From this page you can:
Home |
Search results
28 result(s) search for keyword(s) 'การโจรกรรม. รถจักรยานยนต์. การป้องกัน.'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
ระบบเฝ้าระวังการโจรกรรมรถจักรยานยนต์ / อภิสิทธิ์ จำรัสฉาย / 2556
Title : ระบบเฝ้าระวังการโจรกรรมรถจักรยานยนต์ Original title : Surveillance system for motorcycle theft Material Type: printed text Authors: อภิสิทธิ์ จำรัสฉาย, Author Publication Date: 2556 Pagination: vi, 53 p. Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: IS.[วท ม.[เทคโนโลยีสารสนเทศ]]. มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2556. Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]โจรกรรม -- ป้องกัน
[LCSH]โจรกรรมจักรยานยนต์ -- กรุงเทพมหานครKeywords: การโจรกรรม.
รถจักรยานยนต์.
การป้องกัน.Class number: SIU IS-T: SOIT-MSIT-2014-01 Abstract: การโจรกรรมรถจักรยานยนต์ เป็นขบวนการที่คนร้ายที่มีพฤติการณ์ที่โจรกรรมรถจักรยานยนต์ รวมกลุ่มกันลักทรัพย์รถจักรยานยนต์ของบุคคลอื่นไปทั่วทุกพื้นที่ ทำให้เกิดความเสียหายแก่เจ้าของทรัพย์สิน จนเกิดความเดือดร้อน รำคาญ ตลอดจนเป็นปัญหาของสังคมอย่างต่อเนื่องซึ่งเมื่อผู้เสียหายได้รับความเดือนร้อนสิ่งแรกที่ผู้เสียหายนั้นได้นึกถึงเป็นอย่างแรก คือการแจ้งความกับพนักงานสอบสวน ทำการบันทึกข้อมูลของผู้เสียหาย ประวัติรถยนต์ ข้อมูลส่วนตัวของผู้เสียหายหลังจากนั้นจะแจ้งฝ่ายป้องกันปราบปราม ออกมาตรการที่เกี่ยวข้องในการป้องกัน แจ้งฝ่ายสืบสวนตามหาข้อมูลและติดตามตัวคนร้ายมาลงโทษตามกฎหมาย
จากการสืบค้นฐานข้อมูลมีอยู่เดิมเกี่ยวกับการโจรกรรมรถจักรยานยนต์นี้พบว่าระบบการทำงานของพนักงานเจ้าหน้าที่จะใช้วิธีการบันทึกรายละเอียดและพฤติการณ์ของการกระทำความผิดจากนั้นจะส่งข้อมูลไปยังฝ่ายที่มีหน้าที่รับผิดชอบเพื่อดำเนินการติดตามหาผู้กระทำความผิดมาดำเนินคดี แต่เนื่องจากการลงรายละเอียดยังได้ข้อมูลไม่ครบถ้วน เป็นเหตุให้การวิเคราะห์สถานภาพอาชญากรรมและการติดตามผู้กระทำความผิดพร้อมกับทรัพย์สินมาดำเนินคดีนั้นยังไม่มีประสิทธิภาพ เนื่องจากยังขาดระบบการจัดการที่ดีและเครื่องมือในการช่วยในการทำงานปัจจุบันนี้มีข้อมูลไม่เพียงพอทำให้ยากแก่การวิเคราะห์ข้อมูล
ข้าพเจ้าจึงมีแนวความคิดในการพัฒนาระบบการเฝ้าระวังการโจรกรรมรถจักรยานยนต์ เพื่อเป็นการสร้างฐานข้อมูลเบื้องต้นให้กับเจ้าหน้าที่ตำรวจได้ตรวจสอบข้อมูลได้รวดเร็วมากขึ้น และยังเป็นการนำเทคโนโลยีมาปรับใช้ในองค์กรในระดับสถานีตำรวจให้เข้ากับสภาพอาชญากรรมในสังคมปัจจุบัน โดยการนำแผนที่จาก Google Maps ไปใช้ในการกำหนดจุดพิกัดสถานที่เกิดเหตุซึ่งรถถูกโจรกรรมในพื้นที่นั้นๆ เพื่อความสะดวก รวดเร็ว ต่อการสืบค้นข้อมูลสถานที่เกิดเหตุ และเพื่อให้ผู้มีหน้าที่เกี่ยวข้องจะได้ทราบข้อมูลพื้นที่ ลักษณะพื้นฐานของการโจรกรรมเบื้องต้นของคนร้าย นำมาซึ่งการวางมาตรการป้องกันและจับกุมต่อไป ซึ่งจากผลการทดสอบระบบการเฝ้าระวังการโจรกรรมรถจักรยานยนต์ของผู้ได้นำใช้แต่ละสายงานได้ผลปรากฏตามเอกสารที่แนบท้ายบท
Curricular : MSIT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24292 ระบบเฝ้าระวังการโจรกรรมรถจักรยานยนต์ = Surveillance system for motorcycle theft [printed text] / อภิสิทธิ์ จำรัสฉาย, Author . - 2556 . - vi, 53 p. ; 30 ซม.
บริจาค.
IS.[วท ม.[เทคโนโลยีสารสนเทศ]]. มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2556.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]โจรกรรม -- ป้องกัน
[LCSH]โจรกรรมจักรยานยนต์ -- กรุงเทพมหานครKeywords: การโจรกรรม.
รถจักรยานยนต์.
การป้องกัน.Class number: SIU IS-T: SOIT-MSIT-2014-01 Abstract: การโจรกรรมรถจักรยานยนต์ เป็นขบวนการที่คนร้ายที่มีพฤติการณ์ที่โจรกรรมรถจักรยานยนต์ รวมกลุ่มกันลักทรัพย์รถจักรยานยนต์ของบุคคลอื่นไปทั่วทุกพื้นที่ ทำให้เกิดความเสียหายแก่เจ้าของทรัพย์สิน จนเกิดความเดือดร้อน รำคาญ ตลอดจนเป็นปัญหาของสังคมอย่างต่อเนื่องซึ่งเมื่อผู้เสียหายได้รับความเดือนร้อนสิ่งแรกที่ผู้เสียหายนั้นได้นึกถึงเป็นอย่างแรก คือการแจ้งความกับพนักงานสอบสวน ทำการบันทึกข้อมูลของผู้เสียหาย ประวัติรถยนต์ ข้อมูลส่วนตัวของผู้เสียหายหลังจากนั้นจะแจ้งฝ่ายป้องกันปราบปราม ออกมาตรการที่เกี่ยวข้องในการป้องกัน แจ้งฝ่ายสืบสวนตามหาข้อมูลและติดตามตัวคนร้ายมาลงโทษตามกฎหมาย
จากการสืบค้นฐานข้อมูลมีอยู่เดิมเกี่ยวกับการโจรกรรมรถจักรยานยนต์นี้พบว่าระบบการทำงานของพนักงานเจ้าหน้าที่จะใช้วิธีการบันทึกรายละเอียดและพฤติการณ์ของการกระทำความผิดจากนั้นจะส่งข้อมูลไปยังฝ่ายที่มีหน้าที่รับผิดชอบเพื่อดำเนินการติดตามหาผู้กระทำความผิดมาดำเนินคดี แต่เนื่องจากการลงรายละเอียดยังได้ข้อมูลไม่ครบถ้วน เป็นเหตุให้การวิเคราะห์สถานภาพอาชญากรรมและการติดตามผู้กระทำความผิดพร้อมกับทรัพย์สินมาดำเนินคดีนั้นยังไม่มีประสิทธิภาพ เนื่องจากยังขาดระบบการจัดการที่ดีและเครื่องมือในการช่วยในการทำงานปัจจุบันนี้มีข้อมูลไม่เพียงพอทำให้ยากแก่การวิเคราะห์ข้อมูล
ข้าพเจ้าจึงมีแนวความคิดในการพัฒนาระบบการเฝ้าระวังการโจรกรรมรถจักรยานยนต์ เพื่อเป็นการสร้างฐานข้อมูลเบื้องต้นให้กับเจ้าหน้าที่ตำรวจได้ตรวจสอบข้อมูลได้รวดเร็วมากขึ้น และยังเป็นการนำเทคโนโลยีมาปรับใช้ในองค์กรในระดับสถานีตำรวจให้เข้ากับสภาพอาชญากรรมในสังคมปัจจุบัน โดยการนำแผนที่จาก Google Maps ไปใช้ในการกำหนดจุดพิกัดสถานที่เกิดเหตุซึ่งรถถูกโจรกรรมในพื้นที่นั้นๆ เพื่อความสะดวก รวดเร็ว ต่อการสืบค้นข้อมูลสถานที่เกิดเหตุ และเพื่อให้ผู้มีหน้าที่เกี่ยวข้องจะได้ทราบข้อมูลพื้นที่ ลักษณะพื้นฐานของการโจรกรรมเบื้องต้นของคนร้าย นำมาซึ่งการวางมาตรการป้องกันและจับกุมต่อไป ซึ่งจากผลการทดสอบระบบการเฝ้าระวังการโจรกรรมรถจักรยานยนต์ของผู้ได้นำใช้แต่ละสายงานได้ผลปรากฏตามเอกสารที่แนบท้ายบท
Curricular : MSIT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24292 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000590735 SIU IS-T: SOIT-MSIT-2014-01 c.1 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available SIU THE-T. ปัจจัยการป้องกันการโจรกรรมรถยนต์ พื้นที่รับผิดชอบกองบัญชาการตำรวจนครบาล / สัมฤทธิ์ กระสังข์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2020
Collection Title: SIU THE-T Title : ปัจจัยการป้องกันการโจรกรรมรถยนต์ พื้นที่รับผิดชอบกองบัญชาการตำรวจนครบาล Original title : Vehicle Theft Prevention Factors Responsible Area Metropolitan Police Bureau Material Type: printed text Authors: สัมฤทธิ์ กระสังข์, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2020 Pagination: xi, 139 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-09
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]โจรกรรมรถยนต์ -- การป้องกัน Keywords: การป้องกัน,
การโจรกรรมรถยนต์,
การปฏิบัติตามยุทธศาสตร์,
