ศรีล้ำ, Editor . - พิมพ์ครั้งที่ 3 . - กรุงเทพฯ : สุขขุมวิทการพิมพ์, 2554 . - 182 หน้า : ภาพประกอบ ; 27 ซม.
ISBN : 978-974-383-227-7 : บริจาค. (250.00)
หนังสือเล่มนี้ได้มีการปรับปรุง เพิ่มเิติมเนื้อหาเพื่อให้ทันกับปัจจุบัน และมีการแบ่งเนื้อหาออกเป็น 3 ส่วน คือ ส่วนที่ 1: กล่าวถึงระบบบริหารความเสี่ยงทางการพยาบาล ที่รวบรวมแนวคิดการบริหารความเสี่ยงระบบมาตรฐานที่เกี่ยวข้อง การจัดการทางการพยาบาลเพื่อความปลอดภัย รวมทั้งตัวอย่างการค้นหาความเสี่ยง Trigger tool การตั้งทีมเฝ้าระวัีง การใช้ระบบการสื่อสารรายงานโดยการใช้ SABAR เป็นต้น โดยการนำความรู้จากคณะทำงานมาประสานประโยชน์ในการเรียนรู้เนื้อหาวิธีการขึ้น. ส่วนที่ 2: เป็นการรวบรวมผลการแบ่งปันความรู้จากผู้เชี่ยวชาญโรคหัวใจหลอดเลือดและทรวงอกเป็นจำนวนมาก มาสร้างเป็นสมรรถนะเฉพาะของพยาบาลวิชาชีพที่สามารถประยุกต์ใช้กับพยาบาลได้ทุกระดับตั้งแต่ปฐมภูิมิื ทุติยภูมิ และตติยภูมิ โดยนำตัวอย่างจากสถาบันต่าง ๆ เป็นจำนวนมารวบรวมอย่างเป็นระบบ ส่วนที่ 3: เป็นแนวคิดการสร้างรูปแบบการพยาบาล CVT เครือข่ายโดยการใช้การจัดการความรู้สู่ประชาชน เพื่อให้ประชาชนช่วยเหลือตนเองได้โดยกรอบแนวคิดที่คณะทำงานได้จัดสร้างขึ้น 5 Module ซึ่งอาจเป็นความพยายามที่จะแก้ปัญหาของชาติในการสร้างองค์ความรู้ใหม่จากผู้ปฎิบัิติงานและประชาชนทั่วประเทศในที่สุด
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]Cardiovascular -- assessment
[LCSH]Thoracic -- assessment
[LCSH]ความปลอดภัย -- พยาบาล
[LCSH]สมรรถนะ -- พยาบาลKeywords: สมรรถนะ.
พยาบาลวิชาชีพ.
ความปลอดภัย.
CTV.Class number: WY105 ค181 2554 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23182 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000383719 WY105 ค181 2554 Book Main Library Library Counter Available Old book collection. บันทึกจากหัวใจผู้เยียวยา : ๙ เรื่องเล่าอุ่นหัวัใจ / กรรณจริยา สุขรุ่ง / งานการพยาบาลกุมารเวชศาสตร์ และสาขาวิชาการพยาบาลเด็ก คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล, - 2555
Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000355972 WY5 บ268 2555 Book Main Library Library Counter Available SIU THE-T. ความสุขในการทำงานของพยาบาลไทย / ละมิตร์ ปีกขาว / คณะการจัดการ มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2557
Collection Title: SIU THE-T Title : ความสุขในการทำงานของพยาบาลไทย Original title : Work happiness of Thai nurses Material Type: printed text Authors: ละมิตร์ ปีกขาว, Author Publisher: คณะการจัดการ มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2557 Pagination: x, 221 หน้า Layout: ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] มหาวิทยาลัยชินวัตร. Languages : Thai (tha) Descriptors: [NLM]ความสุขในการทำงาน -- ดุษฎีนิพนธ์
[NLM]พยาบาล, ความสุขในการทำงาน
[NLM]พยาบาลวิชาชีพ -- ดุษฎีนิพนธ์Keywords: พยาบาลวิชาชีพ.
ความสุขในการทำงาน.
พยาบาลไทย.Class number: SIU THE-T SOM-DBA-2015-01 Abstract: มุ่งเน้นศึกษาความสุขของพยาบาลวิชาชีพ โดยสามารถนำมายืนยันทฤษฎีความสุขของพยาบาลว่ามาจากทฤษฎีใด มีวัตถุประสงค์เพือศึกษาสถานการณ์ความสุขในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพภาครัฐและเอกชน เพื่อเปรียบเทียบระดับความสุขของพยาบาลวิชาชีพ ศึกษาจากปัจจัยส่วนบุคคลที่มีผลต่อความสุขของพยาบาลวิชาชีพ เป็นการวิจัยเชิงพรรณาแบบผสม ระหว่างการวิจัยเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ โดยกลุ่มตัวอย่างเชิงคุณภาพเป็นพยาบาลวิชาชีพที่มีประสบการณ์ในการทำงาน 10 ปีขึ้นไป จำนวน 25 คน ภาครัฐ 15 และเอกชน 10 คน ตามลำดับ และเชิงปริมาณเป็นพยาบาลวิชาชีพ จำนวน 690 คน. การวิเคราะห์เนื่้อหาพร้อมด้วยความถี่เชิงปริมาณ ใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูลส่วนบุคคลและความสุขด้านต่าง ๆ เชิงคุณภาพวิเคราะห์เนื้อหาออกเป็นประเด็น พร้อมด้วยความถี่ เชิงปริมาณวิเคราะห์ด้วยโปรแกรมวิเคราะห์ทางสถิติสำเร็จรูป วิเคราะห์เชิงพรรณนาและทดสอบด้วย t-test ผลการวิจัย พบว่า สถานการณ์ความสุขในการทำงานพยาบาลวิชาชีพภาครัฐและภาคเอกชนมีความคิดเห็นเหมือนกันว่า การช่วยเหลือและดูแลผู้ป่วย การได้ช่วยเหลือญาติและครอบครัวของผู้ป่วย การช่วยให้ผู้ป่วยปลอดภัยในภาวะฉุกเฉิน การช่วยลดความวิตกกังวลให้ผู้ป่วยและผู้เกี่ยวข้อง การมีส่วนร่วมช่วยเหลือดูแลผู้ป่วย ผู้บาดเจ็บจากเหตุการณ์ไม่ปกติแม้เป็นเวลานอกปฏิบัติงาน ทำให้พยาบาลมีความสุขในการทำงาน โดยมีระดับความสุขมาก และไม่แตกต่างกันทั้งภาครัฐและเอกชน และปัจจัยส่วนบุคคลในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพ พบว่า ความแตกต่างของเพศ อายุ การศึกาา ประสบการณ์ทำงาน รายได้หลัก รายได้พิเศษ จำนวนบุตร สถานภาพสมรส และตำแหน่งงานไม่มีอิทธิพลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติต่อความสุขโดยรวม ข้อค้นพบทางทฤษฎี พบว่า ความสุขในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพไม่แตกต่างกันแต่ละเอียดกว่าทฤษฎีลำดับขั้นความต้องการของมาสโลว์ เพราะความสุขของพยาบาลเน้นเรื่องการช่วยเหลือดูแลผู้ป่วยและครอบครัวทั้งภาวะปกติและฉุกเฉินเป็นหลักสำคัญ ซึ่งแสดงให้เห็นว่าเป็นความสุขของพยาบาลที่ก้าวจากลำดับขั้นความต้องการของมางโลว์อย่างแท้จริง นอกจากนี้ยังพบว่า แง่ทฤษฎีประโยชน์นิยมเน้นถึงการกระทำทำให้คนส่วนใหญ่มีความสุขมากที่สุด ถือเป็นการดำเนินการของรัฐที่ใช้ได้ในระดับหนึ่ง ซึ่งนัยของทฤษฎีประโยชน์นิยมได้ชี้ให้เห็นว่ารัฐควรส่งเสิรมวิชาชีพพยาบาลให้สามารถช่วยเหลือดูแลผู้ป่วยรวมทั้งครอบครัวให้ผู้ป่วยปลอดภัย เพื่อที่สามารถทำประโยชน์ให้กับคนส่วนใหญ่ได้มากที่สุด ในขณะที่ทฤษฎีความอยู่เย็นเป็นสุขและทฤษฎีความสุขของคนไทย พบว่า เป็นผลรวมของความสุขประชาชนโดยตรง Contents note: ปีการศึกษา 2557 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25889 SIU THE-T. ความสุขในการทำงานของพยาบาลไทย = Work happiness of Thai nurses [printed text] / ละมิตร์ ปีกขาว, Author . - [S.l.] : คณะการจัดการ มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2557 . - x, 221 หน้า : ตาราง ; 30 ซม.
