From this page you can:
Home |
Search results
99 result(s) search for keyword(s) 'การสื่อสาร. การใช้ภาษา. การให้คำปรึกษา. ผู้ป่วย. การสื่อสารทางการพยาบาล.'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
สื่อสารอย่างไรให้มีประสิทธิภาพ / สมาคมกุมารเวชศาสตร์แห่งประเทศไทย / กรุงเทพฯ : สมาคมกุมารแพทย์แห่งประเทศไทย - 2550
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000315331 W62 C734 2550 c.1 Book Main Library Library Counter Not for loan 32002000389658 W62 C734 2550 c.2 Book Main Library Library Counter Not for loan 32002000389666 W62 C734 2550 c.3 Book Main Library Library Counter Not for loan 32002000389674 W62 C734 2550 c.4 Book Main Library Library Counter Not for loan 32002000389690 W62 C734 2550 c.5 Book Main Library Library Counter Not for loan 32002000389682 W62 C734 2550 c.6 Book Main Library Library Counter Not for loan Speak ง่าย ๆ สไตล์พยาบาล / พรฤดี นิธิรัตน์ / นนทบุรี : โครงการสวัสดิการวิชาการ สถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข
in Speak ง่าย ๆ สไตล์พยาบาล / พรฤดี นิธิรัตน์ / นนทบุรี : โครงการสวัสดิการวิชาการ สถาบันพระบรมราชชนก - 2552
Title : Speak ง่าย ๆ สไตล์พยาบาล Material Type: printed text Authors: พรฤดี นิธิรัตน์, Author ; มัวร์, เคเรน แสตรซซ่า, Author Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 5. Publisher: นนทบุรี : โครงการสวัสดิการวิชาการ สถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข Pagination: 129 หน้า. Size: 21 ซม. ISBN (or other code): 978-6-16-110020-9 Price: 180.00 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การพยาบาล -- คู่มือ
[LCSH]การสื่อสารทางการพยาบาล -- การใช้ภาษา
[LCSH]ภาษาอังกฤษ -- การใช้ภาษา
[LCSH]ภาษาอังกฤษ -- บทสนทนาและวลี
[LCSH]ภาษาอังกฤษ -- บทสนทนาและวลี (สำหรับพยาบาล)Keywords: การสื่อสารทางการพยาบาล.
การใช้ภาษา.
ภาษาอังกฤษ.
บทสนทนาและวลีClass number: PE1116.N8 พ276 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23387
in Speak ง่าย ๆ สไตล์พยาบาล / พรฤดี นิธิรัตน์ / นนทบุรี : โครงการสวัสดิการวิชาการ สถาบันพระบรมราชชนก - 2552
Speak ง่าย ๆ สไตล์พยาบาล [printed text] / พรฤดี นิธิรัตน์, Author ; มัวร์, เคเรน แสตรซซ่า, Author . - พิมพ์ครั้งที่ 5. . - นนทบุรี : โครงการสวัสดิการวิชาการ สถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข, [s.d.] . - 129 หน้า. ; 21 ซม.
ISBN : 978-6-16-110020-9 : 180.00
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การพยาบาล -- คู่มือ
[LCSH]การสื่อสารทางการพยาบาล -- การใช้ภาษา
[LCSH]ภาษาอังกฤษ -- การใช้ภาษา
[LCSH]ภาษาอังกฤษ -- บทสนทนาและวลี
[LCSH]ภาษาอังกฤษ -- บทสนทนาและวลี (สำหรับพยาบาล)Keywords: การสื่อสารทางการพยาบาล.
การใช้ภาษา.
ภาษาอังกฤษ.
บทสนทนาและวลีClass number: PE1116.N8 พ276 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23387 English for nursing and health care students / ชวอตซ์ ปีเตอร์ ซี / นนทบุรี : โครงการสวัสดิการวิชาการ สถาบันพระบรมราชชนก - 2553
Title : English for nursing and health care students : Reading of Hospital Dialogues Material Type: printed text Authors: ชวอตซ์ ปีเตอร์ ซี, Author ; Schwarz Peter C. ; Amporn Thiengtrongdee ; สถาบันพระบรมราชชนก Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 3. Publisher: นนทบุรี : โครงการสวัสดิการวิชาการ สถาบันพระบรมราชชนก Publication Date: 2553 Pagination: 106 หน้า Layout: ภาพประกอบ Size: 21 ซม. Price: 250.00 General note: School of Nursing Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การสื่อสารทางการพยาบาล
[LCSH]การสื่อสารทางการพยาบาล -- การใช้ภาษา
[LCSH]ผู้ป่วย -- การสื่อสาร
[LCSH]ภาษาอังกฤษ -- การศึกษาและการสอนKeywords: การสื่อสารทางการพยาบาล Abstract: Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24840 English for nursing and health care students : Reading of Hospital Dialogues [printed text] / ชวอตซ์ ปีเตอร์ ซี, Author ; Schwarz Peter C. ; Amporn Thiengtrongdee ; สถาบันพระบรมราชชนก . - พิมพ์ครั้งที่ 3. . - นนทบุรี : โครงการสวัสดิการวิชาการ สถาบันพระบรมราชชนก, 2553 . - 106 หน้า : ภาพประกอบ ; 21 ซม.
250.00
School of Nursing
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การสื่อสารทางการพยาบาล
[LCSH]การสื่อสารทางการพยาบาล -- การใช้ภาษา
[LCSH]ผู้ป่วย -- การสื่อสาร
[LCSH]ภาษาอังกฤษ -- การศึกษาและการสอนKeywords: การสื่อสารทางการพยาบาล Abstract: Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24840 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000362309 PE1116.N8 ซ114 2553 Book Main Library General Shelf Available English for nursing and health care students / ชวอตซ์ ปีเตอร์ ซี / นนทบุรี : โครงการสวัสดิการวิชาการ สถาบันพระบรมราชชนก - 2556
Title : English for nursing and health care students : Reading of Hospital Dialogues Material Type: printed text Authors: ชวอตซ์ ปีเตอร์ ซี, Author ; Schwarz Peter C. ; Amporn Thiengtrongdee ; สถาบันพระบรมราชชนก Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 3. Publisher: นนทบุรี : โครงการสวัสดิการวิชาการ สถาบันพระบรมราชชนก Publication Date: 2556 Pagination: 106 หน้า Layout: ภาพประกอบ Size: 21 ซม. Price: 250.00 General note: School of Nursing Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การสื่อสารทางการพยาบาล
[LCSH]การสื่อสารทางการพยาบาล -- การใช้ภาษา
[LCSH]ผู้ป่วย -- การสื่อสาร
[LCSH]ภาษาอังกฤษ -- การศึกษาและการสอนKeywords: การสื่อสารทางการพยาบาล Abstract: Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24569 English for nursing and health care students : Reading of Hospital Dialogues [printed text] / ชวอตซ์ ปีเตอร์ ซี, Author ; Schwarz Peter C. ; Amporn Thiengtrongdee ; สถาบันพระบรมราชชนก . - พิมพ์ครั้งที่ 3. . - นนทบุรี : โครงการสวัสดิการวิชาการ สถาบันพระบรมราชชนก, 2556 . - 106 หน้า : ภาพประกอบ ; 21 ซม.