ปัจจัยการป้องกันAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับปัจจัยแวดล้อมปัจเจกบุคคล ปัจจัยภายในองค์การ และปัจจัยเชิงนโยบายของการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์การป้องกันการโจรกรรมรถยนต์ พื้นที่รับผิดชอบกองบัญชาการตำรวจนครบาล 2) ศึกษาความสัมระหว่างปัจจัยแวดล้อมของปัจเจกบุคคล ปัจจัยภายในองค์การ และปัจจัยเชิงนโยบายในการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์การป้องกันการโจรกรรมรถยนต์ พื้นที่รับผิดชอบกองบัญชาการตำรวจนครบาล 3) ศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์การป้องกันการโจรกรรมรถยนต์ พื้นที่รับผิดชอบกองบัญชาการตำรวจนครบาล ใช้ระเบียบวิจัยแบบผสานวิธี คือการวิจัยเชิงปริมาณ และวิจัยเชิงคุณภาพ ประชากร ได้แก่ เจ้าหน้าที่ตำรวจจากกองบังคับการตำรวจนครบาล 1-9 รวมทั้งหมด 26,750 คน คำนวนกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีของ Yamane (1997) ได้กลุ่มตัวอย่าง 400 คน และผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จำนวน 9 คน ใช้การสัมภาษณ์เชิงลึก และทำการวิเคราะห์เนื้อหา สถิติเชิงพรรณาที่ใช้คือ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และใช้การวิเคราะห์สมการถดถอยเชิงพหุคูณ การหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียรสัน
ผลการวิจัย พบว่า
1) ระดับปัจจัยโดยภาพรวมมีค่าในระดับมากทั้ง 3 ปัจจัย คือ ปัจจัยเชิงนโยบาย มีค่าความสำคัญเท่ากับ 3.67 รองลงมาคือ ปัจจัยแวดล้อมของปัจเจกบุคคล มีค่าความสำคัญเท่ากับ 3.55 และปัจจัยภายในองค์การ มีค่าความสำคัญเท่ากับ 3.46
2) ปัจจัยแวดล้อมของปัจเจกบุคคล ตัวแปรมีค่าสัมประสิทธ์สหสัมพันธ์สูงสุด คือ ด้านครอบครัว และสังคม ด้านสิ่งแวดล้อม และด้านเศรษฐกิจ มีค่า (r=0.67, r=0.52 และ r=0.40) ตามลำดับ ปัจจัยภายในองค์การ ตัวแปรมีค่าสัมประสิทธ์สหสัมพันธ์สูงสุด คือ ด้านการให้ความร่วมมือในการปฏิบัติงาน (r=0.90) และตัวแปรค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ต่ำสุด คือ ด้านวัฒนธรรมองค์การ (r=0.019) ปัจจัยเชิงนโยบาย ตัวแปรมีค่าสัมประสิทธ์สหสัมพันธ์สูงสุด คือ ด้านการวางแผนและการควบคุม (r=0.80) และตัวแปรมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ต่ำสุด คือ ด้านระบบการวัดผล (r=0.80)
3) ปัจจัยแวดล้อมของปัจเจกบุคคลตัวแปรที่ส่งผล คือ ด้านครอบครัว และสังคม ปัจจัยภายในองค์การตัวแปรที่ส่งผลคือ ด้านการประชาสัมพันธ์ และเผยแพร่ข้อมูล และปัจจัยเชิงนโยบายมีตัว 5 ตัวแปรที่ส่งผล ได้แก่ ด้านการวางแผนและการควบคุม ด้านการกำหนดภารกิจ และมอบหมายงาน ด้านวัตถุประสงค์ของนโยบาย ด้านมาตรฐานการให้คุณ-โทษ และด้านมาตรฐานการปฏิบัติงานCurricular : MPA/DPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28107 SIU THE-T. ปัจจัยการป้องกันการโจรกรรมรถยนต์ พื้นที่รับผิดชอบกองบัญชาการตำรวจนครบาล = Vehicle Theft Prevention Factors Responsible Area Metropolitan Police Bureau [printed text] / สัมฤทธิ์ กระสังข์, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020 . - xi, 139 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-09
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]โจรกรรมรถยนต์ -- การป้องกัน Keywords: การป้องกัน,
การโจรกรรมรถยนต์,
การปฏิบัติตามยุทธศาสตร์,
ปัจจัยการป้องกันAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับปัจจัยแวดล้อมปัจเจกบุคคล ปัจจัยภายในองค์การ และปัจจัยเชิงนโยบายของการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์การป้องกันการโจรกรรมรถยนต์ พื้นที่รับผิดชอบกองบัญชาการตำรวจนครบาล 2) ศึกษาความสัมระหว่างปัจจัยแวดล้อมของปัจเจกบุคคล ปัจจัยภายในองค์การ และปัจจัยเชิงนโยบายในการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์การป้องกันการโจรกรรมรถยนต์ พื้นที่รับผิดชอบกองบัญชาการตำรวจนครบาล 3) ศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์การป้องกันการโจรกรรมรถยนต์ พื้นที่รับผิดชอบกองบัญชาการตำรวจนครบาล ใช้ระเบียบวิจัยแบบผสานวิธี คือการวิจัยเชิงปริมาณ และวิจัยเชิงคุณภาพ ประชากร ได้แก่ เจ้าหน้าที่ตำรวจจากกองบังคับการตำรวจนครบาล 1-9 รวมทั้งหมด 26,750 คน คำนวนกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีของ Yamane (1997) ได้กลุ่มตัวอย่าง 400 คน และผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จำนวน 9 คน ใช้การสัมภาษณ์เชิงลึก และทำการวิเคราะห์เนื้อหา สถิติเชิงพรรณาที่ใช้คือ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และใช้การวิเคราะห์สมการถดถอยเชิงพหุคูณ การหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียรสัน
ผลการวิจัย พบว่า
1) ระดับปัจจัยโดยภาพรวมมีค่าในระดับมากทั้ง 3 ปัจจัย คือ ปัจจัยเชิงนโยบาย มีค่าความสำคัญเท่ากับ 3.67 รองลงมาคือ ปัจจัยแวดล้อมของปัจเจกบุคคล มีค่าความสำคัญเท่ากับ 3.55 และปัจจัยภายในองค์การ มีค่าความสำคัญเท่ากับ 3.46
2) ปัจจัยแวดล้อมของปัจเจกบุคคล ตัวแปรมีค่าสัมประสิทธ์สหสัมพันธ์สูงสุด คือ ด้านครอบครัว และสังคม ด้านสิ่งแวดล้อม และด้านเศรษฐกิจ มีค่า (r=0.67, r=0.52 และ r=0.40) ตามลำดับ ปัจจัยภายในองค์การ ตัวแปรมีค่าสัมประสิทธ์สหสัมพันธ์สูงสุด คือ ด้านการให้ความร่วมมือในการปฏิบัติงาน (r=0.90) และตัวแปรค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ต่ำสุด คือ ด้านวัฒนธรรมองค์การ (r=0.019) ปัจจัยเชิงนโยบาย ตัวแปรมีค่าสัมประสิทธ์สหสัมพันธ์สูงสุด คือ ด้านการวางแผนและการควบคุม (r=0.80) และตัวแปรมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ต่ำสุด คือ ด้านระบบการวัดผล (r=0.80)
3) ปัจจัยแวดล้อมของปัจเจกบุคคลตัวแปรที่ส่งผล คือ ด้านครอบครัว และสังคม ปัจจัยภายในองค์การตัวแปรที่ส่งผลคือ ด้านการประชาสัมพันธ์ และเผยแพร่ข้อมูล และปัจจัยเชิงนโยบายมีตัว 5 ตัวแปรที่ส่งผล ได้แก่ ด้านการวางแผนและการควบคุม ด้านการกำหนดภารกิจ และมอบหมายงาน ด้านวัตถุประสงค์ของนโยบาย ด้านมาตรฐานการให้คุณ-โทษ และด้านมาตรฐานการปฏิบัติงานCurricular : MPA/DPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28107 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607327 SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-09 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available 32002000607330 SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-09 c.2 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available SET Collection. หลักการลงทุนและป้องกันความเสี่ยงด้วย / อาณัติ ลีมัคเดช / กรุงเทพฯ : ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย - 2556
Collection Title: SET Collection Title : หลักการลงทุนและป้องกันความเสี่ยงด้วย : ตราสารอนุพันธ์ทางการเงิน Material Type: printed text Authors: อาณัติ ลีมัคเดช, Author Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 2. Publisher: กรุงเทพฯ : ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย Publication Date: 2556 Pagination: 500 หน้า Layout: ภาพประกอบ. Size: 25 ซม. ISBN (or other code): 978-6-16-722761-0 Price: บริจาค. (590.00) Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การลงทุน
[LCSH]การลงทุน -- การวิเคราะห์
[LCSH]สัญญาสิทธิ
[LCSH]อนุพันธ์ทางการเงินKeywords: อนุพันธ์ทางการเงิน.
สัญญาสิทธิ.
การป้องกันความเสี่ยง.
การลงทุนClass number: HG6024.A3 อ624ห 2556 Curricular : BBA/GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23857 SET Collection. หลักการลงทุนและป้องกันความเสี่ยงด้วย : ตราสารอนุพันธ์ทางการเงิน [printed text] / อาณัติ ลีมัคเดช, Author . - พิมพ์ครั้งที่ 2. . - กรุงเทพฯ : ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย, 2556 . - 500 หน้า : ภาพประกอบ. ; 25 ซม.
ISBN : 978-6-16-722761-0 : บริจาค. (590.00)
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การลงทุน
[LCSH]การลงทุน -- การวิเคราะห์
[LCSH]สัญญาสิทธิ
[LCSH]อนุพันธ์ทางการเงินKeywords: อนุพันธ์ทางการเงิน.
สัญญาสิทธิ.
การป้องกันความเสี่ยง.