500.00
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] มหาวิทยาลัยชินวัตร.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [NLM]ความสุขในการทำงาน -- ดุษฎีนิพนธ์
[NLM]พยาบาล, ความสุขในการทำงาน
[NLM]พยาบาลวิชาชีพ -- ดุษฎีนิพนธ์Keywords: พยาบาลวิชาชีพ.
ความสุขในการทำงาน.
พยาบาลไทย.Class number: SIU THE-T SOM-DBA-2015-01 Abstract: มุ่งเน้นศึกษาความสุขของพยาบาลวิชาชีพ โดยสามารถนำมายืนยันทฤษฎีความสุขของพยาบาลว่ามาจากทฤษฎีใด มีวัตถุประสงค์เพือศึกษาสถานการณ์ความสุขในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพภาครัฐและเอกชน เพื่อเปรียบเทียบระดับความสุขของพยาบาลวิชาชีพ ศึกษาจากปัจจัยส่วนบุคคลที่มีผลต่อความสุขของพยาบาลวิชาชีพ เป็นการวิจัยเชิงพรรณาแบบผสม ระหว่างการวิจัยเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ โดยกลุ่มตัวอย่างเชิงคุณภาพเป็นพยาบาลวิชาชีพที่มีประสบการณ์ในการทำงาน 10 ปีขึ้นไป จำนวน 25 คน ภาครัฐ 15 และเอกชน 10 คน ตามลำดับ และเชิงปริมาณเป็นพยาบาลวิชาชีพ จำนวน 690 คน. การวิเคราะห์เนื่้อหาพร้อมด้วยความถี่เชิงปริมาณ ใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูลส่วนบุคคลและความสุขด้านต่าง ๆ เชิงคุณภาพวิเคราะห์เนื้อหาออกเป็นประเด็น พร้อมด้วยความถี่ เชิงปริมาณวิเคราะห์ด้วยโปรแกรมวิเคราะห์ทางสถิติสำเร็จรูป วิเคราะห์เชิงพรรณนาและทดสอบด้วย t-test ผลการวิจัย พบว่า สถานการณ์ความสุขในการทำงานพยาบาลวิชาชีพภาครัฐและภาคเอกชนมีความคิดเห็นเหมือนกันว่า การช่วยเหลือและดูแลผู้ป่วย การได้ช่วยเหลือญาติและครอบครัวของผู้ป่วย การช่วยให้ผู้ป่วยปลอดภัยในภาวะฉุกเฉิน การช่วยลดความวิตกกังวลให้ผู้ป่วยและผู้เกี่ยวข้อง การมีส่วนร่วมช่วยเหลือดูแลผู้ป่วย ผู้บาดเจ็บจากเหตุการณ์ไม่ปกติแม้เป็นเวลานอกปฏิบัติงาน ทำให้พยาบาลมีความสุขในการทำงาน โดยมีระดับความสุขมาก และไม่แตกต่างกันทั้งภาครัฐและเอกชน และปัจจัยส่วนบุคคลในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพ พบว่า ความแตกต่างของเพศ อายุ การศึกาา ประสบการณ์ทำงาน รายได้หลัก รายได้พิเศษ จำนวนบุตร สถานภาพสมรส และตำแหน่งงานไม่มีอิทธิพลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติต่อความสุขโดยรวม ข้อค้นพบทางทฤษฎี พบว่า ความสุขในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพไม่แตกต่างกันแต่ละเอียดกว่าทฤษฎีลำดับขั้นความต้องการของมาสโลว์ เพราะความสุขของพยาบาลเน้นเรื่องการช่วยเหลือดูแลผู้ป่วยและครอบครัวทั้งภาวะปกติและฉุกเฉินเป็นหลักสำคัญ ซึ่งแสดงให้เห็นว่าเป็นความสุขของพยาบาลที่ก้าวจากลำดับขั้นความต้องการของมางโลว์อย่างแท้จริง นอกจากนี้ยังพบว่า แง่ทฤษฎีประโยชน์นิยมเน้นถึงการกระทำทำให้คนส่วนใหญ่มีความสุขมากที่สุด ถือเป็นการดำเนินการของรัฐที่ใช้ได้ในระดับหนึ่ง ซึ่งนัยของทฤษฎีประโยชน์นิยมได้ชี้ให้เห็นว่ารัฐควรส่งเสิรมวิชาชีพพยาบาลให้สามารถช่วยเหลือดูแลผู้ป่วยรวมทั้งครอบครัวให้ผู้ป่วยปลอดภัย เพื่อที่สามารถทำประโยชน์ให้กับคนส่วนใหญ่ได้มากที่สุด ในขณะที่ทฤษฎีความอยู่เย็นเป็นสุขและทฤษฎีความสุขของคนไทย พบว่า เป็นผลรวมของความสุขประชาชนโดยตรง Contents note: ปีการศึกษา 2557 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25889 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000580710 SIU THE-T SOM-DBA-2015-01 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000580702 SIU THE-T SOM-DBA-2015-01 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available การปฏิบัติบทบาทของพยาบาลวิชาชีพในการสร้างเสริมสุขภาพในเขตพื้นที่ภาคกลาง / วัลยา ธรรมพนิชวัฒน์ in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.17 No.1 (Jan-Apr) 2016 ([06/20/2016])
[article]
Title : การปฏิบัติบทบาทของพยาบาลวิชาชีพในการสร้างเสริมสุขภาพในเขตพื้นที่ภาคกลาง Original title : Role performance of professional nurse in health promotion in central region Material Type: printed text Authors: วัลยา ธรรมพนิชวัฒน์, Author ; ศรีสุดา คล้ายคล่องจิตร, Author ; ณัฐา วงศ์วุฒิสาโรช, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.54-62 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.17 No.1 (Jan-Apr) 2016 [06/20/2016] . - p.54-62Keywords: พยาบาลวิชาชีพ.การปฏิบัติบทบาท.การสร้างเสริมสุขภาพ.เขตพื้นที่ภาคกลาง. Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25561 [article] การปฏิบัติบทบาทของพยาบาลวิชาชีพในการสร้างเสริมสุขภาพในเขตพื้นที่ภาคกลาง = Role performance of professional nurse in health promotion in central region [printed text] / วัลยา ธรรมพนิชวัฒน์, Author ; ศรีสุดา คล้ายคล่องจิตร, Author ; ณัฐา วงศ์วุฒิสาโรช, Author . - 2016 . - p.54-62.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.17 No.1 (Jan-Apr) 2016 [06/20/2016] . - p.54-62Keywords: พยาบาลวิชาชีพ.การปฏิบัติบทบาท.การสร้างเสริมสุขภาพ.เขตพื้นที่ภาคกลาง. Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25561 การปฏิบัติบทบาทของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชน / อุษนันท์ อินทมาศน์, / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2546
Title : การปฏิบัติบทบาทของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชน Original title : Role performance of professional nurse in community hospital Material Type: printed text Authors: อุษนันท์ อินทมาศน์, (2518-), Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2546 Pagination: ก-ฌ, 117 แผ่น Layout: ตาราง Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-175-780-3 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]].--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2546 Languages : English (eng) Descriptors: [LCSH]บทบาทที่คาดหวัง
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพ
[LCSH]วิชาชีพพยาบาล
[LCSH]โรงพยาบาลชุมชนKeywords: พยาบาลวิชาชีพ.