250.00
School of Nursing
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การสื่อสารทางการพยาบาล
[LCSH]การสื่อสารทางการพยาบาล -- การใช้ภาษา
[LCSH]ผู้ป่วย -- การสื่อสาร
[LCSH]ภาษาอังกฤษ -- การศึกษาและการสอนKeywords: การสื่อสารทางการพยาบาล Abstract: Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24569 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000540029 PE1116.N8 ซ114 2556 c.1 Book Main Library General Shelf Available 32002000540102 PE1116.N8 ซ114 2556 c.10 Book Main Library General Shelf Available 32002000540011 PE1116.N8 ซ114 2556 c.2 Book Main Library General Shelf Available 32002000540045 PE1116.N8 ซ114 2556 c.3 Book Main Library General Shelf Available 32002000540037 PE1116.N8 ซ114 2556 c.4 Book Main Library General Shelf Available 32002000540060 PE1116.N8 ซ114 2556 c.5 Book Main Library General Shelf Available 32002000540052 PE1116.N8 ซ114 2556 c.6 Book Main Library General Shelf Available 32002000540086 PE1116.N8 ซ114 2556 c.7 Book Main Library General Shelf Available 32002000540078 PE1116.N8 ซ114 2556 c.8 Book Main Library General Shelf Available 32002000470995 PE1116.N8 ซ114 2556 c.9 Book Main Library General Shelf Available Readers who borrowed this document also borrowed:
อนามัยโรงเรียน สมศักดิ์, โทจำปา อนามัยโรงเรียน สมศักดิ์, โทจำปา สถิติและการวิจัยสำหรับวิทยาศาสตร์สุขภาพ Human resource management Mathis,, Robert L. (1944-) การศึกษาการใช้เทคนิการสื่อสารเพื่อการบำบัด / วัลลภา อันดารา in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 ([08/21/2017])
[article]
Title : การศึกษาการใช้เทคนิการสื่อสารเพื่อการบำบัด : และการสื่อสารที่ไม่ใช่การบำบััดกับผู้ป่วยจิตเวช Original title : The study of therapeutic communication technique and non-therapeutic communication technique with paychiatric patient Material Type: printed text Authors: วัลลภา อันดารา, Author ; ดลฤดี โรจน์วิริยะ, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.64-73 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.64-73Keywords: เทคนิคการสื่อสารเพื่อการบำบัด.การสื่อสารที่ไม่ใช่การบำบัด.ผู้ป่วยจิตเวช. Abstract: เป็นการศึกษาการใช้เทคนิดการสื่อสารเพื่อการบำบัดและการสื่อสารที่ใช้การบำบัดผู้ป่วยจิตเวช โดยเก็บรวบรวมข้อมูลจากแบบบันทึกการสื่อสารเพื่อการบำบัดของนักเรียนพยาบาลทหารอากาศ ชั้นปีที่ 3 จำนวน 135 ฉบับ ขณะฝึกปฏิบัติการพยาบาลในวิชาปฏิบัตการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าความถี่ ร้อยละ
ผลการศึกษา พบว่า นักเรียนพยาบาลทหารอากาศใช้เทคนิคการสืื่อสารด้วยคำพูด จำนวน 2445 ครั้ง เป็นเทคนิคการสื่อสารเพื่อการบำบัด จำนวน 2111 ครั้ง ร้อยละ 86.34 และเป็นเทคนิคการสื่อสารที่ไม่ใช่การบำบัด จำนวน 334 ครั้ง ร้อยละ 13.66 โดยเทคนิคการสื่อสารที่ไม่ใช่การบำบัด จัดหมวดหมู่ได้ 13 เทคนิค ได้แก่ 1. การยอมรับว่าถูกต้อง จำนวน 78 ครั้ง (ร้อยละ 23.35) 2.ตอบสนองไม่ตรงประเด็น จำนวน 50 ครั้ง (ร้อยละ 14.97) 3 ขอคำอธิบาย จำนวน 48 ครั้ง (ร้อยละ 14.37) 4. ให้คำแนะนำ จำนวน 33 ครั้ง (ร้อยละ 9.88) 5. กล่าวตำหนิ จำนวน 26 ครั้ง (ร้อยละ 4.79) 8. แก้ตัวแทนผู้อื่น จำนวน 14 ครั้ง (ร้อยละ 4.19) 9.ใช้คำพูดท้าทาย จำนวน 14 ครั้ง (ร้อยละ 4.19) 10.กล่าวขัดแย้งข้อคิดเห็นของผู้ป่วย จำนวน 10 ครั้ง (ร้อยละ 2.99) 11 ใช้คำปลอบใจที่ไม่เหมาะสม จำนวน 9 ครั้ง (ร้อยละ 2.70) 12. สนทนาเชิงสังคม จำนวน 9 ครั้ง (ร้อยละ 2.70) 13. ปฏิเสธการช่วยเหลือ จำนวน 7 ครั้ง (ร้อยละ 2.10)
ผลการศึกษาครั้งนี้ นักเรียนพยาบาลใช้เทคนิคการสื่อสารที่ไม่ใช้การบำบัด จำนวน 344 ครั้ง (ร้อยละ 13.66) ถึงแม่ว่าเป็นจำนวนไม่มากเมื่อเปรียบเทียบกับเทคนิคการสื่อสารนั้นล้มเหลว ได้ผลจากการศึกษาในครั้งนี้ สามารถนำไปใช้เพื่อการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช ทั้งภาคทฤษฎและปฏิบัติ เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถใช้เทคนิคการสื่อสารในการปฏิบัติงานจริงกับผู้ป่วยจิตเวชได้อย่างถูกต้อง และมีประสิทธิภาพLink for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27214 [article] การศึกษาการใช้เทคนิการสื่อสารเพื่อการบำบัด = The study of therapeutic communication technique and non-therapeutic communication technique with paychiatric patient : และการสื่อสารที่ไม่ใช่การบำบััดกับผู้ป่วยจิตเวช [printed text] / วัลลภา อันดารา, Author ; ดลฤดี โรจน์วิริยะ, Author . - 2017 . - p.64-73.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.64-73Keywords: เทคนิคการสื่อสารเพื่อการบำบัด.การสื่อสารที่ไม่ใช่การบำบัด.ผู้ป่วยจิตเวช. Abstract: เป็นการศึกษาการใช้เทคนิดการสื่อสารเพื่อการบำบัดและการสื่อสารที่ใช้การบำบัดผู้ป่วยจิตเวช โดยเก็บรวบรวมข้อมูลจากแบบบันทึกการสื่อสารเพื่อการบำบัดของนักเรียนพยาบาลทหารอากาศ ชั้นปีที่ 3 จำนวน 135 ฉบับ ขณะฝึกปฏิบัติการพยาบาลในวิชาปฏิบัตการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าความถี่ ร้อยละ
ผลการศึกษา พบว่า นักเรียนพยาบาลทหารอากาศใช้เทคนิคการสืื่อสารด้วยคำพูด จำนวน 2445 ครั้ง เป็นเทคนิคการสื่อสารเพื่อการบำบัด จำนวน 2111 ครั้ง ร้อยละ 86.34 และเป็นเทคนิคการสื่อสารที่ไม่ใช่การบำบัด จำนวน 334 ครั้ง ร้อยละ 13.66 โดยเทคนิคการสื่อสารที่ไม่ใช่การบำบัด จัดหมวดหมู่ได้ 13 เทคนิค ได้แก่ 1. การยอมรับว่าถูกต้อง จำนวน 78 ครั้ง (ร้อยละ 23.35) 2.ตอบสนองไม่ตรงประเด็น จำนวน 50 ครั้ง (ร้อยละ 14.97) 3 ขอคำอธิบาย จำนวน 48 ครั้ง (ร้อยละ 14.37) 4. ให้คำแนะนำ จำนวน 33 ครั้ง (ร้อยละ 9.88) 5. กล่าวตำหนิ จำนวน 26 ครั้ง (ร้อยละ 4.79) 8. แก้ตัวแทนผู้อื่น จำนวน 14 ครั้ง (ร้อยละ 4.19) 9.ใช้คำพูดท้าทาย จำนวน 14 ครั้ง (ร้อยละ 4.19) 10.กล่าวขัดแย้งข้อคิดเห็นของผู้ป่วย จำนวน 10 ครั้ง (ร้อยละ 2.99) 11 ใช้คำปลอบใจที่ไม่เหมาะสม จำนวน 9 ครั้ง (ร้อยละ 2.70) 12. สนทนาเชิงสังคม จำนวน 9 ครั้ง (ร้อยละ 2.70) 13. ปฏิเสธการช่วยเหลือ จำนวน 7 ครั้ง (ร้อยละ 2.10)
ผลการศึกษาครั้งนี้ นักเรียนพยาบาลใช้เทคนิคการสื่อสารที่ไม่ใช้การบำบัด จำนวน 344 ครั้ง (ร้อยละ 13.66) ถึงแม่ว่าเป็นจำนวนไม่มากเมื่อเปรียบเทียบกับเทคนิคการสื่อสารนั้นล้มเหลว ได้ผลจากการศึกษาในครั้งนี้ สามารถนำไปใช้เพื่อการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช ทั้งภาคทฤษฎและปฏิบัติ เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ ความเข้าใจ และสามารถใช้เทคนิคการสื่อสารในการปฏิบัติงานจริงกับผู้ป่วยจิตเวชได้อย่างถูกต้อง และมีประสิทธิภาพLink for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27214 ภาษาเพื่อการสื่อสาร / มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช / นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช - 2555
in ภาษาเพื่อการสื่อสาร / มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช / [นนทบุรี] : สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช - 2551
Title : ภาษาเพื่อการสื่อสาร : เอกสารการสอนชุดวิชา Original title : Language for communication Material Type: printed text Authors: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, Author Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 16 (ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1) Publisher: นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช Publication Date: 2555 Pagination: 2 เล่ม Layout: ภาพประกอบ Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-645-406-3 General note: ISBN 978-974-645-407-0 เล่มที่ 2 (หน่วยที่ 8-15)
Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การสื่อสาร
[LCSH]ภาษาไทย -- การสื่อสาร
[LCSH]ภาษาไทย -- การใช้ภาษาKeywords: การสื่อสาร.