การลงทุนClass number: HG6024.A3 อ624ห 2556 Curricular : BBA/GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23857 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000397487 HG6024.A3 อ624ห 2556 Book Main Library SET Corner Available SIU THE-T. การบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 / วิศิษฎ์ แดนโพธิ์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2019
Collection Title: SIU THE-T Title : การบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 Original title : Police Administration in Prevention and Suppression of Human Trafficking of Provincial Police Region 5 Material Type: printed text Authors: วิศิษฎ์ แดนโพธิ์, Author ; พิภพ วชังเงิน, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2019 Pagination: ix, 137 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-03
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การค้ามนุษย์ -- การป้องกันและควบคุม -- วิจัย
[LCSH]การบริหารงานตำรวจKeywords: การบริหารงานตำรวจ,
การป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษ (1) สมรรถนะองค์การในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 (2) พฤติกรรมการบริหารจัดการองค์การในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 (3) การบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 (4) ความสัมพันธ์ระหว่างสมรรถนะองค์การและพฤติกรรมการบริหารจัดการองค์การกับการบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 (5) สมรรถนะองค์การและพฤติกรรมการบริหารจัดการองค์การที่มีผลต่อการบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 และ (6) ปัญหาและอุปสรรคในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5
การศึกษาครั้งนี้ ใช้วิธีการวิจัยแบบผสานวิธี ประชากร ประกอบด้วย (1) ประชาการที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเชิงปริมาณ ได้แก่ เจ้าหน้าที่ตำรวจในสังกัดกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 จำนวน 16,234 คน เลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้น กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางของเครจซี่และมอร์แกน ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 445 คน และ (2) ผู้ให้ข้อมูลในการสัมภาษณ์เชิงลึก ได้แก่ ผู้บังคับการตำรวจภูธรจังหวัด รองผู้บังคับการตำรวจภูธรจังหวัด ในสังกัดกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 รวม 16 คน เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์เชิงลึก วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ ใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ การวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สันและการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ วิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพใช้การวิเคราะห์เนื้อหา
ผลการวิจัยพบว่า (1) สมรรถนะองค์การในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกอง บัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 อยู่ในระดับปานกลาง ( = 3.39, SD = 0.49) (2) พฤติกรรมการบริหารจัดการองค์การในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 อยู่ในระดับมาก ( = 3.79, SD = 0.50) (3) การบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 อยู่ในระดับปานกลาง ( = 3.19, SD = 0.48) (4) สมรรถนะองค์การและพฤติกรรมการบริหารจัดการองค์การมีความสัมพันธ์ทางบวกกับการบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .01 (5) สมรรถนะองค์การและพฤติกรรมการบริหารจัดการองค์การ มีผลต่อการบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ในเชิงบวกที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .01 โดยสามารถร่วมกันพยากรณ์การบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ ได้ร้อยละ 53.6 และ (6) ปัญหาและอุปสรรคในการปฏิบัติงานการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ ได้แก่ 1) การขาดแคลนงบประมาณและกำลังพลที่ไม่เพียงพอ 2) เจ้าหน้าที่ตำรวจขาดความรู้ ความเข้าใจในข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการค้ามนุษย์
3) ขาดหน่วยงานที่รับผิดชอบโดยตรงและขาดการประสานงานหรือความร่วมมือจากภาคส่วนต่าง ๆ และ 4) ปัญหาในการสื่อสารโดยใช้ภาษาสากลเนื่องจากการค้ามนุษย์มักจะเป็นการกระทำความผิดเกี่ยวเนื่องระหว่างประเทศCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27941 SIU THE-T. การบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 = Police Administration in Prevention and Suppression of Human Trafficking of Provincial Police Region 5 [printed text] / วิศิษฎ์ แดนโพธิ์, Author ; พิภพ วชังเงิน, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019 . - ix, 137 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-03
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การค้ามนุษย์ -- การป้องกันและควบคุม -- วิจัย
[LCSH]การบริหารงานตำรวจKeywords: การบริหารงานตำรวจ,
การป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษ (1) สมรรถนะองค์การในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 (2) พฤติกรรมการบริหารจัดการองค์การในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 (3) การบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 (4) ความสัมพันธ์ระหว่างสมรรถนะองค์การและพฤติกรรมการบริหารจัดการองค์การกับการบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 (5) สมรรถนะองค์การและพฤติกรรมการบริหารจัดการองค์การที่มีผลต่อการบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 และ (6) ปัญหาและอุปสรรคในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5
การศึกษาครั้งนี้ ใช้วิธีการวิจัยแบบผสานวิธี ประชากร ประกอบด้วย (1) ประชาการที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเชิงปริมาณ ได้แก่ เจ้าหน้าที่ตำรวจในสังกัดกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 จำนวน 16,234 คน เลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้น กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางของเครจซี่และมอร์แกน ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 445 คน และ (2) ผู้ให้ข้อมูลในการสัมภาษณ์เชิงลึก ได้แก่ ผู้บังคับการตำรวจภูธรจังหวัด รองผู้บังคับการตำรวจภูธรจังหวัด ในสังกัดกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 รวม 16 คน เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์เชิงลึก วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ ใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ การวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สันและการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ วิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพใช้การวิเคราะห์เนื้อหา
ผลการวิจัยพบว่า (1) สมรรถนะองค์การในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกอง บัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 อยู่ในระดับปานกลาง ( = 3.39, SD = 0.49) (2) พฤติกรรมการบริหารจัดการองค์การในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 อยู่ในระดับมาก ( = 3.79, SD = 0.50) (3) การบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 อยู่ในระดับปานกลาง ( = 3.19, SD = 0.48) (4) สมรรถนะองค์การและพฤติกรรมการบริหารจัดการองค์การมีความสัมพันธ์ทางบวกกับการบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .01 (5) สมรรถนะองค์การและพฤติกรรมการบริหารจัดการองค์การ มีผลต่อการบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ในเชิงบวกที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .01 โดยสามารถร่วมกันพยากรณ์การบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ ได้ร้อยละ 53.6 และ (6) ปัญหาและอุปสรรคในการปฏิบัติงานการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ ได้แก่ 1) การขาดแคลนงบประมาณและกำลังพลที่ไม่เพียงพอ 2) เจ้าหน้าที่ตำรวจขาดความรู้ ความเข้าใจในข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการค้ามนุษย์
3) ขาดหน่วยงานที่รับผิดชอบโดยตรงและขาดการประสานงานหรือความร่วมมือจากภาคส่วนต่าง ๆ และ 4) ปัญหาในการสื่อสารโดยใช้ภาษาสากลเนื่องจากการค้ามนุษย์มักจะเป็นการกระทำความผิดเกี่ยวเนื่องระหว่างประเทศCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27941 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607994 SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-03 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. การมีส่วนร่วมของประชาชนในการป้องกันอาชญากรรมเชิงรุกในเขตพื้นที่สถานีภูธรห้วยกระเจา อำเภอห้วยกระเจา จังหวัดกาญจนบุรี / พันธุ์ไทย ปรัชญาวงศ์ชัย / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU IS-T Title : การมีส่วนร่วมของประชาชนในการป้องกันอาชญากรรมเชิงรุกในเขตพื้นที่สถานีภูธรห้วยกระเจา อำเภอห้วยกระเจา จังหวัดกาญจนบุรี Original title : The Participation of the Public in Crime Prevention, Proactive in the Area of Police Station Huay Krajao Huay Krajao District, Kanchanaburi Provice Material Type: printed text Authors: พันธุ์ไทย ปรัชญาวงศ์ชัย, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; สมชาย รัตนโกมุท, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: x, 76 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-27
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]กาญจนบุรี -- ประชากร
[LCSH]การป้องกันอาชญากรรม -- การมีส่วนร่วมของประชาชน -- กาญจนบุรี
[LCSH]อาชญากรรม -- การป้องกันKeywords: การมีส่วนร่วมของประชาชน,
การป้องกันอาชญากรรมเชิงรุก,
สถานีตำรวจภูธรห้วยกระเจา,
จังหวัดกาญจนบุรีCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26623 SIU IS-T. การมีส่วนร่วมของประชาชนในการป้องกันอาชญากรรมเชิงรุกในเขตพื้นที่สถานีภูธรห้วยกระเจา อำเภอห้วยกระเจา จังหวัดกาญจนบุรี = The Participation of the Public in Crime Prevention, Proactive in the Area of Police Station Huay Krajao Huay Krajao District, Kanchanaburi Provice [printed text] / พันธุ์ไทย ปรัชญาวงศ์ชัย, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; สมชาย รัตนโกมุท, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - x, 76 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-27
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]กาญจนบุรี -- ประชากร
[LCSH]การป้องกันอาชญากรรม -- การมีส่วนร่วมของประชาชน -- กาญจนบุรี
[LCSH]อาชญากรรม -- การป้องกันKeywords: การมีส่วนร่วมของประชาชน,
การป้องกันอาชญากรรมเชิงรุก,
สถานีตำรวจภูธรห้วยกระเจา,
จังหวัดกาญจนบุรีCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26623 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000592723 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-27 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000592699 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-27 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. การมีส่วนร่วมของประชาชนในงานตำรวจชุมชนและมวลชนสัมพันธ์ในการป้องกันอาชญากรรม กรณีศึกษา พื้นที่รับผิดชอบของสถานีตำรวจภูธรรัตนาธิเบศร์ / ไพรริน โมศิริ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : การมีส่วนร่วมของประชาชนในงานตำรวจชุมชนและมวลชนสัมพันธ์ในการป้องกันอาชญากรรม กรณีศึกษา พื้นที่รับผิดชอบของสถานีตำรวจภูธรรัตนาธิเบศร์ Original title : People Participation in Police’s Community Relations and Crime Prevention Jobs: A Case of Ratanatibet Provincial Police Station Material Type: printed text Authors: ไพรริน โมศิริ, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: vii, 57 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-32
Independent Study [MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การป้องกันอาชญากรรม -- นนทบุรี -- รัตนาธิเบศร์
[LCSH]ตำรวจชุมชน
[LCSH]พลเมือง -- การมีส่วนร่วมKeywords: การมีส่วนร่วม,
ชุมชน,
การป้องกัน,