โรงพยาบาลชุมชน.
บทบาท.
หน้าที่.Class number: WY100 อ948 2546 Abstract: การวิจัยเชิงคุณภาพนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสบการณ์การปฏิบัติบทบาทของพยาบาลวิชาชีพ และศึกษาเงื่อนไขหรือปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติบทบาทของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชน โดยศึกษาในโรงพยาบาลชุมชน ขนาด 30 เตียง ในเขตภาคเหนือตอนล่าง จำนวน 1 แห่ง ใช้วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (Indepth interview) จากพยาบาลวิชาชีพที่มีประสบการณ์การปฏิบัติงาน 3 ปี ขึ้นไป จำนวน 16 คน แล้ววิเคราะห์เนื้อหาจากข้อมูลที่ได้ ผลการศึกษาพบว่า พยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชนมีการปฏิบัติบทบาทด้านการบริการสุขภาพประกอบด้วยบทบาทด้านการปฏิบัติการพยาบาล บทบาทด้านการบริหารจัดการ และบทบาทด้านวิชาการ ซึ่ง พยาบาลวิชาชีพมีการปฏิบัติหน้าที่เกินขอบเขตในเรื่องการรักษาโรค โดยพยาบาลวิชาชีพได้ให้บริการรักษานอกเวลาราชการแก่ผู้รับบริการที่เจ็บป่วยเล็กน้อยถึงรุนแรง การปฏิบัติบทบาทเกินขอบเขตทำให้พยาบาลวิชาชีพมีความคับข้องใจและไม่มั่นใจในการทำงานพยาบาลวิชาชีพรับรู้บทบาทหน้าที่ของตนและต้องการให้งานการพยาบาลเป็นไปตามขอบเขตที่กำหนด แต่ด้วยความจำเป็นด้านบุคลากร ทำให้พยาบาลวิชาชีพต้องปฏิบัติหน้าที่ด้านการรักษาต่อไป ในการปฏิบัติบทบาทด้านการบริหารงานพบว่า พยาบาลวิชาชีพมีบทบาทเป็นผู้นำในการบริหารงาน มีส่วนร่วมหรือเป็นผู้ประสานงานด้านการบริหาร และการบริหารงานในโครงการเฉพาะกิจ ภาระงานที่มีปริมาณมากเกินขีดความสามารถ ประกอบกับเวลาที่จำกัดทำให้พยาบาลวิชาชีพรู้สึกไม่มีเวลาในการพักผ่อน อีกทั้งการได้รับมอบหมายงานที่ไม่มีความสนใจ ทำให้ไม่มีความกระตือรือร้นในการปฏิบัติงาน การทำงานไม่ครบถ้วนสมบูรณ์และขาดประสิทธิภาพ อนึ่งภาระงานที่เหมาะสมจะเป็นการท้าทายความสามารถและก่อให้เกิดการพัฒนาความสามารถได้ ทางด้านการปฏิบัติบทบาทด้านวิชาการพบว่า พยาบาลวิชาชีพรับรู้ว่าตนปฏิบัติบทบาทด้านวิชาการแก่ผู้รับบริการอย่างสม่ำเสมอ โดยเฉพาะการให้ความรู้เป็นรายบุคคลแก่ผู้รับบริการในแผนกที่ตนปฏิบัติงานอยู่ แต่การปฏิบัติบทบาทด้านวิชาการในหน่วยงานมีน้อย เนื่องจากนโยบายด้านวิชาการของหน่วยงานไม่ชัดเจน ขาดการสนับสนุนให้มีการพัฒนาตนเอง ซึ่งพยาบาลวิชาชีพมีความต้องการพัฒนาตนเองอยู่เสมอและพยายามที่จะแสวงหาโอกาสการพัฒนาด้วยตนเอง แม้ว่าพยาบาลวิชาชีพจะมีความคับข้องใจที่ต้องปฏิบัติบทบาทเกินขอบเขตหน้าที่ แต่ก็จำเป็นต้องปฏิบัติ โดยมีมุมมองในเชิงบวกว่าเป็นเพราะหน่วยงานขาดแคลนบุคลากร อีกทั้งต้องการให้หน่วยงานเป็นที่ยอมรับของผู้รับบริการ พยาบาลวิชาชีพต้องการพัฒนาศักยภาพของตน เกี่ยวกับความรู้และทักษะด้านเวชปฏิบัติเพื่อนำมาใช้ในการปฏิบัติงานด้านการรักษา นอกจากนี้ได้เสนอแนะว่าการปฏิบัติงานด้านการรักษาโรค ควรมีการมอบหมายงานและกำหนดขอบเขตเป็นลายลักษณ์อักษร มีการควบคุมดูแลโดยแพทย์อย่างใกล้ชิดเพื่อไม่ให้เกิดข้อผิดพลาดในการปฏิบัติงาน Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23174 การปฏิบัติบทบาทของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชน = Role performance of professional nurse in community hospital [printed text] / อุษนันท์ อินทมาศน์, (2518-), Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546 . - ก-ฌ, 117 แผ่น : ตาราง ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-175-780-3 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]].--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2546
Languages : English (eng)
Descriptors: [LCSH]บทบาทที่คาดหวัง
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพ
[LCSH]วิชาชีพพยาบาล
[LCSH]โรงพยาบาลชุมชนKeywords: พยาบาลวิชาชีพ.