ภาษาไทย.
การใช้ภาษา.Class number: PL4177 ส474 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=22924
in ภาษาเพื่อการสื่อสาร / มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช / [นนทบุรี] : สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช - 2551
ภาษาเพื่อการสื่อสาร = Language for communication : เอกสารการสอนชุดวิชา [printed text] / มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, Author . - พิมพ์ครั้งที่ 16 (ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1) . - นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2555 . - 2 เล่ม : ภาพประกอบ ; 30 ซม.
ISBN : 978-974-645-406-3
ISBN 978-974-645-407-0 เล่มที่ 2 (หน่วยที่ 8-15)
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การสื่อสาร
[LCSH]ภาษาไทย -- การสื่อสาร
[LCSH]ภาษาไทย -- การใช้ภาษาKeywords: การสื่อสาร.
ภาษาไทย.
การใช้ภาษา.Class number: PL4177 ส474 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=22924 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000351799 PL4177 ส474 2555 v.1 Book Main Library General Shelf Available 32002000351781 PL4177 ส474 2555 v.2 Book Main Library General Shelf Available SIU IS-T. ประสิทธิภาพการสื่อสารภายในองค์กรของพนักงานฝ่ายข่าว: สถานีโทรทัศน์ช่อง 8 / ณธภัฐน์ วงษ์สะอาด / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : ประสิทธิภาพการสื่อสารภายในองค์กรของพนักงานฝ่ายข่าว: สถานีโทรทัศน์ช่อง 8 Original title : The Effective Organizational Communication of the News Department Staff: A Case of the television station channel 8 Material Type: printed text Authors: ณธภัฐน์ วงษ์สะอาด, Author ; เพชรรัตน์ โล้วิชากรติกุล, Associated Name ; อุษณีย์ เสวกวัชรี, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: vii, 61 น. Layout: ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: SOM-MBA-2017-03
Independent Study. [MS[MBA]]--Shinawatra University, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การสื่อสาร
[LCSH]สถานีโทรทัศน์ -- ช่อง 8Keywords: ประสิทธิภาพ,
การสื่อสารภายในองค์กร,
พนักงานฝ่ายข่าวAbstract: การวิจัยเรื่องประสิทธิภาพของการสื่อสารองค์กรของพนักงานฝ่ายข่าวสถานีโทรทัศน์ช่อง 8 มีจุดมุ่งหมาย 1) เพื่อศึกษาความพึงพอใจต่อประสิทธิภาพการสื่อสารภายในองค์กรของพนักงานฝ่ายข่าวสถานีโทรทัศน์ช่อง 8 2) เพื่อศึกษาเปรียบเทียบปัจจัยกระบวนการในการสื่อสารภายในองค์กรโดยจำแนกตามลักษณะส่วนบุคคลของพนักงานได้แก่เพศ อายุ ระดับการศึกษา ตำแหน่งงาน และระยะเวลาในการปฏิบัติงาน ประชากรที่ใช้ในการศึกษาได้แก่ พนักงานฝ่ายข่าวสถานีโทรทัศน์ช่อง 8 ในปี พ.ศ. 2559 จำนวน 100 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลครั้งนี้ได้แก่ แบบสอบถามเกี่ยวกับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากร 5 ด้านสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ได้แก่ ค่าร้อยละค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มใช้การทดสอบที (t - Test) ส่วนการทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยจากกลุ่มตัวอย่างมากกว่า 2 กลุ่มใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว (One - Way ANOVA)
ผลการวิจัยพบว่าพนักงานฝ่ายข่าวสถานีโทรทัศน์ช่อง 8 ที่มีเพศต่างกันมีปัจจัยกระบวนการในการสื่อสารภายในองค์กรไม่แตกต่างกันพนักงานฝ่ายข่าวสถานีโทรทัศน์ช่อง 8 ที่มีอายุต่างกันมีปัจจัยกระบวนการในการสื่อสารภายในองค์กรแตกต่างกันยกเว้นด้านข้อมูลข่าวสาร ด้านช่องทางการสื่อสาร และด้านประสิทธิภาพในการสื่อสารในองค์กร พนักงานฝ่ายข่าวสถานีโทรทัศน์ช่อง 8 ที่มีระดับการศึกษาต่างกันมีปัจจัยกระบวนการในการสื่อสารภายในองค์กรแตกต่างกันยกเว้นด้านข้อมูลข่าวสาร พนักงานฝ่ายข่าวสถานีโทรทัศน์ช่อง 8 ที่มีตำแหน่งงานต่างกันมีปัจจัยกระบวนการในการสื่อสารภายในองค์กรแตกต่างกัน ยกเว้นด้านประสิทธิภาพในการสื่อสารในองค์กร พนักงานฝ่ายข่าวสถานีโทรทัศน์ช่อง 8 ที่มีระยะเวลาในการปฏิบัติงานต่างกันมีปัจจัยกระบวนการในการสื่อสารภายในองค์กรแตกต่างกัน ยกเว้นด้านข้อมูลข่าวสารและด้านช่องทางการสื่อสารCurricular : BBA/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27542 SIU IS-T. ประสิทธิภาพการสื่อสารภายในองค์กรของพนักงานฝ่ายข่าว: สถานีโทรทัศน์ช่อง 8 = The Effective Organizational Communication of the News Department Staff: A Case of the television station channel 8 [printed text] / ณธภัฐน์ วงษ์สะอาด, Author ; เพชรรัตน์ โล้วิชากรติกุล, Associated Name ; อุษณีย์ เสวกวัชรี, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - vii, 61 น. : ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: SOM-MBA-2017-03
Independent Study. [MS[MBA]]--Shinawatra University, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การสื่อสาร
[LCSH]สถานีโทรทัศน์ -- ช่อง 8Keywords: ประสิทธิภาพ,
การสื่อสารภายในองค์กร,
พนักงานฝ่ายข่าวAbstract: การวิจัยเรื่องประสิทธิภาพของการสื่อสารองค์กรของพนักงานฝ่ายข่าวสถานีโทรทัศน์ช่อง 8 มีจุดมุ่งหมาย 1) เพื่อศึกษาความพึงพอใจต่อประสิทธิภาพการสื่อสารภายในองค์กรของพนักงานฝ่ายข่าวสถานีโทรทัศน์ช่อง 8 2) เพื่อศึกษาเปรียบเทียบปัจจัยกระบวนการในการสื่อสารภายในองค์กรโดยจำแนกตามลักษณะส่วนบุคคลของพนักงานได้แก่เพศ อายุ ระดับการศึกษา ตำแหน่งงาน และระยะเวลาในการปฏิบัติงาน ประชากรที่ใช้ในการศึกษาได้แก่ พนักงานฝ่ายข่าวสถานีโทรทัศน์ช่อง 8 ในปี พ.ศ. 2559 จำนวน 100 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลครั้งนี้ได้แก่ แบบสอบถามเกี่ยวกับแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากร 5 ด้านสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ได้แก่ ค่าร้อยละค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยของกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มใช้การทดสอบที (t - Test) ส่วนการทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยจากกลุ่มตัวอย่างมากกว่า 2 กลุ่มใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว (One - Way ANOVA)