ตำรวจAbstract: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาระดับ ปัญหา และอุปสรรค ในการมีส่วนร่วมของประชาชน และศึกษาแนวทางการพัฒนาการมีส่วนร่วมของประชาชนในงานตำรวจชุมชนและมวลชนสัมพันธ์ ในการป้องกันปัญหาอาชญากรรมในพื้นที่รับผิดชอบของสถานีตำรวจภูธรรัตนาธิเบศร์ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ ประชาชนที่อาศัยอยู่ในตำบลบางกระสอ อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี เขตพื้นที่ของสถานีตำรวจภูธรรัตนาธิเบศร์ จำนวน 400 คน ใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูลและใช้สถิติเชิงพรรณาในการวิเคราะห์ข้อมูล
ผลการวิจัย พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุตั้งแต่ 31 - 40 ปี สถานภาพโสด มีระดับการศึกษาในปริญญาตรี มีอาชีพเป็นพนักงานบริษัทเอกชน มีรายได้เฉลี่ย 15,000 ถึง 20,000 บาท ต่อเดือน พักอาศัยอยู่ในชุมชน 6 - 10 ปี พักอาศัยเป็นแฟลตหรืออพาร์ทเมนต์ โดยกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ไม่เคยมีประสบการณ์การตกเป็นเหยื่ออาชญากรรม นอกจากนี้ผลการวิเคราะห์ข้อมูลการมีส่วนร่วมของประชาชนยัง พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีส่วนร่วมโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ประชาชนผู้ตอบแบบสอบถามมีส่วนร่วมสูงที่สุดตามค่าเฉลี่ย คือ ด้านการวางแผนซึ่งอยู่ในระดับปานกลาง รองลงมาคือการมีส่วนร่วมด้านการปฏิบัติงาน และการมีส่วนร่วมด้านการประเมินผล เลียงตามลำดับ ส่วนด้านปัญหาและอุปสรรคในการมีส่วนร่วมของประชาชนงานตำรวจชุมชนและมวลชนสัมพันธ์พบว่าอยู่ในระดับปานกลางCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27276 SIU IS-T. การมีส่วนร่วมของประชาชนในงานตำรวจชุมชนและมวลชนสัมพันธ์ในการป้องกันอาชญากรรม กรณีศึกษา พื้นที่รับผิดชอบของสถานีตำรวจภูธรรัตนาธิเบศร์ = People Participation in Police’s Community Relations and Crime Prevention Jobs: A Case of Ratanatibet Provincial Police Station [printed text] / ไพรริน โมศิริ, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - vii, 57 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-32
Independent Study [MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การป้องกันอาชญากรรม -- นนทบุรี -- รัตนาธิเบศร์
[LCSH]ตำรวจชุมชน
[LCSH]พลเมือง -- การมีส่วนร่วมKeywords: การมีส่วนร่วม,
ชุมชน,
การป้องกัน,
ตำรวจAbstract: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาระดับ ปัญหา และอุปสรรค ในการมีส่วนร่วมของประชาชน และศึกษาแนวทางการพัฒนาการมีส่วนร่วมของประชาชนในงานตำรวจชุมชนและมวลชนสัมพันธ์ ในการป้องกันปัญหาอาชญากรรมในพื้นที่รับผิดชอบของสถานีตำรวจภูธรรัตนาธิเบศร์ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ ประชาชนที่อาศัยอยู่ในตำบลบางกระสอ อำเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี เขตพื้นที่ของสถานีตำรวจภูธรรัตนาธิเบศร์ จำนวน 400 คน ใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูลและใช้สถิติเชิงพรรณาในการวิเคราะห์ข้อมูล
ผลการวิจัย พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุตั้งแต่ 31 - 40 ปี สถานภาพโสด มีระดับการศึกษาในปริญญาตรี มีอาชีพเป็นพนักงานบริษัทเอกชน มีรายได้เฉลี่ย 15,000 ถึง 20,000 บาท ต่อเดือน พักอาศัยอยู่ในชุมชน 6 - 10 ปี พักอาศัยเป็นแฟลตหรืออพาร์ทเมนต์ โดยกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ไม่เคยมีประสบการณ์การตกเป็นเหยื่ออาชญากรรม นอกจากนี้ผลการวิเคราะห์ข้อมูลการมีส่วนร่วมของประชาชนยัง พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีส่วนร่วมโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ประชาชนผู้ตอบแบบสอบถามมีส่วนร่วมสูงที่สุดตามค่าเฉลี่ย คือ ด้านการวางแผนซึ่งอยู่ในระดับปานกลาง รองลงมาคือการมีส่วนร่วมด้านการปฏิบัติงาน และการมีส่วนร่วมด้านการประเมินผล เลียงตามลำดับ ส่วนด้านปัญหาและอุปสรรคในการมีส่วนร่วมของประชาชนงานตำรวจชุมชนและมวลชนสัมพันธ์พบว่าอยู่ในระดับปานกลางCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27276 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000595056 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-32 c.1 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000595064 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-32 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available SIU IS-T. การมีส่วนร่วมของอาสาสมัครตำรวจบ้านในการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรม กรณีศึกษาสถานีตำรวจภูธรเมืองสุราษฎร์ธานี / ศราวุฒิ ดีทองอ่อน / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU IS-T Title : การมีส่วนร่วมของอาสาสมัครตำรวจบ้านในการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรม กรณีศึกษาสถานีตำรวจภูธรเมืองสุราษฎร์ธานี Original title : Community Volunteer Police’s Participation in Crime Suppression: The Case of Mueang Surat Thani Police Station Material Type: printed text Authors: ศราวุฒิ ดีทองอ่อน, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; สมพร เพชรสงค์, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: vii, 78 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-33
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การมีส่วนร่วม
[LCSH]อาชญากรรม -- การป้องกันKeywords: การมีส่วนร่วม,
การป้องกันและปราบปรามอาชญากรรม,
อาสาสมัครตำรวจบ้านAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับการมีส่วนร่วม และเพื่อเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมของอาสาสมัครตำรวจบ้านในการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรม : กรณีศึกษาสถานีตำรวจภูธรเมืองสุราษฏร์ธานี จำแนกตามอายุ ระดับการศึกษา และระยะเวลาในการเป็นอาสาสมัครตำรวจบ้าน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ อาสาสมัครตำรวจบ้านทั้งหมดของสถานีตำรวจภูธรเมืองสุราษฏร์ธานีจำนวน 360 คน ใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติเชิงพรรณนาที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และใช้การทดสอบค่า F-test และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-Way ANOVA) ในการทดสอบสมมุติฐาน
ผลการวิจัย พบว่า การมีส่วนร่วมของอาสาสมัครตำรวจบ้านในการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรมในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า การปฏิบัติงานตามแผนที่กำหนดมีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมาคือการมีส่วนร่วม การประเมินผลการปฏิบัติงาน การมีส่วนร่วมในการปรับปรุงแผนการทำงาน และการวางแผนการปฏิบัติงาน ตามลำดับ ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบระดับการมีส่วนร่วมจำแนกตามอายุ ระดับการศึกษา และระยะเวลาในการเป็นอาสาสมัครตำรวจบ้าน พบว่า โดยรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน
Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26949 SIU IS-T. การมีส่วนร่วมของอาสาสมัครตำรวจบ้านในการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรม กรณีศึกษาสถานีตำรวจภูธรเมืองสุราษฎร์ธานี = Community Volunteer Police’s Participation in Crime Suppression: The Case of Mueang Surat Thani Police Station [printed text] / ศราวุฒิ ดีทองอ่อน, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; สมพร เพชรสงค์, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - vii, 78 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-33
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การมีส่วนร่วม
[LCSH]อาชญากรรม -- การป้องกันKeywords: การมีส่วนร่วม,
การป้องกันและปราบปรามอาชญากรรม,
อาสาสมัครตำรวจบ้านAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับการมีส่วนร่วม และเพื่อเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมของอาสาสมัครตำรวจบ้านในการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรม : กรณีศึกษาสถานีตำรวจภูธรเมืองสุราษฏร์ธานี จำแนกตามอายุ ระดับการศึกษา และระยะเวลาในการเป็นอาสาสมัครตำรวจบ้าน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ อาสาสมัครตำรวจบ้านทั้งหมดของสถานีตำรวจภูธรเมืองสุราษฏร์ธานีจำนวน 360 คน ใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติเชิงพรรณนาที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และใช้การทดสอบค่า F-test และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-Way ANOVA) ในการทดสอบสมมุติฐาน
ผลการวิจัย พบว่า การมีส่วนร่วมของอาสาสมัครตำรวจบ้านในการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรมในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า การปฏิบัติงานตามแผนที่กำหนดมีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมาคือการมีส่วนร่วม การประเมินผลการปฏิบัติงาน การมีส่วนร่วมในการปรับปรุงแผนการทำงาน และการวางแผนการปฏิบัติงาน ตามลำดับ ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบระดับการมีส่วนร่วมจำแนกตามอายุ ระดับการศึกษา และระยะเวลาในการเป็นอาสาสมัครตำรวจบ้าน พบว่า โดยรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน
Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26949 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000594273 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-33 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000594265 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-33 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. การศึกษาการนำนโยบายการป้องกันอุบัติเหตุจากจราจรทางบกไปปฏิบัติ ในสถานีตำรวจนครบาลบางชัน / วุฒิชัย ธรรมมิยะ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : การศึกษาการนำนโยบายการป้องกันอุบัติเหตุจากจราจรทางบกไปปฏิบัติ ในสถานีตำรวจนครบาลบางชัน Original title : A Study of Implementation of Land Transportation Accident Prevention Policy Practice at Bang Chan Metropolitan Police Station Material Type: printed text Authors: วุฒิชัย ธรรมมิยะ, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: vi, 70 น. Layout: ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-39
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]อุบัติเหตุ -- การป้องกัน Keywords: นโยบาย,
การป้องกัน,
อุบัติเหตุAbstract: การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการดำเนินงาน ปัญหาและอุปสรรคในการนำนโยบายป้องกันอุบัติเหตุจากจราจรทางบกไปปฏิบัติในสถานีตำรวจนครบาลบางชัน เป็นการในเชิงคุณภาพ (qualitative research) เก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงจากตำรวจที่ทำงานที่สถานีตำรวจบางรักด้วยการสัมภาษณ์ เชิงลึก วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา
ผลจากการศึกษา พบว่า นโยบายการป้องกันอุบัติเหตุจากจราจรทางบกไปปฏิบัติเป็นนโยบายที่มาจากสำนักงานตำรวจแห่งชาติ จึงมีแนวทางการปฏิบัติตามนโยบายจึงมีส่วนคล้ายกันทั่วประเทศ ยกเว้นเขตสถานีตำรวจไหนที่มีความเสี่ยงมากก็จะมีโครงการต่างๆ เพิ่มขึ้น ซึ่งทางสำนักงานตำรวจแห่งชาติให้อำนาจแก่สถานีตำรวจต่างๆ อยู่แล้ว การดำเนินตามนโยบายการป้องกันอุบัติเหตุจากจราจรทางบกไปปฏิบัติในสถานีตำรวจนครบาลบางชัน ได้ปฏิบัติตามนโยบายของสำนักงานตำรวจแห่งชาติอย่างเคร่งครัดโดยมีโครงการต่างๆ ทั้งโครงการที่มาจากสำนักงานตำรวจแห่งชาติและโครงการที่สถานีตำรวจนครบาลบางชันจัดขึ้น ส่วนอุปสรรคในการนำนโยบายการป้องกันอุบัติเหตุจากจราจรทางบกไปปฏิบัติ ส่วนใหญ่เกิดจากงบประมาณมีน้อย การจัดซื้ออุปกรณ์ต่างๆ ที่นำมาใช้ในการปฏิบัติหน้าที่ไม่ได้มาตรฐาน เพราะอุปกรณ์พวกนี้ทางสถานีไม่ได้จัดซื้อเอง เจ้าหน้าที่ขาดทักษะในการ ใช้งาน ขาดการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับอุปกรณ์ที่ได้มาใหม่ นอกจากนี้แนวทางในการแก้ไขปัญหาการป้องกันอุบัติเหตุจากจราจรทางบกไปปฏิบัติในสถานีตำรวจนครบาลบางชัน พบว่าควรมีการจัดป้ายประชาสัมพันธ์ เพื่อลดอุบัติเหตุ ประชาสัมพันธ์ ให้ประชาชนทราบทุกวัน การอบรมเรื่องวินัยจราจร ตามโรงเรียนต่างๆ จะชวยแก้ปัญหาได้Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27266 SIU IS-T. การศึกษาการนำนโยบายการป้องกันอุบัติเหตุจากจราจรทางบกไปปฏิบัติ ในสถานีตำรวจนครบาลบางชัน = A Study of Implementation of Land Transportation Accident Prevention Policy Practice at Bang Chan Metropolitan Police Station [printed text] / วุฒิชัย ธรรมมิยะ, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - vi, 70 น. : ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-39