โรงพยาบาลชุมชน.
บทบาท.
หน้าที่.Class number: WY100 อ948 2546 Abstract: การวิจัยเชิงคุณภาพนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสบการณ์การปฏิบัติบทบาทของพยาบาลวิชาชีพ และศึกษาเงื่อนไขหรือปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติบทบาทของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชน โดยศึกษาในโรงพยาบาลชุมชน ขนาด 30 เตียง ในเขตภาคเหนือตอนล่าง จำนวน 1 แห่ง ใช้วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (Indepth interview) จากพยาบาลวิชาชีพที่มีประสบการณ์การปฏิบัติงาน 3 ปี ขึ้นไป จำนวน 16 คน แล้ววิเคราะห์เนื้อหาจากข้อมูลที่ได้ ผลการศึกษาพบว่า พยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชนมีการปฏิบัติบทบาทด้านการบริการสุขภาพประกอบด้วยบทบาทด้านการปฏิบัติการพยาบาล บทบาทด้านการบริหารจัดการ และบทบาทด้านวิชาการ ซึ่ง พยาบาลวิชาชีพมีการปฏิบัติหน้าที่เกินขอบเขตในเรื่องการรักษาโรค โดยพยาบาลวิชาชีพได้ให้บริการรักษานอกเวลาราชการแก่ผู้รับบริการที่เจ็บป่วยเล็กน้อยถึงรุนแรง การปฏิบัติบทบาทเกินขอบเขตทำให้พยาบาลวิชาชีพมีความคับข้องใจและไม่มั่นใจในการทำงานพยาบาลวิชาชีพรับรู้บทบาทหน้าที่ของตนและต้องการให้งานการพยาบาลเป็นไปตามขอบเขตที่กำหนด แต่ด้วยความจำเป็นด้านบุคลากร ทำให้พยาบาลวิชาชีพต้องปฏิบัติหน้าที่ด้านการรักษาต่อไป ในการปฏิบัติบทบาทด้านการบริหารงานพบว่า พยาบาลวิชาชีพมีบทบาทเป็นผู้นำในการบริหารงาน มีส่วนร่วมหรือเป็นผู้ประสานงานด้านการบริหาร และการบริหารงานในโครงการเฉพาะกิจ ภาระงานที่มีปริมาณมากเกินขีดความสามารถ ประกอบกับเวลาที่จำกัดทำให้พยาบาลวิชาชีพรู้สึกไม่มีเวลาในการพักผ่อน อีกทั้งการได้รับมอบหมายงานที่ไม่มีความสนใจ ทำให้ไม่มีความกระตือรือร้นในการปฏิบัติงาน การทำงานไม่ครบถ้วนสมบูรณ์และขาดประสิทธิภาพ อนึ่งภาระงานที่เหมาะสมจะเป็นการท้าทายความสามารถและก่อให้เกิดการพัฒนาความสามารถได้ ทางด้านการปฏิบัติบทบาทด้านวิชาการพบว่า พยาบาลวิชาชีพรับรู้ว่าตนปฏิบัติบทบาทด้านวิชาการแก่ผู้รับบริการอย่างสม่ำเสมอ โดยเฉพาะการให้ความรู้เป็นรายบุคคลแก่ผู้รับบริการในแผนกที่ตนปฏิบัติงานอยู่ แต่การปฏิบัติบทบาทด้านวิชาการในหน่วยงานมีน้อย เนื่องจากนโยบายด้านวิชาการของหน่วยงานไม่ชัดเจน ขาดการสนับสนุนให้มีการพัฒนาตนเอง ซึ่งพยาบาลวิชาชีพมีความต้องการพัฒนาตนเองอยู่เสมอและพยายามที่จะแสวงหาโอกาสการพัฒนาด้วยตนเอง แม้ว่าพยาบาลวิชาชีพจะมีความคับข้องใจที่ต้องปฏิบัติบทบาทเกินขอบเขตหน้าที่ แต่ก็จำเป็นต้องปฏิบัติ โดยมีมุมมองในเชิงบวกว่าเป็นเพราะหน่วยงานขาดแคลนบุคลากร อีกทั้งต้องการให้หน่วยงานเป็นที่ยอมรับของผู้รับบริการ พยาบาลวิชาชีพต้องการพัฒนาศักยภาพของตน เกี่ยวกับความรู้และทักษะด้านเวชปฏิบัติเพื่อนำมาใช้ในการปฏิบัติงานด้านการรักษา นอกจากนี้ได้เสนอแนะว่าการปฏิบัติงานด้านการรักษาโรค ควรมีการมอบหมายงานและกำหนดขอบเขตเป็นลายลักษณ์อักษร มีการควบคุมดูแลโดยแพทย์อย่างใกล้ชิดเพื่อไม่ให้เกิดข้อผิดพลาดในการปฏิบัติงาน Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23174 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000355493 WY100 อ948 2546 Thesis Main Library Thesis Corner Available การประยุกต์ใช้นวตกรรมการดูแลโรคเรื้อร้งขององค์การอนามัยโลก / นงนุช โอบะ in วารสารการพยาบาลและสุขภาพ, Vol.13 No.2 (Apr-Jun) 2019 ([11/14/2019])
[article]
Title : การประยุกต์ใช้นวตกรรมการดูแลโรคเรื้อร้งขององค์การอนามัยโลก : ตามบทบาทของพยาบาลวิชาชีพในระบบบริการปฐมภูมิ Material Type: printed text Authors: นงนุช โอบะ, Author Publication Date: 2019 Article on page: น.1-10 Languages : English (eng)
in วารสารการพยาบาลและสุขภาพ > Vol.13 No.2 (Apr-Jun) 2019 [11/14/2019] . - น.1-10Keywords: โรคเรื้อรังเป็นปัญหาที่สำคัญของสาธารณสุขทั่วโลกซึ่งรวมทั้งประเทศไทยด้วย การป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง การลดปัจจัยเสี่ยงของโรคได้อย่างมีประสิทธิภาพ พยาบาลวิชาชีพในระบบบริการปฐมภูมิเป็นทีมสุขภาพสำคัญที่ทำให้เกิดการป้องกันและควบคุมโรคเรื้องรังให้บรรลุตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ นวตกรรมการดูแลรักษาโรคเรื้อรังของอองค์การอนามัยโลก (WHO) เป็นรูปแบบการดูแลที่องค์การอนามัยโลกพัฒนาขึ้นเพื่อให้เหมาะสมกับบริบทของประเทศต่าง ๆ ซึ่งก่อให้เกิดผลลัพธิ์ทางสุขภาพที่ดีแก่ผู้ป่วยโรคเรื้อรังประกอบด้วย การจัดการดูแล 3 ระดับ ได้แก่ ระดับของผู้ป่วยและครอบครัว ระดับระบบริการสุขภาพและชุมชน และดับนโยบาย พยาบาลวิชาชีพในระบบริการปฐมภูมิสามารถประยุกต์ใช้นวตกรรมการดูแลโรคเรื้อรัง ประกอบด้วย 1) บทบาทในการสร้าเสริมการดูแลตนเอง แก่ผู้ป่วย โดยครอบครัวมีส่วนร่วม 2) บทบาทในการจัดระบบการบริการผู้ป่วยโรคเรื้อรังในสถานบริการและในชุมชน และ 3) บทบาทด้านการขับเคลื่อนนโยบาย ซึ่งทำให้การดำเนินการป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรังมีความครอบคลุมและเกิดผลลัพธ์ที่ดีแก่ผู้ใช้บริการ Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27916 [article] การประยุกต์ใช้นวตกรรมการดูแลโรคเรื้อร้งขององค์การอนามัยโลก : ตามบทบาทของพยาบาลวิชาชีพในระบบบริการปฐมภูมิ [printed text] / นงนุช โอบะ, Author . - 2019 . - น.1-10.