ผลการวิจัยพบว่าพนักงานฝ่ายข่าวสถานีโทรทัศน์ช่อง 8 ที่มีเพศต่างกันมีปัจจัยกระบวนการในการสื่อสารภายในองค์กรไม่แตกต่างกันพนักงานฝ่ายข่าวสถานีโทรทัศน์ช่อง 8 ที่มีอายุต่างกันมีปัจจัยกระบวนการในการสื่อสารภายในองค์กรแตกต่างกันยกเว้นด้านข้อมูลข่าวสาร ด้านช่องทางการสื่อสาร และด้านประสิทธิภาพในการสื่อสารในองค์กร พนักงานฝ่ายข่าวสถานีโทรทัศน์ช่อง 8 ที่มีระดับการศึกษาต่างกันมีปัจจัยกระบวนการในการสื่อสารภายในองค์กรแตกต่างกันยกเว้นด้านข้อมูลข่าวสาร พนักงานฝ่ายข่าวสถานีโทรทัศน์ช่อง 8 ที่มีตำแหน่งงานต่างกันมีปัจจัยกระบวนการในการสื่อสารภายในองค์กรแตกต่างกัน ยกเว้นด้านประสิทธิภาพในการสื่อสารในองค์กร พนักงานฝ่ายข่าวสถานีโทรทัศน์ช่อง 8 ที่มีระยะเวลาในการปฏิบัติงานต่างกันมีปัจจัยกระบวนการในการสื่อสารภายในองค์กรแตกต่างกัน ยกเว้นด้านข้อมูลข่าวสารและด้านช่องทางการสื่อสารCurricular : BBA/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27542 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000596567 SIU IS-T: SOM-MBA-2017-03 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000596534 SIU IS-T: SOM-MBA-2017-03 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ปัจจัยที่มีผลต่อการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีของเจ้าหน้าที่ตำรวจกองกำกับการ 4 กองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์ กองบัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง สำนักงานตำรวจแห่งชาติ / ปิติทัต กงทอง / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU IS-T Title : ปัจจัยที่มีผลต่อการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีของเจ้าหน้าที่ตำรวจกองกำกับการ 4 กองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์ กองบัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง สำนักงานตำรวจแห่งชาติ Original title : Factors that Effected for Preventing and Suppressing of Prostitution of Police Sub-Division 4 ATI-Human Trafficking Division, Central Investigation Bureau, Royal Thai Police Material Type: printed text Authors: ปิติทัต กงทอง, Author ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name ; วรเดช จันทรศร, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: viii, 88 น. Layout: ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-16
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]กองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์ -- ข้าราชการตำรวจ
[LCSH]การค้ามนุษย์ -- การป้องกันKeywords: การป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณี
ความผูกพันกับองค์การ
ทัศนคติของผู้บังคับบัญชา
ความรู้ความเข้าใจของเจ้าหน้าที่
การสื่อสารAbstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีของเจ้าหน้าที่ตำรวจกองกำกับการ 4 กองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์ กองบัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง สำนักงานตำรวจแห่งชาติ 2) เพื่อศึกษาเปรียบเทียบปัจจัยด้านประชากรศาสตร์กับปัจจัยด้านการปฏิบัติงานการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีของเจ้าหน้าที่ตำรวจกองกำกับการ 4 กองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์ กองบัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง สำนักงานตำรวจแห่งชาติ 3) เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาการปฏิบัติงานการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีของเจ้าหน้าที่ตำรวจ กองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์ กองบัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง สำนักงานตำรวจแห่งชาติ โดยผู้วิจัยใช้วิธีการศึกษาวิจัยเชิงปริมาณ ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยทางด้านประชากรศาสตร์ มีผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชาย ในการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการตำรวจส่วนใหญ่มีอายุระหว่าง 36-45 ปีขึ้นไป ได้มีการสมรสแล้วเป็นส่วนใหญ่และส่วนใหญ่สำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรี และมีรายได้ส่วนใหญ่อยู่ระหว่าง 10,001 – 20,000 บาท โดยส่วนใหญ่มีประสบการณ์การทำงานอยู่ระหว่าง 16-20 ปี และจากการศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีของเจ้าหน้าที่ตำรวจกองกำกับการ 4 กองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์ กองบัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง สำนักงานตำรวจแห่งชาติ สรุปผลการวิจัยแต่ละปัจจัยหลักมีลำดับความสำคัญดังนี้คือ ลำดับแรก ได้แก่ ด้านความผูกพันสัมพันธ์กับองค์การมีความสำคัญ ลำดับที่สอง ได้แก่ ด้านความรู้ความเข้าใจของเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน ลำดับที่สาม ได้แก่ ด้านทัศนคติของผู้บังคับบัญชา ลำดับที่สี่ ด้านการสื่อสาร วัสดุอุปกรณ์และเครื่องมือเครื่องใช้ โดยทั้งสี่ลำดับนี้ เป็นปัจจัยที่ผู้ตอบแบบอบถามให้ความสำคัญอยู่ระดับมาก ลำดับที่สี่ ได้แก่ ด้านอัตรากำลังเจ้าหน้าที่ และลำดับสุดท้าย ได้แก่ ด้านการจัดสรรงบประมาณ เป็นปัจจัยที่ผู้ตอบแบบสอบถามให้ความสำคัญอยู่ในระดับปานกลาง ข้อเสนอแนะในการนำผลการศึกษาค้นคว้าไปใช้ คือ ส่งเสริมและสนับสนุนให้ข้าราชการตำรวจที่ปฏิบัติงานการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีมีความพร้อมในการปฏิบัติงาน โดยการพัฒนาศักยภาพและส่งเสริมให้มีความพร้อมในเรื่องการสร้างประสบการณ์ในการทำงานด้านการป้องกันและการปราบปรามการค้าประเวณี การเสริมรายได้ไปพร้อม ๆ กับการวางแผนการใช้จ่ายต่อเดือน ส่งเสริมให้ลาศึกษาต่อและฝึกอบรมในด้านที่เกี่ยวข้อง สนับสนุนให้ปฏิบัติงานในหน่วยงานที่เหมาะสม และส่งเสริมให้มีความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน รวมทั้งส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการดำเนินงานใน ปัจจัยต่าง ๆ คือ ปัจจัยทางด้านนโยบาย ด้านมาตรการการปฏิบัติ
ด้านกฎหมาย ด้านงบประมาณ ด้านการบริหารจัดการ และด้านบุคลากร ได้แก่ การทบทวนนโยบาย มาตรการ การจัดระบบขั้นตอนที่เกี่ยวข้องให้เอื้อต่อการปฏิบัติงานการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณี การให้รางวัลและการคุ้มครองเป็นพิเศษแก่เจ้าหน้าที่ของภาครัฐและประชาชนที่ให้ความร่วมมือในการปราบปรามการค้าประเวณี การประชาสัมพันธ์ให้ความรู้การป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีและการแสวงหาแนวร่วมภาคประชาชน ในการป้องกันปราบปรามการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีให้มากขึ้น โดยการสร้างความร่วมมือกับองค์การ ภาคีต่าง ๆ ทั้ง ภาครัฐ ประชาชน ชุมชน และภาคเอกชน การเตรียมความพร้อมของบุคลากรทั้งจำนวนที่เหมาะสมและการพัฒนาศักยภาพให้บุคลากรมีความรู้ความสามารถในการดำเนินงาน ตลอดจนมีความพร้อมทั้งทางร่างกาย จิตใจ สังคมCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26537 SIU IS-T. ปัจจัยที่มีผลต่อการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีของเจ้าหน้าที่ตำรวจกองกำกับการ 4 กองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์ กองบัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง สำนักงานตำรวจแห่งชาติ = Factors that Effected for Preventing and Suppressing of Prostitution of Police Sub-Division 4 ATI-Human Trafficking Division, Central Investigation Bureau, Royal Thai Police [printed text] / ปิติทัต กงทอง, Author ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name ; วรเดช จันทรศร, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - viii, 88 น. : ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-16