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]อุบัติเหตุ -- การป้องกัน Keywords: นโยบาย,
การป้องกัน,
อุบัติเหตุAbstract: การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการดำเนินงาน ปัญหาและอุปสรรคในการนำนโยบายป้องกันอุบัติเหตุจากจราจรทางบกไปปฏิบัติในสถานีตำรวจนครบาลบางชัน เป็นการในเชิงคุณภาพ (qualitative research) เก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงจากตำรวจที่ทำงานที่สถานีตำรวจบางรักด้วยการสัมภาษณ์ เชิงลึก วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา
ผลจากการศึกษา พบว่า นโยบายการป้องกันอุบัติเหตุจากจราจรทางบกไปปฏิบัติเป็นนโยบายที่มาจากสำนักงานตำรวจแห่งชาติ จึงมีแนวทางการปฏิบัติตามนโยบายจึงมีส่วนคล้ายกันทั่วประเทศ ยกเว้นเขตสถานีตำรวจไหนที่มีความเสี่ยงมากก็จะมีโครงการต่างๆ เพิ่มขึ้น ซึ่งทางสำนักงานตำรวจแห่งชาติให้อำนาจแก่สถานีตำรวจต่างๆ อยู่แล้ว การดำเนินตามนโยบายการป้องกันอุบัติเหตุจากจราจรทางบกไปปฏิบัติในสถานีตำรวจนครบาลบางชัน ได้ปฏิบัติตามนโยบายของสำนักงานตำรวจแห่งชาติอย่างเคร่งครัดโดยมีโครงการต่างๆ ทั้งโครงการที่มาจากสำนักงานตำรวจแห่งชาติและโครงการที่สถานีตำรวจนครบาลบางชันจัดขึ้น ส่วนอุปสรรคในการนำนโยบายการป้องกันอุบัติเหตุจากจราจรทางบกไปปฏิบัติ ส่วนใหญ่เกิดจากงบประมาณมีน้อย การจัดซื้ออุปกรณ์ต่างๆ ที่นำมาใช้ในการปฏิบัติหน้าที่ไม่ได้มาตรฐาน เพราะอุปกรณ์พวกนี้ทางสถานีไม่ได้จัดซื้อเอง เจ้าหน้าที่ขาดทักษะในการ ใช้งาน ขาดการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับอุปกรณ์ที่ได้มาใหม่ นอกจากนี้แนวทางในการแก้ไขปัญหาการป้องกันอุบัติเหตุจากจราจรทางบกไปปฏิบัติในสถานีตำรวจนครบาลบางชัน พบว่าควรมีการจัดป้ายประชาสัมพันธ์ เพื่อลดอุบัติเหตุ ประชาสัมพันธ์ ให้ประชาชนทราบทุกวัน การอบรมเรื่องวินัยจราจร ตามโรงเรียนต่างๆ จะชวยแก้ปัญหาได้Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27266 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000594851 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-39 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000594869 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-39 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. การศึกษาเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมของชุมชนในการป้องกันและแก้ไข ปัญหายาเสพติดเทศบาลธาตุทอง อำเภอบ่อทอง จังหวัดชลบุรี / กำพล ถนอมศักดิ์ดำรง / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2014
Collection Title: SIU IS-T Title : การศึกษาเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมของชุมชนในการป้องกันและแก้ไข ปัญหายาเสพติดเทศบาลธาตุทอง อำเภอบ่อทอง จังหวัดชลบุรี Original title : A Comparative Study of Community Participation in Preventing and Solving the Narcotics Problem in Thad Tong Municipal District, Bo Thong District, Chon Buri Province Material Type: printed text Authors: กำพล ถนอมศักดิ์ดำรง, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; วรเดช จันทรศร, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2014 Pagination: vii, 95 หน้า Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-25
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]Narcotics, Control of -- Thailand -- Chon Buri -- Thad Tong
[LCSH]Participation
[LCSH]ชุมชน -- การมีส่วนร่วม
[LCSH]ยาเสพติด -- การป้องกันและการแก้ปัญหาKeywords: การเปรียบเทียบ
การมีส่วนร่วม
การป้องกันและแก้ไขปัญหา
ยาเสพติด
จังหวัดชลบุรีAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมของชุมชนในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพย์ติด Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26106 SIU IS-T. การศึกษาเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมของชุมชนในการป้องกันและแก้ไข ปัญหายาเสพติดเทศบาลธาตุทอง อำเภอบ่อทอง จังหวัดชลบุรี = A Comparative Study of Community Participation in Preventing and Solving the Narcotics Problem in Thad Tong Municipal District, Bo Thong District, Chon Buri Province [printed text] / กำพล ถนอมศักดิ์ดำรง, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; วรเดช จันทรศร, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014 . - vii, 95 หน้า : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-25
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]Narcotics, Control of -- Thailand -- Chon Buri -- Thad Tong
[LCSH]Participation
[LCSH]ชุมชน -- การมีส่วนร่วม
[LCSH]ยาเสพติด -- การป้องกันและการแก้ปัญหาKeywords: การเปรียบเทียบ
การมีส่วนร่วม
การป้องกันและแก้ไขปัญหา
ยาเสพติด
จังหวัดชลบุรีAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบการมีส่วนร่วมของชุมชนในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพย์ติด Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26106 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000590289 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-25 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000590255 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-25 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available 32002000590628 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-25 c.3 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available 32002000591477 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-25 c.4 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. บทบาทในการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดของเจ้าหน้าที่ตำรวจภูธรจังหวัดชุมพร / บุญเกื้อ พูลชัย / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU IS-T Title : บทบาทในการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดของเจ้าหน้าที่ตำรวจภูธรจังหวัดชุมพร Original title : The Roles in Drug Prevention and Suppression of Police Officers in Chumphon Material Type: printed text Authors: บุญเกื้อ พูลชัย, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; สมพร เพชรสงค์, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: ix, 77 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-35
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ความร่วมมือ
[LCSH]ยาเสพติด -- การป้องกัน -- ชุมพรKeywords: การจัดระบบสายตรวจ,
การประสานงานระหว่างภาครัฐและเอกชน,
การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด,
ความร่วมมือจากประชาชนAbstract: การวิจัยครั้งนี้ศึกษาและเปรียบเทียบบทบาทในการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดของเจ้าหน้าที่ตำรวจภูธรจังหวัดชุมพรจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลกลุ่มตัวอย่างที่ใช้คือข้าราชการตำรวจในสถานีตำรวจภูธรจังหวัดชุมพรจำนวน 171 คนใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูลใช้สถิติเชิงพรรณาในการวิเคราะห์ข้อมูลประชากรศาสตร์และพฤติกรรมของผู้ตอบแบบสอบถาม และใช้สถิติเชิงอนุมานโดยการทดสอบค่าที (t-test) และค่า F-test ในการวิเคราะห์ตัวแปรและทดสอบสมมติฐาน ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05
ผลการวิจัยพบว่าบทบาทในการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดของเจ้าหน้าที่ตำรวจภูธรจังหวัดชุมพรอยู่ในระดับปานกลางที่ค่าเฉลี่ย (x̄ = 3.20) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านของบทบาทในการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดของเจ้าหน้าที่ตำรวจการจัดระบบสายตรวจพบว่าการแสวงหาความร่วมมือมีมากสุด ตามด้วยการประสานงานระหว่างภาครัฐและเอกชนการสืบสวนจับกุมและการสอบสวนรวบรวมพยานหลักฐานตามลำดับ ผลการเปรียบเทียบบทบาทในการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดของเจ้าหน้าที่ตำรวจภูธรจังหวัดชุมพรจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลพบว่าเจ้าหน้าที่ตำรวจที่มีปัจจัยส่วนบุคคลแตกต่างกันมีบทบาทในการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดไม่แตกต่างกันCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27145 SIU IS-T. บทบาทในการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดของเจ้าหน้าที่ตำรวจภูธรจังหวัดชุมพร = The Roles in Drug Prevention and Suppression of Police Officers in Chumphon [printed text] / บุญเกื้อ พูลชัย, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; สมพร เพชรสงค์, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - ix, 77 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-35
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ความร่วมมือ
[LCSH]ยาเสพติด -- การป้องกัน -- ชุมพรKeywords: การจัดระบบสายตรวจ,
การประสานงานระหว่างภาครัฐและเอกชน,
การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด,
ความร่วมมือจากประชาชนAbstract: การวิจัยครั้งนี้ศึกษาและเปรียบเทียบบทบาทในการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดของเจ้าหน้าที่ตำรวจภูธรจังหวัดชุมพรจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลกลุ่มตัวอย่างที่ใช้คือข้าราชการตำรวจในสถานีตำรวจภูธรจังหวัดชุมพรจำนวน 171 คนใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูลใช้สถิติเชิงพรรณาในการวิเคราะห์ข้อมูลประชากรศาสตร์และพฤติกรรมของผู้ตอบแบบสอบถาม และใช้สถิติเชิงอนุมานโดยการทดสอบค่าที (t-test) และค่า F-test ในการวิเคราะห์ตัวแปรและทดสอบสมมติฐาน ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05
ผลการวิจัยพบว่าบทบาทในการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดของเจ้าหน้าที่ตำรวจภูธรจังหวัดชุมพรอยู่ในระดับปานกลางที่ค่าเฉลี่ย (x̄ = 3.20) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านของบทบาทในการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดของเจ้าหน้าที่ตำรวจการจัดระบบสายตรวจพบว่าการแสวงหาความร่วมมือมีมากสุด ตามด้วยการประสานงานระหว่างภาครัฐและเอกชนการสืบสวนจับกุมและการสอบสวนรวบรวมพยานหลักฐานตามลำดับ ผลการเปรียบเทียบบทบาทในการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดของเจ้าหน้าที่ตำรวจภูธรจังหวัดชุมพรจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลพบว่าเจ้าหน้าที่ตำรวจที่มีปัจจัยส่วนบุคคลแตกต่างกันมีบทบาทในการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดไม่แตกต่างกันCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27145 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000594307 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-35 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000594315 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-35 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการปฏิบัติงานด้านการป้องกันและปราบปราม ยาเสพติดของเจ้าหน้าที่ตำรวจชุดปราบปรามยาเสพติด สถานีตำรวจภูธรในพื้นที่จังหวัดราชบุรี / พงษ์รวี ค้าทวี / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU IS-T Title : ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการปฏิบัติงานด้านการป้องกันและปราบปราม ยาเสพติดของเจ้าหน้าที่ตำรวจชุดปราบปรามยาเสพติด สถานีตำรวจภูธรในพื้นที่จังหวัดราชบุรี Original title : Factors Affecting to Performance in Eliminating Narcotics Consumption by the Police Narcotics Ad Hoc Provincial Police in Ratchaburi Province Material Type: printed text Authors: พงษ์รวี ค้าทวี, Author ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name ; วรเดช จันทรศร, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: ix, 89 น. Layout: ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-19
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ตำรวจ -- การปฏิบัติงาน
[LCSH]ยาเสพติด -- ราชบุรี -- การป้องกันและควบคุมKeywords: ปัจจัย
ผลกระทบ
การปฏิบัติงาน