Languages : English (eng)
in วารสารการพยาบาลและสุขภาพ > Vol.13 No.2 (Apr-Jun) 2019 [11/14/2019] . - น.1-10Keywords: โรคเรื้อรังเป็นปัญหาที่สำคัญของสาธารณสุขทั่วโลกซึ่งรวมทั้งประเทศไทยด้วย การป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง การลดปัจจัยเสี่ยงของโรคได้อย่างมีประสิทธิภาพ พยาบาลวิชาชีพในระบบบริการปฐมภูมิเป็นทีมสุขภาพสำคัญที่ทำให้เกิดการป้องกันและควบคุมโรคเรื้องรังให้บรรลุตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ นวตกรรมการดูแลรักษาโรคเรื้อรังของอองค์การอนามัยโลก (WHO) เป็นรูปแบบการดูแลที่องค์การอนามัยโลกพัฒนาขึ้นเพื่อให้เหมาะสมกับบริบทของประเทศต่าง ๆ ซึ่งก่อให้เกิดผลลัพธิ์ทางสุขภาพที่ดีแก่ผู้ป่วยโรคเรื้อรังประกอบด้วย การจัดการดูแล 3 ระดับ ได้แก่ ระดับของผู้ป่วยและครอบครัว ระดับระบบริการสุขภาพและชุมชน และดับนโยบาย พยาบาลวิชาชีพในระบบริการปฐมภูมิสามารถประยุกต์ใช้นวตกรรมการดูแลโรคเรื้อรัง ประกอบด้วย 1) บทบาทในการสร้าเสริมการดูแลตนเอง แก่ผู้ป่วย โดยครอบครัวมีส่วนร่วม 2) บทบาทในการจัดระบบการบริการผู้ป่วยโรคเรื้อรังในสถานบริการและในชุมชน และ 3) บทบาทด้านการขับเคลื่อนนโยบาย ซึ่งทำให้การดำเนินการป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรังมีความครอบคลุมและเกิดผลลัพธ์ที่ดีแก่ผู้ใช้บริการ Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27916 การพยาบาลเพื่อความปลอดภัย / เพ็ญจันทร์ แสนประสาน / กรุงเทพฯ : สุขขุมวิทการพิมพ์ - 2558
in ความปลอดภัย และ Competency พยาบาล CVT / บุปผาวัลย์ ศรีล้ำ ; ดวงกมล วัตราดุลย์ / กรุงเทพฯ : สุขขุมวิทการพิมพ์ - 2551
Title : การพยาบาลเพื่อความปลอดภัย : สมรรถนะพยาบาล CVT Material Type: printed text Authors: เพ็ญจันทร์ แสนประสาน, Editor ; ดวงกมล วัตราดุลย์, Editor ; บุปผาวัลย์ ศรีล้ำ, Editor Edition statement: ปรับปรุงครั้งที่ 1 Publisher: กรุงเทพฯ : สุขขุมวิทการพิมพ์ Publication Date: 2558 Pagination: 182 หน้า Layout: ภาพประกอบ Size: 27 ซม. ISBN (or other code): 978-974-383-227-7 Price: บริจาค (250.00) Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]Thoracic -- assessment
[NLM]Cardiovascular -- assessment
[NLM]Thoracic -- assessment
[NLM]ความปลอดภัย -- พยาบาล
[NLM]สมรรถนะ -- พยาบาลKeywords: สมรรถนะ.
พยาบาลวิชาชีพ.
ความปลอดภัย.
CTV.Class number: WY105 ก181 2558 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27644
in ความปลอดภัย และ Competency พยาบาล CVT / บุปผาวัลย์ ศรีล้ำ ; ดวงกมล วัตราดุลย์ / กรุงเทพฯ : สุขขุมวิทการพิมพ์ - 2551
การพยาบาลเพื่อความปลอดภัย : สมรรถนะพยาบาล CVT [printed text] / เพ็ญจันทร์ แสนประสาน, Editor ; ดวงกมล วัตราดุลย์, Editor ; บุปผาวัลย์ ศรีล้ำ, Editor . - ปรับปรุงครั้งที่ 1 . - กรุงเทพฯ : สุขขุมวิทการพิมพ์, 2558 . - 182 หน้า : ภาพประกอบ ; 27 ซม.
ISBN : 978-974-383-227-7 : บริจาค (250.00)
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]Thoracic -- assessment
[NLM]Cardiovascular -- assessment
[NLM]Thoracic -- assessment
[NLM]ความปลอดภัย -- พยาบาล
[NLM]สมรรถนะ -- พยาบาลKeywords: สมรรถนะ.
พยาบาลวิชาชีพ.
ความปลอดภัย.
CTV.Class number: WY105 ก181 2558 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27644 Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000520526 WY105 ก181 2558 Book Main Library General Shelf Not for loan การพยาบาลเพื่อความปลอดภัย / เพ็ญจันทร์ แสนประสาน / กรุงเทพฯ : สุขขุมวิทการพิมพ์ - 2560
in ความปลอดภัย และ Competency พยาบาล CVT / บุปผาวัลย์ ศรีล้ำ ; ดวงกมล วัตราดุลย์ / กรุงเทพฯ : สุขขุมวิทการพิมพ์ - 2551
Title : การพยาบาลเพื่อความปลอดภัย : สมรรถนะพยาบาล CVT Material Type: printed text Authors: เพ็ญจันทร์ แสนประสาน, Editor ; ดวงกมล วัตราดุลย์, Editor ; บุปผาวัลย์ ศรีล้ำ, Editor Edition statement: ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2 Publisher: กรุงเทพฯ : สุขขุมวิทการพิมพ์ Publication Date: 2560 Pagination: 255 หน้า Layout: ภาพประกอบ Size: 26 ซม. ISBN (or other code): 978-6-16-929912-7 Price: บริจาค (250.00) General note: จัดพิมพ์โดยสมาคมพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก (แห่งประเทศไทย). Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]Thoracic -- assessment
[NLM]Cardiovascular -- assessment
[NLM]Thoracic -- assessment
[NLM]ความปลอดภัย -- พยาบาล
[NLM]สมรรถนะ -- พยาบาลKeywords: สมรรถนะ.
พยาบาลวิชาชีพ.
ความปลอดภัย.