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]กองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์ -- ข้าราชการตำรวจ
[LCSH]การค้ามนุษย์ -- การป้องกันKeywords: การป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณี
ความผูกพันกับองค์การ
ทัศนคติของผู้บังคับบัญชา
ความรู้ความเข้าใจของเจ้าหน้าที่
การสื่อสารAbstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีของเจ้าหน้าที่ตำรวจกองกำกับการ 4 กองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์ กองบัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง สำนักงานตำรวจแห่งชาติ 2) เพื่อศึกษาเปรียบเทียบปัจจัยด้านประชากรศาสตร์กับปัจจัยด้านการปฏิบัติงานการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีของเจ้าหน้าที่ตำรวจกองกำกับการ 4 กองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์ กองบัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง สำนักงานตำรวจแห่งชาติ 3) เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาการปฏิบัติงานการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีของเจ้าหน้าที่ตำรวจ กองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์ กองบัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง สำนักงานตำรวจแห่งชาติ โดยผู้วิจัยใช้วิธีการศึกษาวิจัยเชิงปริมาณ ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยทางด้านประชากรศาสตร์ มีผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชาย ในการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการตำรวจส่วนใหญ่มีอายุระหว่าง 36-45 ปีขึ้นไป ได้มีการสมรสแล้วเป็นส่วนใหญ่และส่วนใหญ่สำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรี และมีรายได้ส่วนใหญ่อยู่ระหว่าง 10,001 – 20,000 บาท โดยส่วนใหญ่มีประสบการณ์การทำงานอยู่ระหว่าง 16-20 ปี และจากการศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีของเจ้าหน้าที่ตำรวจกองกำกับการ 4 กองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์ กองบัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง สำนักงานตำรวจแห่งชาติ สรุปผลการวิจัยแต่ละปัจจัยหลักมีลำดับความสำคัญดังนี้คือ ลำดับแรก ได้แก่ ด้านความผูกพันสัมพันธ์กับองค์การมีความสำคัญ ลำดับที่สอง ได้แก่ ด้านความรู้ความเข้าใจของเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน ลำดับที่สาม ได้แก่ ด้านทัศนคติของผู้บังคับบัญชา ลำดับที่สี่ ด้านการสื่อสาร วัสดุอุปกรณ์และเครื่องมือเครื่องใช้ โดยทั้งสี่ลำดับนี้ เป็นปัจจัยที่ผู้ตอบแบบอบถามให้ความสำคัญอยู่ระดับมาก ลำดับที่สี่ ได้แก่ ด้านอัตรากำลังเจ้าหน้าที่ และลำดับสุดท้าย ได้แก่ ด้านการจัดสรรงบประมาณ เป็นปัจจัยที่ผู้ตอบแบบสอบถามให้ความสำคัญอยู่ในระดับปานกลาง ข้อเสนอแนะในการนำผลการศึกษาค้นคว้าไปใช้ คือ ส่งเสริมและสนับสนุนให้ข้าราชการตำรวจที่ปฏิบัติงานการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีมีความพร้อมในการปฏิบัติงาน โดยการพัฒนาศักยภาพและส่งเสริมให้มีความพร้อมในเรื่องการสร้างประสบการณ์ในการทำงานด้านการป้องกันและการปราบปรามการค้าประเวณี การเสริมรายได้ไปพร้อม ๆ กับการวางแผนการใช้จ่ายต่อเดือน ส่งเสริมให้ลาศึกษาต่อและฝึกอบรมในด้านที่เกี่ยวข้อง สนับสนุนให้ปฏิบัติงานในหน่วยงานที่เหมาะสม และส่งเสริมให้มีความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน รวมทั้งส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการดำเนินงานใน ปัจจัยต่าง ๆ คือ ปัจจัยทางด้านนโยบาย ด้านมาตรการการปฏิบัติ
ด้านกฎหมาย ด้านงบประมาณ ด้านการบริหารจัดการ และด้านบุคลากร ได้แก่ การทบทวนนโยบาย มาตรการ การจัดระบบขั้นตอนที่เกี่ยวข้องให้เอื้อต่อการปฏิบัติงานการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณี การให้รางวัลและการคุ้มครองเป็นพิเศษแก่เจ้าหน้าที่ของภาครัฐและประชาชนที่ให้ความร่วมมือในการปราบปรามการค้าประเวณี การประชาสัมพันธ์ให้ความรู้การป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีและการแสวงหาแนวร่วมภาคประชาชน ในการป้องกันปราบปรามการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีให้มากขึ้น โดยการสร้างความร่วมมือกับองค์การ ภาคีต่าง ๆ ทั้ง ภาครัฐ ประชาชน ชุมชน และภาคเอกชน การเตรียมความพร้อมของบุคลากรทั้งจำนวนที่เหมาะสมและการพัฒนาศักยภาพให้บุคลากรมีความรู้ความสามารถในการดำเนินงาน ตลอดจนมีความพร้อมทั้งทางร่างกาย จิตใจ สังคมCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26537 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000591790 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-16 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000591808 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-16 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available การจัดการข้อมูลในการบริการสุขภาพสำหรับกลุ่มผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง / รสสคุนธ์ วาริทสกุล in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 ([05/23/2017])
[article]