การป้องกันและปราบปรามยาเสพติดAbstract: การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด 2) วิเคราะห์ถึงสาเหตุที่ทำให้เกิดปัญหาการดำเนินงาน 3) ศึกษาหาวิธีการแก้ไขสาเหตุของปัจจัยในการดำเนินงานของเจ้าหน้าที่ตำรวจชุดปราบปรามยาเสพติด ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ ข้าราชการตำรวจที่ปฏิบัติหน้าที่ชุดป้องกันและปราบปรามยาเสพติดของสถานีตำรวจภูธรในจังหวัดราชบุรี เพศชาย จำนวน 167 นาย การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ดำเนินการเก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ ได้แก่ ค่าความถี่ร้อยละ ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยระหว่างกลุ่ม 2 กลุ่มด้วย t-test การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวและเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยรายคู่ด้วยวิธี LSD
ผลการวิจัย พบว่า 1. ปัจจัยที่ส่งผลต่อการดำเนินงานเรียงลำดับจากมากไปน้อย ได้แก่ ด้านการติดต่อสื่อสารและการประสานงาน ด้านการวางแผนจัดทรัพยากรที่ต้องการใช้ในการปฏิบัติงาน ด้านสมรรถนะของบุคลากร และด้านงบประมาณและวัสดุอุปกรณ์ในการปฏิบัติงาน ด้านการยอมรับในอำนาจหน้าที่ของผู้ปฏิบัติงาน และด้านเวลาและการจัดสรรทรัพยากร ตามลำดับ 2. สาเหตุที่ทำให้เกิดปัญหาในการทำงานมากที่สุด พบว่า การติดต่อสื่อสารและการประสานงานและด้านการวางแผนจัดทรัพยากรที่ต้องการใช้ในการปฏิบัติงาน 3. ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ อายุ ระดับการศึกษา อายุงาน ชั้นยศ รายได้เฉลี่ยต่อเดือน ระยะเวลาในการปฏิบัติงาน และการเข้ารับการอบรมที่แตกต่างกัน ส่งผลให้ระดับความคิดเห็นต่อปัจจัยที่ส่งผลต่อการดำเนินงานแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
ข้อเสนอแนะในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ 1. การติดต่อสื่อสารและการประสานงาน ผู้บังคับบัญชาควรอธิบายแผนงานที่สั่งการไปยังเจ้าหน้าที่ตำรวจ ถึงวัตถุประสงค์ วิธีการ ผลลัพธ์ที่ต้องการ ตลอดจนรับฟังความคิดเห็น และให้โอกาสเจ้าหน้าที่ตำรวจได้ซักถาม เพื่อให้เจ้าหน้าที่ตำรวจได้
ทำงานด้วยความเข้าใจ มีการติดต่อ ประสานงาน หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการป้องกันปราบปรามยาเสพติด ในรูปแบบการทำงานแบบบูรณาการร่วมกัน 2. การฝึกอบรม ผู้บังคับบัญชาควรจัดการอบรมให้กับเจ้าหน้าที่ตำรวจผู้ปฏิบัติงาน เพื่อให้ทราบวัตถุประสงค์กระบวนการการทำงาน เป็นแนวทางให้แก่ผู้ปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. ด้านการใช้เทคโนโลยี ผู้บังคับบัญชาควรจัดการอบรมการใช้เทคโนโลยีในการปฏิบัติงานให้กับเจ้าหน้าที่ตำรวจผู้ปฏิบัติงาน เพื่อช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพ รวดเร็ว สามารถดูข้อมูลย้อนหลังได้ และมีความเป็นระบบมากยิ่งขึ้นCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26526 SIU IS-T. ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อการปฏิบัติงานด้านการป้องกันและปราบปราม ยาเสพติดของเจ้าหน้าที่ตำรวจชุดปราบปรามยาเสพติด สถานีตำรวจภูธรในพื้นที่จังหวัดราชบุรี = Factors Affecting to Performance in Eliminating Narcotics Consumption by the Police Narcotics Ad Hoc Provincial Police in Ratchaburi Province [printed text] / พงษ์รวี ค้าทวี, Author ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name ; วรเดช จันทรศร, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - ix, 89 น. : ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-19
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ตำรวจ -- การปฏิบัติงาน
[LCSH]ยาเสพติด -- ราชบุรี -- การป้องกันและควบคุมKeywords: ปัจจัย
ผลกระทบ
การปฏิบัติงาน
การป้องกันและปราบปรามยาเสพติดAbstract: การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการป้องกันและปราบปรามยาเสพติด 2) วิเคราะห์ถึงสาเหตุที่ทำให้เกิดปัญหาการดำเนินงาน 3) ศึกษาหาวิธีการแก้ไขสาเหตุของปัจจัยในการดำเนินงานของเจ้าหน้าที่ตำรวจชุดปราบปรามยาเสพติด ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ ข้าราชการตำรวจที่ปฏิบัติหน้าที่ชุดป้องกันและปราบปรามยาเสพติดของสถานีตำรวจภูธรในจังหวัดราชบุรี เพศชาย จำนวน 167 นาย การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ ดำเนินการเก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม และวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ ได้แก่ ค่าความถี่ร้อยละ ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยระหว่างกลุ่ม 2 กลุ่มด้วย t-test การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียวและเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยรายคู่ด้วยวิธี LSD
ผลการวิจัย พบว่า 1. ปัจจัยที่ส่งผลต่อการดำเนินงานเรียงลำดับจากมากไปน้อย ได้แก่ ด้านการติดต่อสื่อสารและการประสานงาน ด้านการวางแผนจัดทรัพยากรที่ต้องการใช้ในการปฏิบัติงาน ด้านสมรรถนะของบุคลากร และด้านงบประมาณและวัสดุอุปกรณ์ในการปฏิบัติงาน ด้านการยอมรับในอำนาจหน้าที่ของผู้ปฏิบัติงาน และด้านเวลาและการจัดสรรทรัพยากร ตามลำดับ 2. สาเหตุที่ทำให้เกิดปัญหาในการทำงานมากที่สุด พบว่า การติดต่อสื่อสารและการประสานงานและด้านการวางแผนจัดทรัพยากรที่ต้องการใช้ในการปฏิบัติงาน 3. ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ อายุ ระดับการศึกษา อายุงาน ชั้นยศ รายได้เฉลี่ยต่อเดือน ระยะเวลาในการปฏิบัติงาน และการเข้ารับการอบรมที่แตกต่างกัน ส่งผลให้ระดับความคิดเห็นต่อปัจจัยที่ส่งผลต่อการดำเนินงานแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
ข้อเสนอแนะในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ 1. การติดต่อสื่อสารและการประสานงาน ผู้บังคับบัญชาควรอธิบายแผนงานที่สั่งการไปยังเจ้าหน้าที่ตำรวจ ถึงวัตถุประสงค์ วิธีการ ผลลัพธ์ที่ต้องการ ตลอดจนรับฟังความคิดเห็น และให้โอกาสเจ้าหน้าที่ตำรวจได้ซักถาม เพื่อให้เจ้าหน้าที่ตำรวจได้
ทำงานด้วยความเข้าใจ มีการติดต่อ ประสานงาน หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการป้องกันปราบปรามยาเสพติด ในรูปแบบการทำงานแบบบูรณาการร่วมกัน 2. การฝึกอบรม ผู้บังคับบัญชาควรจัดการอบรมให้กับเจ้าหน้าที่ตำรวจผู้ปฏิบัติงาน เพื่อให้ทราบวัตถุประสงค์กระบวนการการทำงาน เป็นแนวทางให้แก่ผู้ปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3. ด้านการใช้เทคโนโลยี ผู้บังคับบัญชาควรจัดการอบรมการใช้เทคโนโลยีในการปฏิบัติงานให้กับเจ้าหน้าที่ตำรวจผู้ปฏิบัติงาน เพื่อช่วยให้การทำงานมีประสิทธิภาพ รวดเร็ว สามารถดูข้อมูลย้อนหลังได้ และมีความเป็นระบบมากยิ่งขึ้นCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26526 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000591691 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-19 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000591709 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-19 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ปัจจัยที่มีผลต่อการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีของเจ้าหน้าที่ตำรวจกองกำกับการ 4 กองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์ กองบัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง สำนักงานตำรวจแห่งชาติ / ปิติทัต กงทอง / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU IS-T Title : ปัจจัยที่มีผลต่อการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีของเจ้าหน้าที่ตำรวจกองกำกับการ 4 กองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์ กองบัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง สำนักงานตำรวจแห่งชาติ Original title : Factors that Effected for Preventing and Suppressing of Prostitution of Police Sub-Division 4 ATI-Human Trafficking Division, Central Investigation Bureau, Royal Thai Police Material Type: printed text Authors: ปิติทัต กงทอง, Author ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name ; วรเดช จันทรศร, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: viii, 88 น. Layout: ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-16
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]กองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์ -- ข้าราชการตำรวจ
[LCSH]การค้ามนุษย์ -- การป้องกันKeywords: การป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณี
ความผูกพันกับองค์การ
ทัศนคติของผู้บังคับบัญชา
ความรู้ความเข้าใจของเจ้าหน้าที่
การสื่อสารAbstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีของเจ้าหน้าที่ตำรวจกองกำกับการ 4 กองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์ กองบัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง สำนักงานตำรวจแห่งชาติ 2) เพื่อศึกษาเปรียบเทียบปัจจัยด้านประชากรศาสตร์กับปัจจัยด้านการปฏิบัติงานการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีของเจ้าหน้าที่ตำรวจกองกำกับการ 4 กองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์ กองบัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง สำนักงานตำรวจแห่งชาติ 3) เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาการปฏิบัติงานการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีของเจ้าหน้าที่ตำรวจ กองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์ กองบัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง สำนักงานตำรวจแห่งชาติ โดยผู้วิจัยใช้วิธีการศึกษาวิจัยเชิงปริมาณ ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยทางด้านประชากรศาสตร์ มีผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชาย ในการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการตำรวจส่วนใหญ่มีอายุระหว่าง 36-45 ปีขึ้นไป ได้มีการสมรสแล้วเป็นส่วนใหญ่และส่วนใหญ่สำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรี และมีรายได้ส่วนใหญ่อยู่ระหว่าง 10,001 – 20,000 บาท โดยส่วนใหญ่มีประสบการณ์การทำงานอยู่ระหว่าง 16-20 ปี และจากการศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีของเจ้าหน้าที่ตำรวจกองกำกับการ 4 กองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์ กองบัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง สำนักงานตำรวจแห่งชาติ สรุปผลการวิจัยแต่ละปัจจัยหลักมีลำดับความสำคัญดังนี้คือ ลำดับแรก ได้แก่ ด้านความผูกพันสัมพันธ์กับองค์การมีความสำคัญ ลำดับที่สอง ได้แก่ ด้านความรู้ความเข้าใจของเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน ลำดับที่สาม ได้แก่ ด้านทัศนคติของผู้บังคับบัญชา ลำดับที่สี่ ด้านการสื่อสาร วัสดุอุปกรณ์และเครื่องมือเครื่องใช้ โดยทั้งสี่ลำดับนี้ เป็นปัจจัยที่ผู้ตอบแบบอบถามให้ความสำคัญอยู่ระดับมาก ลำดับที่สี่ ได้แก่ ด้านอัตรากำลังเจ้าหน้าที่ และลำดับสุดท้าย ได้แก่ ด้านการจัดสรรงบประมาณ เป็นปัจจัยที่ผู้ตอบแบบสอบถามให้ความสำคัญอยู่ในระดับปานกลาง ข้อเสนอแนะในการนำผลการศึกษาค้นคว้าไปใช้ คือ ส่งเสริมและสนับสนุนให้ข้าราชการตำรวจที่ปฏิบัติงานการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีมีความพร้อมในการปฏิบัติงาน โดยการพัฒนาศักยภาพและส่งเสริมให้มีความพร้อมในเรื่องการสร้างประสบการณ์ในการทำงานด้านการป้องกันและการปราบปรามการค้าประเวณี การเสริมรายได้ไปพร้อม ๆ กับการวางแผนการใช้จ่ายต่อเดือน ส่งเสริมให้ลาศึกษาต่อและฝึกอบรมในด้านที่เกี่ยวข้อง สนับสนุนให้ปฏิบัติงานในหน่วยงานที่เหมาะสม และส่งเสริมให้มีความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน รวมทั้งส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการดำเนินงานใน ปัจจัยต่าง ๆ คือ ปัจจัยทางด้านนโยบาย ด้านมาตรการการปฏิบัติ