CTV.Class number: WY105 ก181 2560 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27645
in ความปลอดภัย และ Competency พยาบาล CVT / บุปผาวัลย์ ศรีล้ำ ; ดวงกมล วัตราดุลย์ / กรุงเทพฯ : สุขขุมวิทการพิมพ์ - 2551
การพยาบาลเพื่อความปลอดภัย : สมรรถนะพยาบาล CVT [printed text] / เพ็ญจันทร์ แสนประสาน, Editor ; ดวงกมล วัตราดุลย์, Editor ; บุปผาวัลย์ ศรีล้ำ, Editor . - ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2 . - กรุงเทพฯ : สุขขุมวิทการพิมพ์, 2560 . - 255 หน้า : ภาพประกอบ ; 26 ซม.
ISBN : 978-6-16-929912-7 : บริจาค (250.00)
จัดพิมพ์โดยสมาคมพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก (แห่งประเทศไทย).
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]Thoracic -- assessment
[NLM]Cardiovascular -- assessment
[NLM]Thoracic -- assessment
[NLM]ความปลอดภัย -- พยาบาล
[NLM]สมรรถนะ -- พยาบาลKeywords: สมรรถนะ.
พยาบาลวิชาชีพ.
ความปลอดภัย.
CTV.Class number: WY105 ก181 2560 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27645 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000520534 WY105 ก181 2560 c.1 Book Main Library General Shelf Available 32002000521656 WY105 ก181 2560 c.11 Book Main Library General Shelf Available 32002000521649 WY105 ก181 2560 c.12 Book Main Library General Shelf Available 32002000521631 WY105 ก181 2560 c.13 Book Main Library General Shelf Available 32002000521730 WY105 ก181 2560 c.14 Book Main Library General Shelf Available 32002000521599 WY105 ก181 2560 c.15 Book Main Library General Shelf Available 32002000521573 WY105 ก181 2560 c.16 Book Main Library General Shelf Available 32002000521581 WY105 ก181 2560 c.17 Book Main Library General Shelf Available 32002000521565 WY105 ก181 2560 c.18 Book Main Library General Shelf Available 32002000521557 WY105 ก181 2560 c.19 Book Main Library General Shelf Available 32002000521540 WY105 ก181 2560 c.20 Book Main Library General Shelf Available 32002000521532 WY105 ก181 2560 c.21 Book Main Library General Shelf Available 32002000521524 WY105 ก181 2560 c.22 Book Main Library General Shelf Available 32002000521516 WY105 ก181 2560 c.23 Book Main Library General Shelf Available 32002000521508 WY105 ก181 2560 c.24 Book Main Library General Shelf Available 32002000521490 WY105 ก181 2560 c.25 Book Main Library General Shelf Available 32002000521607 WY105 ก181 2560 c.26 Book Main Library General Shelf Available 32002000521771 WY105 ก181 2560 c.27 Book Main Library General Shelf Available 32002000521763 WY105 ก181 2560 c.28 Book Main Library General Shelf Available 32002000521615 WY105 ก181 2560 c.29 Book Main Library General Shelf Available 32002000521623 WY105 ก181 2560 c.30 Book Main Library General Shelf Available 32002000521722 WY105 ก181 2560 c.31 Book Main Library General Shelf Available 32002000521664 WY105 ก181 2560 c.10 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000521755 WY105 ก181 2560 c.2 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000521714 WY105 ก181 2560 c.3 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000521748 WY105 ก181 2560 c.4 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000521706 WY105 ก181 2560 c.5 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000521698 WY105 ก181 2560 c.6 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000521680 WY105 ก181 2560 c.7 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000521672 WY105 ก181 2560 c.9 Book Main Library Nursing Shelf Due for return by 01/21/2025 การพัฒนาเกณฑ์ประเมินสมรรถนะพยาบาลวิชาชีพ / จารีศรี กุลศิริปัญโญ in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 ([09/07/2015])
[article]
Title : การพัฒนาเกณฑ์ประเมินสมรรถนะพยาบาลวิชาชีพ Original title : The development of criterion one valuation register nurse competencies Material Type: printed text Authors: จารีศรี กุลศิริปัญโญ, Author Publication Date: 2015 Article on page: p.123-130 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 [09/07/2015] . - p.123-130Keywords: สมรรถนะวิชาชีพ.พยาบาลวิชาชีพ. Abstract: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาตัวบ่งชี้ และเกณฑ์ประเมินสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพ 8 ด้าน ซึ่งประกอบด้วยสมรรถนะ ด้านจริยธรรม ด้านการปฏิบัติการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ด้านคุณลักษณะเชิงวิชาชีพ ด้านภาวะผู้รำการจัดการและการพัฒนาคุณภาพ ด้านวิชาการและการวิจัน สมรรถนะการสื่อสารและสัมพันธภาพ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ และด้านสังคม โดยอาศัยวิธีการเดลฟายเป็นเทคนิคที่มีผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 20 ท่าน ตอบแบบสอบถามจำนวน 3 รอบ โดยแต่ละรอบผู้วิจัยจะสรุปคำตอบของรอบนั้นเพื่อเป็นข้อมูลสำหรับตอบคำถามในรอบถัดไป การสอบถามจะหยุดลงเมื่อได้รับข้อสรุปที่มั่นคง และได้ค่าทางสถิติ. Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24960 [article] การพัฒนาเกณฑ์ประเมินสมรรถนะพยาบาลวิชาชีพ = The development of criterion one valuation register nurse competencies [printed text] / จารีศรี กุลศิริปัญโญ, Author . - 2015 . - p.123-130.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 [09/07/2015] . - p.123-130Keywords: สมรรถนะวิชาชีพ.พยาบาลวิชาชีพ. Abstract: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาตัวบ่งชี้ และเกณฑ์ประเมินสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพ 8 ด้าน ซึ่งประกอบด้วยสมรรถนะ ด้านจริยธรรม ด้านการปฏิบัติการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ด้านคุณลักษณะเชิงวิชาชีพ ด้านภาวะผู้รำการจัดการและการพัฒนาคุณภาพ ด้านวิชาการและการวิจัน สมรรถนะการสื่อสารและสัมพันธภาพ ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ และด้านสังคม โดยอาศัยวิธีการเดลฟายเป็นเทคนิคที่มีผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 20 ท่าน ตอบแบบสอบถามจำนวน 3 รอบ โดยแต่ละรอบผู้วิจัยจะสรุปคำตอบของรอบนั้นเพื่อเป็นข้อมูลสำหรับตอบคำถามในรอบถัดไป การสอบถามจะหยุดลงเมื่อได้รับข้อสรุปที่มั่นคง และได้ค่าทางสถิติ. Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24960 การศึกษาสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพด้านการพยาบาลวิสัญญีโรงพยาบาลรัฐ กระทรวงสาธารณสุข / กานดา เลาหศิลป์สมจิตร์ / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2547
Title : การศึกษาสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพด้านการพยาบาลวิสัญญีโรงพยาบาลรัฐ กระทรวงสาธารณสุข Original title : A sStudy of nurse anesthetists' competencies, hospitals under the jurisdiction of the Ministry of Public Health Material Type: printed text Authors: กานดา เลาหศิลป์สมจิตร์, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2547 Pagination: ก-ฎ, 147 แผ่น Layout: แผนภูมิ. Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-531-679-4 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ (พย.ม.(การบริหารการพยาบาล)). -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]Anesthesiology
[LCSH]Nurse anesthetists
[LCSH]พยาบาลวิสัญญี
[LCSH]สมรรถนะ -- พยาบาลKeywords: สมรรถนะ.