Title : การจัดการข้อมูลในการบริการสุขภาพสำหรับกลุ่มผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง Original title : Data management in healtcare delivery for chronic kidney disease patients Material Type: printed text Authors: รสสคุนธ์ วาริทสกุล, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.6-14 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 [05/23/2017] . - p.6-14Keywords: การจัดการข้อมูล.การบริการสุขภาพ.โรคไตเรื้อรัง.ผู้ป่วยโรตไตเรื้อรัง.Chronic kidney disease patients. Abstract: ปัจจุบัน พยาบาลมักเผชิญปัญหาในการจัดการกับข้อมูลที่เกิดจากการให้บริการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง หากพยาบาลสามารถจัดการกับข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ จะช่วยให้พยาบาลสามารถให้บริการสุขภาพที่รวดเร็ว ลดความซ้ำซ้อนทำให้เกิดการพัฒนาคุณภาพของระบบบริการสุขภาพอย่างต่อเนื่องเพื่อให้สามารถตอบสนองความต้องการของผู้ป่วยได้มากยิ่งขึ้น บทความนี้จึงมีวัตถุประสงค์ในการอธิบายกระบวนการจัดการกับข้อมูลที่เกิดขึ้นจากการให้บริการสุขภาพสำหรับกลุ่มผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังให้เป็นสารสนเทศทางสุขภาพที่สามารถนำไปใช้ในกระบวนการพัฒนาคุณภาพบริการต่อไป กระบวนการจัดการข้อมูลประกอบด้วย การกำหนดชุดข้อมูลจำเป็น การเก็บรวบรวมข้อมูลสุขภาพเพื่อการจัดการข้อมูล การสร้างฐานข้อมูลสุขภาพขนาดเล็ก การประมวลผลข้อมูล และการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศไปใช้เพื่อการพัฒนาคุณภาพการบริการ ดังนั้น เพื่อให้การจัดการข้อมูลสุขภาพมีความหมายและใช้ประโยชน์ได้มากขึ้น พยาบาลจะต้องให้ความสำคัญกับการเตรียมรวบรวมข้อมูล ตลอดจนขั้นตอนการจัดเก็บข้อมูลให้สอดคล้องกับวิธีที่จะวิเคราะห์ข้อมูลต่อไป Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26735 [article] การจัดการข้อมูลในการบริการสุขภาพสำหรับกลุ่มผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง = Data management in healtcare delivery for chronic kidney disease patients [printed text] / รสสคุนธ์ วาริทสกุล, Author . - 2017 . - p.6-14.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 [05/23/2017] . - p.6-14Keywords: การจัดการข้อมูล.การบริการสุขภาพ.โรคไตเรื้อรัง.ผู้ป่วยโรตไตเรื้อรัง.Chronic kidney disease patients. Abstract: ปัจจุบัน พยาบาลมักเผชิญปัญหาในการจัดการกับข้อมูลที่เกิดจากการให้บริการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง หากพยาบาลสามารถจัดการกับข้อมูลได้อย่างมีประสิทธิภาพ จะช่วยให้พยาบาลสามารถให้บริการสุขภาพที่รวดเร็ว ลดความซ้ำซ้อนทำให้เกิดการพัฒนาคุณภาพของระบบบริการสุขภาพอย่างต่อเนื่องเพื่อให้สามารถตอบสนองความต้องการของผู้ป่วยได้มากยิ่งขึ้น บทความนี้จึงมีวัตถุประสงค์ในการอธิบายกระบวนการจัดการกับข้อมูลที่เกิดขึ้นจากการให้บริการสุขภาพสำหรับกลุ่มผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังให้เป็นสารสนเทศทางสุขภาพที่สามารถนำไปใช้ในกระบวนการพัฒนาคุณภาพบริการต่อไป กระบวนการจัดการข้อมูลประกอบด้วย การกำหนดชุดข้อมูลจำเป็น การเก็บรวบรวมข้อมูลสุขภาพเพื่อการจัดการข้อมูล การสร้างฐานข้อมูลสุขภาพขนาดเล็ก การประมวลผลข้อมูล และการนำเสนอข้อมูลสารสนเทศไปใช้เพื่อการพัฒนาคุณภาพการบริการ ดังนั้น เพื่อให้การจัดการข้อมูลสุขภาพมีความหมายและใช้ประโยชน์ได้มากขึ้น พยาบาลจะต้องให้ความสำคัญกับการเตรียมรวบรวมข้อมูล ตลอดจนขั้นตอนการจัดเก็บข้อมูลให้สอดคล้องกับวิธีที่จะวิเคราะห์ข้อมูลต่อไป Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26735 การจัดการความเจ็บป่วยของตนเองในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง / กันยารัตน์ มาเกตุ / บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร - 2552
Title : การจัดการความเจ็บป่วยของตนเองในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง : ที่มีการฟื้นความสามารถ Original title : Self management on illness among the recovery stroke patients Material Type: printed text Authors: กันยารัตน์ มาเกตุ, Author Publisher: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร Publication Date: 2552 Pagination: 126 แผ่น Layout: ตาราง. Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย. ม [การพยาบาลเวชปฎิบัติชุมชน]] -- มหาวิทยาลัยนเรศวร 2552 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ความเจ็บปวด -- การบำบัด
[LCSH]ผู้ป่วย -- การดูแล
[LCSH]หลอดเลือดสมอง -- โรคKeywords: โรคหลอดเลือดสมอง.
ผู้ป่วย.
การดูแลตนเอง.Class number: WL355 ก156 2552 Abstract: ศึกษาความหมายและวิธีการจัดการกับความเจ็บป่วยตามมุมองของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดทีี่มีการฟื้นความสามารถ กลุ่มผู้ให้ข้อมูลหลัก คือ ผู้ที่ได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์ว่าเป็นโรคหลอดเลือดสมองที่มารับบริการรักษาพยาบาลที่โรงพยาบาลวัดโบสถ์จังหวัดพิษณุโลก และมีการฟื้นความสามารถโดยการผ่านการประเมินระดับความสามารถในการปฎิบัติกิจวัตรประจำวันอยู่ในเกณฑ์ 75-100 คะแนน จำนวน 13 คน ใช้วิธีการสัมภาษณ์ระดับลึก เครื่องมือที่ใช้คือ แนวคำถามปลายเปิด เก็บรวบรวมข้อมูลระหว่างเดือนมีนาคม - พฤษภาคม 2551 วิเคราะห์ข้อมูลโดยวิเคราะห์เชิงเนื้อหา (Content anlysis) ตามแนวคิดของ Burnard ผลการศึกษาพบว่า
1. ผู้ให้ข้อมูลได้ให้ความหมายต่อภาวะเจ็บป่วย 3 ความหมาย คือ เป็นโรคที่ตายทั้งเป็น หรือเหมือนคนที่ตายแล้ว โรคเวรโรคกรรมและโรคที่ต้องพึ่งพาเป็นภาระให้กับผู้อื่น 2. ความรู้สึกต่อการเจ็บป่วยนั้นผู้ให้ข้อมูลมีความรู้สึกว่า เป็นชั่วคราวมีความหวังจะหาย เครียด อารมณ์หงุดหงิดที่ดูแลตัวเองไม่ได้และไม่อยากให้เป็นภาระกับผู้อื่น อยากเอาชนะคำสบประมาท 3. วิธีการจัดการกับความเจ็บป่วยนั้นพบว่า ได้จัีดการกับความทุกข์ทั้งทางร่างกายและจิตใจด้วยการทำใจให้ยอมรับ คิดให้ชีวิตมีความหวัง หาวิธีผ่อนคลายความเครียด คิดเชิงบวกต่อความเจ็บป่วย พยายามช่วยเหลือตนเอง และออกกำลังกายฟื้นฟูร่างกายอย่างต่อเนื่อง ปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตให้สอดคล้องกัีบสภาพร่างกายอันได้แก่ การเลือกและจำกัดอาหาร นอนหลับพักผ่อนอย่างเพียงพอ ใช้การแพทย์แผยไทย แสวงหาวิธีการรักษาต่าง ๆ มาทดลองใช้ รับการรักษษกับแพทย์แผนปัจจุบันอย่างต่อเนื่อง และเมื่อฟื้นหาย ได้คงวิถีชีวิตที่ดี การปฎิบัติงานช่วยเหลือชุมชนด้วยจิตอาสาCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23201 การจัดการความเจ็บป่วยของตนเองในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง = Self management on illness among the recovery stroke patients : ที่มีการฟื้นความสามารถ [printed text] / กันยารัตน์ มาเกตุ, Author . - [S.l.] : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2552 . - 126 แผ่น : ตาราง. ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย. ม [การพยาบาลเวชปฎิบัติชุมชน]] -- มหาวิทยาลัยนเรศวร 2552
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ความเจ็บปวด -- การบำบัด
[LCSH]ผู้ป่วย -- การดูแล
[LCSH]หลอดเลือดสมอง -- โรคKeywords: โรคหลอดเลือดสมอง.