ด้านกฎหมาย ด้านงบประมาณ ด้านการบริหารจัดการ และด้านบุคลากร ได้แก่ การทบทวนนโยบาย มาตรการ การจัดระบบขั้นตอนที่เกี่ยวข้องให้เอื้อต่อการปฏิบัติงานการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณี การให้รางวัลและการคุ้มครองเป็นพิเศษแก่เจ้าหน้าที่ของภาครัฐและประชาชนที่ให้ความร่วมมือในการปราบปรามการค้าประเวณี การประชาสัมพันธ์ให้ความรู้การป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีและการแสวงหาแนวร่วมภาคประชาชน ในการป้องกันปราบปรามการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีให้มากขึ้น โดยการสร้างความร่วมมือกับองค์การ ภาคีต่าง ๆ ทั้ง ภาครัฐ ประชาชน ชุมชน และภาคเอกชน การเตรียมความพร้อมของบุคลากรทั้งจำนวนที่เหมาะสมและการพัฒนาศักยภาพให้บุคลากรมีความรู้ความสามารถในการดำเนินงาน ตลอดจนมีความพร้อมทั้งทางร่างกาย จิตใจ สังคมCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26537 SIU IS-T. ปัจจัยที่มีผลต่อการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีของเจ้าหน้าที่ตำรวจกองกำกับการ 4 กองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์ กองบัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง สำนักงานตำรวจแห่งชาติ = Factors that Effected for Preventing and Suppressing of Prostitution of Police Sub-Division 4 ATI-Human Trafficking Division, Central Investigation Bureau, Royal Thai Police [printed text] / ปิติทัต กงทอง, Author ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name ; วรเดช จันทรศร, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - viii, 88 น. : ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-16
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]กองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์ -- ข้าราชการตำรวจ
[LCSH]การค้ามนุษย์ -- การป้องกันKeywords: การป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณี
ความผูกพันกับองค์การ
ทัศนคติของผู้บังคับบัญชา
ความรู้ความเข้าใจของเจ้าหน้าที่
การสื่อสารAbstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีของเจ้าหน้าที่ตำรวจกองกำกับการ 4 กองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์ กองบัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง สำนักงานตำรวจแห่งชาติ 2) เพื่อศึกษาเปรียบเทียบปัจจัยด้านประชากรศาสตร์กับปัจจัยด้านการปฏิบัติงานการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีของเจ้าหน้าที่ตำรวจกองกำกับการ 4 กองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์ กองบัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง สำนักงานตำรวจแห่งชาติ 3) เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาการปฏิบัติงานการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีของเจ้าหน้าที่ตำรวจ กองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์ กองบัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง สำนักงานตำรวจแห่งชาติ โดยผู้วิจัยใช้วิธีการศึกษาวิจัยเชิงปริมาณ ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยทางด้านประชากรศาสตร์ มีผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชาย ในการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการตำรวจส่วนใหญ่มีอายุระหว่าง 36-45 ปีขึ้นไป ได้มีการสมรสแล้วเป็นส่วนใหญ่และส่วนใหญ่สำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรี และมีรายได้ส่วนใหญ่อยู่ระหว่าง 10,001 – 20,000 บาท โดยส่วนใหญ่มีประสบการณ์การทำงานอยู่ระหว่าง 16-20 ปี และจากการศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีของเจ้าหน้าที่ตำรวจกองกำกับการ 4 กองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์ กองบัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง สำนักงานตำรวจแห่งชาติ สรุปผลการวิจัยแต่ละปัจจัยหลักมีลำดับความสำคัญดังนี้คือ ลำดับแรก ได้แก่ ด้านความผูกพันสัมพันธ์กับองค์การมีความสำคัญ ลำดับที่สอง ได้แก่ ด้านความรู้ความเข้าใจของเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน ลำดับที่สาม ได้แก่ ด้านทัศนคติของผู้บังคับบัญชา ลำดับที่สี่ ด้านการสื่อสาร วัสดุอุปกรณ์และเครื่องมือเครื่องใช้ โดยทั้งสี่ลำดับนี้ เป็นปัจจัยที่ผู้ตอบแบบอบถามให้ความสำคัญอยู่ระดับมาก ลำดับที่สี่ ได้แก่ ด้านอัตรากำลังเจ้าหน้าที่ และลำดับสุดท้าย ได้แก่ ด้านการจัดสรรงบประมาณ เป็นปัจจัยที่ผู้ตอบแบบสอบถามให้ความสำคัญอยู่ในระดับปานกลาง ข้อเสนอแนะในการนำผลการศึกษาค้นคว้าไปใช้ คือ ส่งเสริมและสนับสนุนให้ข้าราชการตำรวจที่ปฏิบัติงานการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีมีความพร้อมในการปฏิบัติงาน โดยการพัฒนาศักยภาพและส่งเสริมให้มีความพร้อมในเรื่องการสร้างประสบการณ์ในการทำงานด้านการป้องกันและการปราบปรามการค้าประเวณี การเสริมรายได้ไปพร้อม ๆ กับการวางแผนการใช้จ่ายต่อเดือน ส่งเสริมให้ลาศึกษาต่อและฝึกอบรมในด้านที่เกี่ยวข้อง สนับสนุนให้ปฏิบัติงานในหน่วยงานที่เหมาะสม และส่งเสริมให้มีความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน รวมทั้งส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการดำเนินงานใน ปัจจัยต่าง ๆ คือ ปัจจัยทางด้านนโยบาย ด้านมาตรการการปฏิบัติ
ด้านกฎหมาย ด้านงบประมาณ ด้านการบริหารจัดการ และด้านบุคลากร ได้แก่ การทบทวนนโยบาย มาตรการ การจัดระบบขั้นตอนที่เกี่ยวข้องให้เอื้อต่อการปฏิบัติงานการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณี การให้รางวัลและการคุ้มครองเป็นพิเศษแก่เจ้าหน้าที่ของภาครัฐและประชาชนที่ให้ความร่วมมือในการปราบปรามการค้าประเวณี การประชาสัมพันธ์ให้ความรู้การป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีและการแสวงหาแนวร่วมภาคประชาชน ในการป้องกันปราบปรามการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีให้มากขึ้น โดยการสร้างความร่วมมือกับองค์การ ภาคีต่าง ๆ ทั้ง ภาครัฐ ประชาชน ชุมชน และภาคเอกชน การเตรียมความพร้อมของบุคลากรทั้งจำนวนที่เหมาะสมและการพัฒนาศักยภาพให้บุคลากรมีความรู้ความสามารถในการดำเนินงาน ตลอดจนมีความพร้อมทั้งทางร่างกาย จิตใจ สังคมCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26537 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000591790 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-16 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000591808 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-16 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิผลในการปฏิบัติงานด้านการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรม ของตำรวจในสังกัดกองบังคับการตำรวจภูธรจังหวัดสุราษฎร์ธานี / มานพ ชูรีย์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2015
Collection Title: SIU IS-T Title : ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิผลในการปฏิบัติงานด้านการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรม ของตำรวจในสังกัดกองบังคับการตำรวจภูธรจังหวัดสุราษฎร์ธานี Original title : Factors Influence on the Efficiency of Crime Prevention and Suppression Operation Practice of Police Officers in Police Division of Surattani Province Material Type: printed text Authors: มานพ ชูรีย์, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; สมพร เพชรสงค์, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2015 Pagination: viii, 77 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2015-01
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2015.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การป้องกันอาชญากรรม -- สุราษฏร์ธานี
[LCSH]ตำรวจ -- การทำงานKeywords: ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน,
การป้องกันอาชญากรรมAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิผลในการปฏิบัติงานด้านการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรม เพื่อเปรียบเทียบปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิผลในการปฏิบัติงานด้านการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรม กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ ตำรวจในสำนักงานกองบังคับการตำรวจภูธรจังหวัดสุราษฎร์ธานี จำนวน 172 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามแบบมาตรประมาณค่าที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบค่าที (t-test) ค่าเอฟ (F-test) และความแปรปรวนทางเดียว (One-Way Anova) เปรียบเทียบรายคู่ด้วยวิธีการของ LSD (LSD post hoc comparison)
ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิผลในการปฏิบัติงานด้านการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรม โดยภาพรวมระดับความคิดเห็นทุกด้านอยู่ในระดับมาก เรียงลำดับจากมากไปหาน้อย คือ 1) ด้านวัสดุอุปกรณ์ 2) ด้านการสนับสนุนจากส่วนอื่น 3) ด้านงบประมาณ 4) ด้านบุคลากร 5) ด้านการบริหารจัดการ 6) ด้านการสนับสนุนจากหน่วยเหนือ การเปรียบเทียบระดับปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิผลในการปฏิบัติงานด้านการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรม จำแนกตามระดับชั้นยศ โดยภาพรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน จำแนกตามอายุ โดยรวมไม่แตกต่างกัน และเมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ด้านการบริหารจัดการแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 ด้านการสนับสนุนจากหน่วยเหนือแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และด้านการสนับสนุนจากส่วนอื่นแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สำหรับด้านอื่นๆ พบว่า ไม่แตกต่างกัน จำแนกตามระดับการศึกษา โดยรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน จำแนกตามประสบการณ์การทำงาน โดยรวมและรายด้านไม่แตกต่างกันCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26655 SIU IS-T. ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิผลในการปฏิบัติงานด้านการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรม ของตำรวจในสังกัดกองบังคับการตำรวจภูธรจังหวัดสุราษฎร์ธานี = Factors Influence on the Efficiency of Crime Prevention and Suppression Operation Practice of Police Officers in Police Division of Surattani Province [printed text] / มานพ ชูรีย์, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; สมพร เพชรสงค์, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2015 . - viii, 77 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2015-01
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2015.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การป้องกันอาชญากรรม -- สุราษฏร์ธานี
[LCSH]ตำรวจ -- การทำงานKeywords: ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน,
การป้องกันอาชญากรรมAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิผลในการปฏิบัติงานด้านการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรม เพื่อเปรียบเทียบปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิผลในการปฏิบัติงานด้านการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรม กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ ตำรวจในสำนักงานกองบังคับการตำรวจภูธรจังหวัดสุราษฎร์ธานี จำนวน 172 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามแบบมาตรประมาณค่าที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบค่าที (t-test) ค่าเอฟ (F-test) และความแปรปรวนทางเดียว (One-Way Anova) เปรียบเทียบรายคู่ด้วยวิธีการของ LSD (LSD post hoc comparison)
ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิผลในการปฏิบัติงานด้านการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรม โดยภาพรวมระดับความคิดเห็นทุกด้านอยู่ในระดับมาก เรียงลำดับจากมากไปหาน้อย คือ 1) ด้านวัสดุอุปกรณ์ 2) ด้านการสนับสนุนจากส่วนอื่น 3) ด้านงบประมาณ 4) ด้านบุคลากร 5) ด้านการบริหารจัดการ 6) ด้านการสนับสนุนจากหน่วยเหนือ การเปรียบเทียบระดับปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิผลในการปฏิบัติงานด้านการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรม จำแนกตามระดับชั้นยศ โดยภาพรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน จำแนกตามอายุ โดยรวมไม่แตกต่างกัน และเมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ด้านการบริหารจัดการแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 ด้านการสนับสนุนจากหน่วยเหนือแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และด้านการสนับสนุนจากส่วนอื่นแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สำหรับด้านอื่นๆ พบว่า ไม่แตกต่างกัน จำแนกตามระดับการศึกษา โดยรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน จำแนกตามประสบการณ์การทำงาน โดยรวมและรายด้านไม่แตกต่างกันCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26655 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000593069 SIU IS-T: IPAG-MPA-2015-01 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000593036 SIU IS-T: IPAG-MPA-2015-01 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. พฤติกรรมการป้องกันอาชญากรรมคดีข่มขืน / ฉัตรกวินฐ์ กุลโท / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2018