พยาบาลวิชาชีพ.
พยาบาลวิสัญญี.Class number: WY151 ก125 2547 Abstract: วัตถุประสงค์การวิจัยคือ เพื่อศึกษาสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพด้านการพยาบาลวิสัญญีโรงพยาบาลรัฐ กระทรวงสาธารณสุข วิธีดำเนินการวิจัย ประกอบด้วย 2 ขั้นตอนดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 ศึกษาและวิเคราะห์เอกสาร เพื่อนำสาระที่ได้มากำหนดกรอบแนวคิดในการวิจัย ขั้นตอนที่ 2 ศึกษาสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพด้านการพยาบาลวิสัญญี โรงพยาบาลรัฐ กระทรวงสาธารณสุข โดยใช้เทคนิค Ethnographic Delphi Futures Research (EDFR) ผู้เชี่ยวชาญจำนวน 26 ท่าน คัดเลือกสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพด้านการพยาบาลวิสัญญี โรงพยาบาลรัฐ กระทรวงสาธารณสุข โดยพิจารณาจากค่ามัธยฐานมากกว่า 3.50 และค่าพิสัยระหว่างควอไทล์ไม่เกิน 1.50 และค่าผลต่างระหว่างฐานนิยมและมัธยฐานไม่เกิน 1.00 ระยะเวลาการรวบรวมข้อมูล รวมทั้งสิ้น 145 วัน ผลการวิจัยพบว่าสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพด้านการพยาบาลวิสัญญี โรงพยาบาลรัฐกระทรวงสาธารณสุข ประกอบด้วย 4 สมรรถนะหลัก ดังนี้ 1. ด้านการพยาบาลวิสัญญี ประกอบด้วย 5 ด้าน ได้แก่ การประเมินผู้ป่วยก่อนให้ยาระงับความรู้สึก การเฝ้าระวังผู้ป่วยระหว่างให้ยาระงับความรู้สึก การประเมินผู้ป่วยในระยะพักฟื้นหลังให้ยาระงับความรู้สึก การตัดสินใจแก้ไขปัญหาภาวะวิกฤต และทักษะการทำหัตถการ 2. ด้านทักษะทางสังคม ประกอบด้วย 2 ด้าน ได้แก่ การประสานงานระหว่างทีมสหสาขาวิชาชีพ และทีมงานวิสัญญี และการประสานความร่วมมือกับผู้ป่วยและญาติ 3. ด้านวิชาการ ประกอบด้วย 2 ด้าน ได้แก่ ความรู้ และการใช้เทคโนโลยี 4. ด้านคุณลักษณะ Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23309 การศึกษาสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพด้านการพยาบาลวิสัญญีโรงพยาบาลรัฐ กระทรวงสาธารณสุข = A sStudy of nurse anesthetists' competencies, hospitals under the jurisdiction of the Ministry of Public Health [printed text] / กานดา เลาหศิลป์สมจิตร์, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547 . - ก-ฎ, 147 แผ่น : แผนภูมิ. ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-531-679-4 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์ (พย.ม.(การบริหารการพยาบาล)). -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]Anesthesiology
[LCSH]Nurse anesthetists
[LCSH]พยาบาลวิสัญญี
[LCSH]สมรรถนะ -- พยาบาลKeywords: สมรรถนะ.
พยาบาลวิชาชีพ.
พยาบาลวิสัญญี.Class number: WY151 ก125 2547 Abstract: วัตถุประสงค์การวิจัยคือ เพื่อศึกษาสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพด้านการพยาบาลวิสัญญีโรงพยาบาลรัฐ กระทรวงสาธารณสุข วิธีดำเนินการวิจัย ประกอบด้วย 2 ขั้นตอนดังนี้ ขั้นตอนที่ 1 ศึกษาและวิเคราะห์เอกสาร เพื่อนำสาระที่ได้มากำหนดกรอบแนวคิดในการวิจัย ขั้นตอนที่ 2 ศึกษาสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพด้านการพยาบาลวิสัญญี โรงพยาบาลรัฐ กระทรวงสาธารณสุข โดยใช้เทคนิค Ethnographic Delphi Futures Research (EDFR) ผู้เชี่ยวชาญจำนวน 26 ท่าน คัดเลือกสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพด้านการพยาบาลวิสัญญี โรงพยาบาลรัฐ กระทรวงสาธารณสุข โดยพิจารณาจากค่ามัธยฐานมากกว่า 3.50 และค่าพิสัยระหว่างควอไทล์ไม่เกิน 1.50 และค่าผลต่างระหว่างฐานนิยมและมัธยฐานไม่เกิน 1.00 ระยะเวลาการรวบรวมข้อมูล รวมทั้งสิ้น 145 วัน ผลการวิจัยพบว่าสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพด้านการพยาบาลวิสัญญี โรงพยาบาลรัฐกระทรวงสาธารณสุข ประกอบด้วย 4 สมรรถนะหลัก ดังนี้ 1. ด้านการพยาบาลวิสัญญี ประกอบด้วย 5 ด้าน ได้แก่ การประเมินผู้ป่วยก่อนให้ยาระงับความรู้สึก การเฝ้าระวังผู้ป่วยระหว่างให้ยาระงับความรู้สึก การประเมินผู้ป่วยในระยะพักฟื้นหลังให้ยาระงับความรู้สึก การตัดสินใจแก้ไขปัญหาภาวะวิกฤต และทักษะการทำหัตถการ 2. ด้านทักษะทางสังคม ประกอบด้วย 2 ด้าน ได้แก่ การประสานงานระหว่างทีมสหสาขาวิชาชีพ และทีมงานวิสัญญี และการประสานความร่วมมือกับผู้ป่วยและญาติ 3. ด้านวิชาการ ประกอบด้วย 2 ด้าน ได้แก่ ความรู้ และการใช้เทคโนโลยี 4. ด้านคุณลักษณะ Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23309 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000384683 THE WY151 ก125 2547 Thesis Main Library Thesis Corner Available การเปรียบเทียบการจัดการทรัพยากรมนุษย์ของฝ่ายการพยาบาล ตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพ / ปรารถนา หมี้แสน / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2542
Title : การเปรียบเทียบการจัดการทรัพยากรมนุษย์ของฝ่ายการพยาบาล ตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพ : โรงพยาบาลที่เข้าร่วมและไม่เข้าร่วมโครงการพัฒนาคุณภาพ Original title : A comparison of human resourse management of nursing departments as perceived by professional nurses hospital participated and non particpated in hospital total quality management program Material Type: printed text Authors: ปรารถนา หมี้แสน, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2542 Pagination: ก-ฌ, 135 แผ่น. Layout: ตารางประกอบ, แผนภูมิ Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-334-553-1 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์. (พย. ม (การบริหารการพยาบาล)). -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารงานบุคคล
[LCSH]ความผูกพันต่อองค์กร
[LCSH]ทรัพยากรมนุษย์ -- การจัดการ
[LCSH]บุคลากรโรงพยาบาล
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพ
[LCSH]โรงพยาบาล -- การรับรองคุณภาพKeywords: การจัดการ.