ผู้ป่วย.
การดูแลตนเอง.Class number: WL355 ก156 2552 Abstract: ศึกษาความหมายและวิธีการจัดการกับความเจ็บป่วยตามมุมองของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดทีี่มีการฟื้นความสามารถ กลุ่มผู้ให้ข้อมูลหลัก คือ ผู้ที่ได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์ว่าเป็นโรคหลอดเลือดสมองที่มารับบริการรักษาพยาบาลที่โรงพยาบาลวัดโบสถ์จังหวัดพิษณุโลก และมีการฟื้นความสามารถโดยการผ่านการประเมินระดับความสามารถในการปฎิบัติกิจวัตรประจำวันอยู่ในเกณฑ์ 75-100 คะแนน จำนวน 13 คน ใช้วิธีการสัมภาษณ์ระดับลึก เครื่องมือที่ใช้คือ แนวคำถามปลายเปิด เก็บรวบรวมข้อมูลระหว่างเดือนมีนาคม - พฤษภาคม 2551 วิเคราะห์ข้อมูลโดยวิเคราะห์เชิงเนื้อหา (Content anlysis) ตามแนวคิดของ Burnard ผลการศึกษาพบว่า
1. ผู้ให้ข้อมูลได้ให้ความหมายต่อภาวะเจ็บป่วย 3 ความหมาย คือ เป็นโรคที่ตายทั้งเป็น หรือเหมือนคนที่ตายแล้ว โรคเวรโรคกรรมและโรคที่ต้องพึ่งพาเป็นภาระให้กับผู้อื่น 2. ความรู้สึกต่อการเจ็บป่วยนั้นผู้ให้ข้อมูลมีความรู้สึกว่า เป็นชั่วคราวมีความหวังจะหาย เครียด อารมณ์หงุดหงิดที่ดูแลตัวเองไม่ได้และไม่อยากให้เป็นภาระกับผู้อื่น อยากเอาชนะคำสบประมาท 3. วิธีการจัดการกับความเจ็บป่วยนั้นพบว่า ได้จัีดการกับความทุกข์ทั้งทางร่างกายและจิตใจด้วยการทำใจให้ยอมรับ คิดให้ชีวิตมีความหวัง หาวิธีผ่อนคลายความเครียด คิดเชิงบวกต่อความเจ็บป่วย พยายามช่วยเหลือตนเอง และออกกำลังกายฟื้นฟูร่างกายอย่างต่อเนื่อง ปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตให้สอดคล้องกัีบสภาพร่างกายอันได้แก่ การเลือกและจำกัดอาหาร นอนหลับพักผ่อนอย่างเพียงพอ ใช้การแพทย์แผยไทย แสวงหาวิธีการรักษาต่าง ๆ มาทดลองใช้ รับการรักษษกับแพทย์แผนปัจจุบันอย่างต่อเนื่อง และเมื่อฟื้นหาย ได้คงวิถีชีวิตที่ดี การปฎิบัติงานช่วยเหลือชุมชนด้วยจิตอาสาCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23201 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354785 WL355 ก156 2552 Thesis Main Library Thesis Corner Available การจัดการอาการในผู้ป่วยมะเร็งปอดระยะลุกลาม / สุชาวดี รุ่งแจ้ง in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก, Vol.27 No.2 (ก.ค-ธ.ค) 2559/2016 ([11/16/2017])
[article]
Title : การจัดการอาการในผู้ป่วยมะเร็งปอดระยะลุกลาม Original title : สุชาวดี รุ่งแจ้ง, รัชนี นามจันทรา Material Type: printed text Authors: สุชาวดี รุ่งแจ้ง, Author ; รัชนี นามจันทรา, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.43-57 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก > Vol.27 No.2 (ก.ค-ธ.ค) 2559/2016 [11/16/2017] . - p.43-57Keywords: ผู้ป่วยมะเร็งปอด.มะเร็งปอดระยะลุกลาม.อาการ.วิธีการจัดการอาการ. Abstract: การวิจัยเชิงบรรยายนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) อาการ และความรุนแรงของอาการในผู้ป่วยมะเร็งปอดระยะลุกลาม และ 2) วิธีการจัดการอาการ และผลลัพธ์ของการจัดการอาการในผู้ป่วยมะเร็งปอดระยะลุกลาม
กลุ่มตัวอย่างเลือกอย่างเฉพาะเจาะจงจากผู้ป่วยมะเร็งปอดระยะลุกลามที่มารับบริการ ณ หน่วยผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลจุฬาภรณ์ จำนวน 83 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล แบบบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับความเจ็บป่วย และแบบสัมภาษณ์อาการ ความรุนแรงของอาการ วิธีการจัดการอาการ และผลลัพธ์ของการจัดการอาการ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงบรรยาย และการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา
ผลการวิจัย พบว่า อาการที่พบบ่อย 5 อันดับแรก ได้แก่ ปวด ไอ เหนื่อยล้า หายใจลำบาก และเบื่ออาหาร เรียงลำดับตามความรุนแรงในอาการที่พบบ่อยได้เป็น เบื่ออาหาร ปวด เหนื่อยล้า หายใจลำบาก และไอ ตามลำดับ โดยอาการปวดเป็นอาการที่พบบ่อยที่สุด ในขณะที่อาการเบื่ออาหารมีค่าเฉลี่ยความรุนแรงสูงที่สุด ผู้ป่วยมะเร็งปอดระยะลุกลามใช้วิธีการหลายๆ วิธีในการจัดการอาการแต่ละอาการ วิธีการจัดการอาการที่พบบ่อย 5 อันดับแรก มีดังนี้ 1) อาการปวด ใช้วิธีการรับประทานยาแก้ปวดทุกครั้งที่มีอาการ 2) อาการไอ ใช้วิธีจิบน้ำอุ่น/ดื่มน้ำ และรับประทานยาละลายเสมหะ 3) อาการเหนื่อยล้า ใช้วิธีการนั่งพัก/นอนพักช่วงกลางวัน 4) อาการหายใจลำบาก ใช้วิธีการนั่งพัก/นอนพัก และ 5) อาการเบื่ออาหาร ใช้วิธีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานอาหาร เช่น รับประทานอาหารหรือผลไม้ที่มีรสเปรี้ยว หรือดื่มเครื่องดื่มอาหารเสริมระหว่างมื้ออาหาร ผลลัพธ์ของการจัดการอาการของผู้ป่วยโดยรวมเป็นไปในทางที่ดี คือ มีอาการทุเลา
ผลการศึกษานี้เป็นข้อมูลในการวางแผนการพยาบาลผู้ป่วยมะเร็งปอดระยะลุกลาม เพื่อลดความรุนแรงและบรรเทาอาการจากโรค ในการให้ข้อมูล ให้คำปรึกษา รวมทั้งสนับสนุนให้ผู้ป่วยและญาติมีการจัดการอาการด้วยตนเองให้สอดคล้องกับความต้องการในการดำเนินชีวิตประจำวัน เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของผู้ป่วยมะเร็งปอดระยะลุกลาม