Collection Title: SIU THE-T Title : พฤติกรรมการป้องกันอาชญากรรมคดีข่มขืน Original title : Behavior of Crime Prevention Against Rape Cases Material Type: printed text Authors: ฉัตรกวินฐ์ กุลโท, Author ; พิภพ วชังเงิน, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2018 Pagination: ix, 195 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500 Baht General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-09
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]อาชญากรรม -- การป้องกัน
[LCSH]อาชญากรรมทางเพศ -- วิจัยKeywords: การป้องกัน, คดีข่มขืน, พฤติกรรม, อาชญากรรม Abstract: การศึกษานี้เป็นวิจัยแบบผสมระหว่างเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการป้องกันอาชญากรรมคดีข่มขืน (2) เปรียบเทียบปัจจัยพื้นฐานส่วนบุคคลกับพฤติกรรมการป้องกันอาชญากรรมคดีข่มขืน และ (3) หาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่ส่งผลต่อการป้องกันอาชญากรรมคดีข่มขืนกับพฤติกรรมการป้องกันอาชญากรรมคดีข่มขืน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามแบบเลือกตอบและแบบสัมภาษณ์ จากกลุ่มจากประชาชนที่อาศัยในเขตเทศบาลนคร นครราชสีมา จำนวน 400 คน วิจัยนี้ใช้สถิติการหาค่าความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA) และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ (Multiple Regressions) ทดสอบตัวแปร และการทดสอบสมมุติฐานที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05
ผลการวิจัย พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุระหว่าง 20 -30 ปี มีสถานภาพสมรส มีวุฒิการศึกษาปริญญาตรี นับถือศาสนาพุทธ ประกอบธุรกิจส่วนตัว มีรายได้ 15,001 – 20,000 บาทต่อเดือน นอกจากนี้ผลการวิจัยพบว่าปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมในการป้องกันอาชญากรรมคดีข่มขืน ประกอบด้วยนโยบายด้านการปราบปราม ด้านการสื่อสารเครือข่ายชุมชน ด้านมวลชนและการสร้างเครือข่าย ด้านเทคโนโลยีกล้องวงจรปิด ด้านระบบสายตรวจ และด้านอาชญวิทยา เรียงตามลำดับ นอกจากนี้ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยด้านการสื่อสารเครือข่ายชุมชน ด้านนโยบายการปราบปราม ด้านมวลชนและการสร้างเครือข่าย ด้านเทคโนโลยีกล้องวงจรปิด เป็นตัวพยากรณ์พฤติกรรมการป้องกันอาชญากรรมคดีข่มขืนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27879 SIU THE-T. พฤติกรรมการป้องกันอาชญากรรมคดีข่มขืน = Behavior of Crime Prevention Against Rape Cases [printed text] / ฉัตรกวินฐ์ กุลโท, Author ; พิภพ วชังเงิน, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018 . - ix, 195 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500 Baht
SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-09
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]อาชญากรรม -- การป้องกัน
[LCSH]อาชญากรรมทางเพศ -- วิจัยKeywords: การป้องกัน, คดีข่มขืน, พฤติกรรม, อาชญากรรม Abstract: การศึกษานี้เป็นวิจัยแบบผสมระหว่างเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการป้องกันอาชญากรรมคดีข่มขืน (2) เปรียบเทียบปัจจัยพื้นฐานส่วนบุคคลกับพฤติกรรมการป้องกันอาชญากรรมคดีข่มขืน และ (3) หาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่ส่งผลต่อการป้องกันอาชญากรรมคดีข่มขืนกับพฤติกรรมการป้องกันอาชญากรรมคดีข่มขืน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามแบบเลือกตอบและแบบสัมภาษณ์ จากกลุ่มจากประชาชนที่อาศัยในเขตเทศบาลนคร นครราชสีมา จำนวน 400 คน วิจัยนี้ใช้สถิติการหาค่าความแปรปรวนทางเดียว (One-way ANOVA) และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ (Multiple Regressions) ทดสอบตัวแปร และการทดสอบสมมุติฐานที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05
ผลการวิจัย พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุระหว่าง 20 -30 ปี มีสถานภาพสมรส มีวุฒิการศึกษาปริญญาตรี นับถือศาสนาพุทธ ประกอบธุรกิจส่วนตัว มีรายได้ 15,001 – 20,000 บาทต่อเดือน นอกจากนี้ผลการวิจัยพบว่าปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมในการป้องกันอาชญากรรมคดีข่มขืน ประกอบด้วยนโยบายด้านการปราบปราม ด้านการสื่อสารเครือข่ายชุมชน ด้านมวลชนและการสร้างเครือข่าย ด้านเทคโนโลยีกล้องวงจรปิด ด้านระบบสายตรวจ และด้านอาชญวิทยา เรียงตามลำดับ นอกจากนี้ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยด้านการสื่อสารเครือข่ายชุมชน ด้านนโยบายการปราบปราม ด้านมวลชนและการสร้างเครือข่าย ด้านเทคโนโลยีกล้องวงจรปิด เป็นตัวพยากรณ์พฤติกรรมการป้องกันอาชญากรรมคดีข่มขืนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27879 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000598571 SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-09 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000598597 SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-09 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available SIU THE-T. ยุทธศาสตร์การพัฒนาความร่วมมือการป้องกันอาชญากรรม พื้นที่รับผิดชอบกองบัญชาการตำรวจนครบาล / ธีรยุทธ์ จงศิริ / ปทุมธานี : มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2020
Collection Title: SIU THE-T Title : ยุทธศาสตร์การพัฒนาความร่วมมือการป้องกันอาชญากรรม พื้นที่รับผิดชอบกองบัญชาการตำรวจนครบาล Original title : Strategic Cooperation Development of Crime Prevention In Responsible area of Metropolitan Police Bureau Material Type: printed text Authors: ธีรยุทธ์ จงศิริ, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name Publisher: ปทุมธานี : มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2020 Pagination: x, 182 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-16
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบังคับใช้กฎหมาย
[LCSH]การป้องกันอาชญากรรม
[LCSH]การพัฒนา -- ยุทธศาสตร์Keywords: การป้องกันอาชญากรรม, ยุทธศาสตร์การพัฒนา, การบังคับใช้กฎหมาย Abstract: งานวิจัยนี้มีจุดประสงค์ 1) เพื่อศึกษาปัจจัยที่ก่อให้เกิดปัญหาอาชญากรรมที่ส่งผลต่อยุทธศาสตร์การพัฒนาความร่วมมือการป้องกันอาชญากรรม ในพื้นที่กองบัญชาการตำรวจนครบาล 2) เพื่อศึกษาระดับเกี่ยวกับปัจจัยการป้องกันปัญหาอาชญากรรมที่ส่งผลต่อยุทธศาสตร์การพัฒนาความร่วมมือการป้องกันอาชญากรรม ในพื้นที่กองบัญชาการตำรวจนครบาล 3) เพื่อศึกษาระดับของการบริหารจัดการเพื่อการแก้ไขปัญหาอาชญากรรม ที่ส่งผลต่อยุทธศาสตร์การพัฒนาความร่วมมือการป้องกันอาชญากรรม ในพื้นที่กองบัญชาการตำรวจนครบาล ผู้วิจัยใช้การวิจัยแบบผสานวิธี
(Mixed Methods Research) คือ 1) การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ด้วยการสัมภาษณ์จากผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จำนวน 30 คน จากกองบังคับการตำรวจนครบาล 1-9 และกองบังคับการจราจร โดยการวิเคราะห์เนื้อหา 2) การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) ด้วยการเก็บรวบรวมข้อมูลแบบสอบถามจากกลุ่มตัวอย่างจากกองบังคับการตำรวจนครบาล 1-9 และกองบังคับการจราจร จำนวน 400 คน โดยการวิเคราะห์สมการถดถอยเชิงพหุคูณเส้นตรง
ผลการวิจัยเชิงคุณภาพพบว่า ด้านสังคม คือปัญหายาเสพติดที่รุนแรง จากจำนวนครั้งของการจับกุม และปริมาณยาเสพติดที่จับได้ในแต่ละครั้งมีมากขึ้น ด้านการบังคับใช้กฎหมาย จากหน่วยงานในกระบวนการยุติธรรม ตำรวจ อัยการ ศาล ราชทัณฑ์จะต้องมีการบูรณการให้การบังคับใช้กฎหมาย เป็นไปด้วยความแน่นอน รวดเร็ว เสมอภาคและงานวิจัยในเชิงปริมาณพบว่า ปัจจัยที่ก่อให้เกิดปัญหาอาชญากรรม คือ ด้านสังคม มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมากที่สุด (x̄ = 4.31,S.D. = 0.46)
ปัจจัยการป้องกันปัญหาอาชญากรรม คือ ด้านการพัฒนาการศึกษามีความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก
(x̄ = 4.15,S.D. = 0.57) การบริหารจัดการเพื่อการแก้ไขปัญหาอาชญากรรม คือ ด้านการสื่อสาร มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมากที่สุด (x̄ = 4.30,S.D. = 0.57) และยุทธศาสตร์การพัฒนาความร่วมมือ การป้องกันอาชญากรรม คือ การสร้างความไว้วางใจกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมากที่สุด (x̄ = 4.24,S.D. = 0.85)
ข้อเสนอแนะ ควรมีการศึกษาถึงศึกษารูปแบบของผู้นำและทีมงานของสำนักงานตำรวจ ที่ตอบสนองความต้องการของประชาชนCurricular : MPA/DPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28272 SIU THE-T. ยุทธศาสตร์การพัฒนาความร่วมมือการป้องกันอาชญากรรม พื้นที่รับผิดชอบกองบัญชาการตำรวจนครบาล = Strategic Cooperation Development of Crime Prevention In Responsible area of Metropolitan Police Bureau [printed text] / ธีรยุทธ์ จงศิริ, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name . - ปทุมธานี : มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020 . - x, 182 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-16
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบังคับใช้กฎหมาย
[LCSH]การป้องกันอาชญากรรม
[LCSH]การพัฒนา -- ยุทธศาสตร์Keywords: การป้องกันอาชญากรรม, ยุทธศาสตร์การพัฒนา, การบังคับใช้กฎหมาย Abstract: งานวิจัยนี้มีจุดประสงค์ 1) เพื่อศึกษาปัจจัยที่ก่อให้เกิดปัญหาอาชญากรรมที่ส่งผลต่อยุทธศาสตร์การพัฒนาความร่วมมือการป้องกันอาชญากรรม ในพื้นที่กองบัญชาการตำรวจนครบาล 2) เพื่อศึกษาระดับเกี่ยวกับปัจจัยการป้องกันปัญหาอาชญากรรมที่ส่งผลต่อยุทธศาสตร์การพัฒนาความร่วมมือการป้องกันอาชญากรรม ในพื้นที่กองบัญชาการตำรวจนครบาล 3) เพื่อศึกษาระดับของการบริหารจัดการเพื่อการแก้ไขปัญหาอาชญากรรม ที่ส่งผลต่อยุทธศาสตร์การพัฒนาความร่วมมือการป้องกันอาชญากรรม ในพื้นที่กองบัญชาการตำรวจนครบาล ผู้วิจัยใช้การวิจัยแบบผสานวิธี
(Mixed Methods Research) คือ 1) การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ด้วยการสัมภาษณ์จากผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จำนวน 30 คน จากกองบังคับการตำรวจนครบาล 1-9 และกองบังคับการจราจร โดยการวิเคราะห์เนื้อหา 2) การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) ด้วยการเก็บรวบรวมข้อมูลแบบสอบถามจากกลุ่มตัวอย่างจากกองบังคับการตำรวจนครบาล 1-9 และกองบังคับการจราจร จำนวน 400 คน โดยการวิเคราะห์สมการถดถอยเชิงพหุคูณเส้นตรง
ผลการวิจัยเชิงคุณภาพพบว่า ด้านสังคม คือปัญหายาเสพติดที่รุนแรง จากจำนวนครั้งของการจับกุม และปริมาณยาเสพติดที่จับได้ในแต่ละครั้งมีมากขึ้น ด้านการบังคับใช้กฎหมาย จากหน่วยงานในกระบวนการยุติธรรม ตำรวจ อัยการ ศาล ราชทัณฑ์จะต้องมีการบูรณการให้การบังคับใช้กฎหมาย เป็นไปด้วยความแน่นอน รวดเร็ว เสมอภาคและงานวิจัยในเชิงปริมาณพบว่า ปัจจัยที่ก่อให้เกิดปัญหาอาชญากรรม คือ ด้านสังคม มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมากที่สุด (x̄ = 4.31,S.D. = 0.46)
ปัจจัยการป้องกันปัญหาอาชญากรรม คือ ด้านการพัฒนาการศึกษามีความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก
(x̄ = 4.15,S.D. = 0.57) การบริหารจัดการเพื่อการแก้ไขปัญหาอาชญากรรม คือ ด้านการสื่อสาร มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมากที่สุด (x̄ = 4.30,S.D. = 0.57) และยุทธศาสตร์การพัฒนาความร่วมมือ การป้องกันอาชญากรรม คือ การสร้างความไว้วางใจกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมากที่สุด (x̄ = 4.24,S.D. = 0.85)
ข้อเสนอแนะ ควรมีการศึกษาถึงศึกษารูปแบบของผู้นำและทีมงานของสำนักงานตำรวจ ที่ตอบสนองความต้องการของประชาชนCurricular : MPA/DPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28272 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607511 SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-16 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available 32002000607518 SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-16 c.2 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available