ทรัพยากรมนุษย์.
การพยาบาล.
พยาบาลวิชาชีพ.Class number: WX150 ป572 2542 Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. ศึกษาระดับการจัดการทรัพยากรมนุษย์ของฝ่ายการพยาบาล
2. เปรียบเทียบการจัดการทรัพยากรมนุษย์ของฝ่ายการพยาบาลระหว่างโรงพยาบาลที่เข้าร่วมและไม่เข้าร่วมโครงการพัฒนาคุณภาพ 3. เปรียบเทียบการจัดการทรัพยากรมนุษย์ของฝ่ายการพยาบาลหลังจากเข้าร่วมโครงการพัฒนาคุณภาพเป็นระยะเวลา 1 ปี 3 ปี และ 6 ปี 4. เปรียบเทียบการจัดการทรัพยากรมนุษย์ของฝ่ายการพยาบาลระหว่างโรงพยาบาลที่เข้าร่วมและไม่เข้าร่วมโครงการพัฒนาคุณภาพกับโรงพยาบาลที่เข้าร่วมโครงการพัฒนาคุณภาพและโครงการพัฒนาและรับรองคุณภาพ กลุ่มตัวอย่าง คือ พยาบาลวิชาชีพ จำนวน 400 คน เลือกกลุ่มตัวอย่างโดยวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เป็นแบบสอบถามการจัดการทรัพยากรมนุษย์ของฝ่ายการพยาบาล ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาและทดสอบความเที่ยงด้วยวิธีของครอนบาค มีค่าความเที่ยง .094 วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่บงเบนมาตรฐาน สถิติทดสอบที และสถิตทดสอบความแปรปรวนแบบทางเดียว
ผลการวิจัยพบว่า
1. การจัดการทรัพยากรมนุษย์ของฝ่ายการพยาบาล ตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพโดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อจำแนกเป็นรายด้านพบว่า ระบบงานอยู่ในระดับมาก การศึกษา ฝึกอบรมและพัฒนาบุคลากร และความสุขสมบรูณ์ และความพึงพอใจของพยาบาลอยู่ในระดับปานกลาง
2. การจัดการทรัพยากรมนุษย์ของฝ่ายการพยาบาล ตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพ จำแนกตามประเภทของโรงพยาบาลระหว่างโรงพยาบาลที่เข้าร่วมและไม่เข้าร่วมโครงการพัฒนาคุณภาพโดยรวมไม่แตกต่างกัน รายด้านระบบงานแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
3. การจัดการทรัพยากรมนุษย์ของฝ่ายการพยาบาล ตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลที่ไม่เข้าร่วมโครงการพัฒนาคุณภาพ 1 ปี 3 ปี และ 6 ปี โดยรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน
4. การจัดการทรัพยากรมนุษย์ของฝ่ายการพยาบาล ตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพระหว่างโรงพยาบาบที่เข้าร่วมโครงการพัฒนาคุณภาพกัลโรงพยาบาลที่ไม่เข้าร่วมโครงการพัฒนาคุณภาพและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลโดยรสมและรายด้านไม่แตกต่างกันCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23328 การเปรียบเทียบการจัดการทรัพยากรมนุษย์ของฝ่ายการพยาบาล ตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพ = A comparison of human resourse management of nursing departments as perceived by professional nurses hospital participated and non particpated in hospital total quality management program : โรงพยาบาลที่เข้าร่วมและไม่เข้าร่วมโครงการพัฒนาคุณภาพ [printed text] / ปรารถนา หมี้แสน, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542 . - ก-ฌ, 135 แผ่น. : ตารางประกอบ, แผนภูมิ ; 30 ซม.
ISBN : 978-974-334-553-1 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์. (พย. ม (การบริหารการพยาบาล)). -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารงานบุคคล
[LCSH]ความผูกพันต่อองค์กร
[LCSH]ทรัพยากรมนุษย์ -- การจัดการ
[LCSH]บุคลากรโรงพยาบาล
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพ
[LCSH]โรงพยาบาล -- การรับรองคุณภาพKeywords: การจัดการ.
ทรัพยากรมนุษย์.
การพยาบาล.
พยาบาลวิชาชีพ.Class number: WX150 ป572 2542 Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. ศึกษาระดับการจัดการทรัพยากรมนุษย์ของฝ่ายการพยาบาล
2. เปรียบเทียบการจัดการทรัพยากรมนุษย์ของฝ่ายการพยาบาลระหว่างโรงพยาบาลที่เข้าร่วมและไม่เข้าร่วมโครงการพัฒนาคุณภาพ 3. เปรียบเทียบการจัดการทรัพยากรมนุษย์ของฝ่ายการพยาบาลหลังจากเข้าร่วมโครงการพัฒนาคุณภาพเป็นระยะเวลา 1 ปี 3 ปี และ 6 ปี 4. เปรียบเทียบการจัดการทรัพยากรมนุษย์ของฝ่ายการพยาบาลระหว่างโรงพยาบาลที่เข้าร่วมและไม่เข้าร่วมโครงการพัฒนาคุณภาพกับโรงพยาบาลที่เข้าร่วมโครงการพัฒนาคุณภาพและโครงการพัฒนาและรับรองคุณภาพ กลุ่มตัวอย่าง คือ พยาบาลวิชาชีพ จำนวน 400 คน เลือกกลุ่มตัวอย่างโดยวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เป็นแบบสอบถามการจัดการทรัพยากรมนุษย์ของฝ่ายการพยาบาล ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาและทดสอบความเที่ยงด้วยวิธีของครอนบาค มีค่าความเที่ยง .094 วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่บงเบนมาตรฐาน สถิติทดสอบที และสถิตทดสอบความแปรปรวนแบบทางเดียว
ผลการวิจัยพบว่า
1. การจัดการทรัพยากรมนุษย์ของฝ่ายการพยาบาล ตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพโดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อจำแนกเป็นรายด้านพบว่า ระบบงานอยู่ในระดับมาก การศึกษา ฝึกอบรมและพัฒนาบุคลากร และความสุขสมบรูณ์ และความพึงพอใจของพยาบาลอยู่ในระดับปานกลาง
2. การจัดการทรัพยากรมนุษย์ของฝ่ายการพยาบาล ตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพ จำแนกตามประเภทของโรงพยาบาลระหว่างโรงพยาบาลที่เข้าร่วมและไม่เข้าร่วมโครงการพัฒนาคุณภาพโดยรวมไม่แตกต่างกัน รายด้านระบบงานแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
3. การจัดการทรัพยากรมนุษย์ของฝ่ายการพยาบาล ตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลที่ไม่เข้าร่วมโครงการพัฒนาคุณภาพ 1 ปี 3 ปี และ 6 ปี โดยรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน
4. การจัดการทรัพยากรมนุษย์ของฝ่ายการพยาบาล ตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพระหว่างโรงพยาบาบที่เข้าร่วมโครงการพัฒนาคุณภาพกัลโรงพยาบาลที่ไม่เข้าร่วมโครงการพัฒนาคุณภาพและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลโดยรสมและรายด้านไม่แตกต่างกันCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23328 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000357283 THE WX150 ป572 2542 Thesis Main Library Thesis Corner Available