Link for e-copy: http://www.thaicvtnurse.org/index.php?option=com Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27488 [article] การจัดการอาการในผู้ป่วยมะเร็งปอดระยะลุกลาม = สุชาวดี รุ่งแจ้ง, รัชนี นามจันทรา [printed text] / สุชาวดี รุ่งแจ้ง, Author ; รัชนี นามจันทรา, Author . - 2017 . - p.43-57.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก > Vol.27 No.2 (ก.ค-ธ.ค) 2559/2016 [11/16/2017] . - p.43-57Keywords: ผู้ป่วยมะเร็งปอด.มะเร็งปอดระยะลุกลาม.อาการ.วิธีการจัดการอาการ. Abstract: การวิจัยเชิงบรรยายนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) อาการ และความรุนแรงของอาการในผู้ป่วยมะเร็งปอดระยะลุกลาม และ 2) วิธีการจัดการอาการ และผลลัพธ์ของการจัดการอาการในผู้ป่วยมะเร็งปอดระยะลุกลาม
กลุ่มตัวอย่างเลือกอย่างเฉพาะเจาะจงจากผู้ป่วยมะเร็งปอดระยะลุกลามที่มารับบริการ ณ หน่วยผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลจุฬาภรณ์ จำนวน 83 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคล แบบบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับความเจ็บป่วย และแบบสัมภาษณ์อาการ ความรุนแรงของอาการ วิธีการจัดการอาการ และผลลัพธ์ของการจัดการอาการ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงบรรยาย และการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา
ผลการวิจัย พบว่า อาการที่พบบ่อย 5 อันดับแรก ได้แก่ ปวด ไอ เหนื่อยล้า หายใจลำบาก และเบื่ออาหาร เรียงลำดับตามความรุนแรงในอาการที่พบบ่อยได้เป็น เบื่ออาหาร ปวด เหนื่อยล้า หายใจลำบาก และไอ ตามลำดับ โดยอาการปวดเป็นอาการที่พบบ่อยที่สุด ในขณะที่อาการเบื่ออาหารมีค่าเฉลี่ยความรุนแรงสูงที่สุด ผู้ป่วยมะเร็งปอดระยะลุกลามใช้วิธีการหลายๆ วิธีในการจัดการอาการแต่ละอาการ วิธีการจัดการอาการที่พบบ่อย 5 อันดับแรก มีดังนี้ 1) อาการปวด ใช้วิธีการรับประทานยาแก้ปวดทุกครั้งที่มีอาการ 2) อาการไอ ใช้วิธีจิบน้ำอุ่น/ดื่มน้ำ และรับประทานยาละลายเสมหะ 3) อาการเหนื่อยล้า ใช้วิธีการนั่งพัก/นอนพักช่วงกลางวัน 4) อาการหายใจลำบาก ใช้วิธีการนั่งพัก/นอนพัก และ 5) อาการเบื่ออาหาร ใช้วิธีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการรับประทานอาหาร เช่น รับประทานอาหารหรือผลไม้ที่มีรสเปรี้ยว หรือดื่มเครื่องดื่มอาหารเสริมระหว่างมื้ออาหาร ผลลัพธ์ของการจัดการอาการของผู้ป่วยโดยรวมเป็นไปในทางที่ดี คือ มีอาการทุเลา
ผลการศึกษานี้เป็นข้อมูลในการวางแผนการพยาบาลผู้ป่วยมะเร็งปอดระยะลุกลาม เพื่อลดความรุนแรงและบรรเทาอาการจากโรค ในการให้ข้อมูล ให้คำปรึกษา รวมทั้งสนับสนุนให้ผู้ป่วยและญาติมีการจัดการอาการด้วยตนเองให้สอดคล้องกับความต้องการในการดำเนินชีวิตประจำวัน เพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของผู้ป่วยมะเร็งปอดระยะลุกลาม
Link for e-copy: http://www.thaicvtnurse.org/index.php?option=com Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27488 การประยุกต์ทฤษฎีการสื่อสารในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ / ชินีเพ็ญ มะลิสุวรรณ / ยะลา: เอสพริ้นท์ (2004) - 2561
Title : การประยุกต์ทฤษฎีการสื่อสารในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ Material Type: printed text Authors: ชินีเพ็ญ มะลิสุวรรณ, Author Publisher: ยะลา: เอสพริ้นท์ (2004) Publication Date: 2561 Pagination: ง, 110 น. Layout: ภาพประกอบ Size: 25.4 ซ.ม. Price: - General note: การสื่อสารเพื่อสร้างความสมานฉันท์ในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ สิ่งสำคัญจะต้องใช้การสื่อสารแบบบูรณาการระหว่างเจ้าหน้าที่รัฐ ผู้ทำงานด้านสื่อ และผู้นำ ในบทบาทผู้ส่งสารด้วยการปฏิบัติหน้าที่อย่างจริงใจและโปร่งใสเพื่อสร้างความน่าเชื่อถือ ในการสื่อสารจะต้องให้ความรู้เกี่ยวกับวิถีชีวิตของประชาชนในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยเฉพาะวิถีชีวิตของชาวมุสลิม ในเรื่องการศึกษา ศาสนา ประเพณี วัฒนธรรมและข้อมูลเกี่ยวกับความไม่สงบในพื้นที่ มีการใช้สื่อและวิธีการที่หลากหลายซึ่งประชาชนในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ในฐานะผู้รับสารจะต้องมีความรู้ในการวิเคราะห์ข้อมูลข่าวสารจากผู้ส่งสาร เพื่อให้เกิดความไว้วางใจนำไปสู่ความสมานฉันท์ในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การพัฒนาชุมชน -- ไทย (ภาคใต้)
[LCSH]การสื่อสาร
[LCSH]การสื่อสาร -- แง่สังคม
[LCSH]การสื่อสารทางการพัฒนาเศรษฐกิจ
[LCSH]การสื่อสารในการพัฒนาชุมชนKeywords: การพัฒนาชุมชน, การสื่อสาร, พื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ Class number: P92.T5 ช573 2561 Contents note: บทที่ 1 บทนำ -- มิติการพัฒนาพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ -- บริบทของการสื่อสารในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ -- สรุปท้ายบท -- บทที่ 2 การประยุกต์ทฤษฎีการสื่อสารเพื่อสร้างความมั่นคง -- ความไว้วางใจ -- การมีส่วนร่วม -- การเปิดพื้นที่สร้างความเข้าใจประวัติศาสตร์ -- สันติวิธี -- การแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารระหว่างกัน -- การให้อภัยต่อกัน -- ความโปร่งใส -- ความยุติธรรม -- การเปิดเผยความจริง -- สรุปท้ายบท -- บทที่ 3 การประยุกต์ทฤษฎีการสื่อสารเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต -- ความก้าวหน้าการพัฒนาคนในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ -- การประยุกต์ทฤษฎีการสื่อสารเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต -- สรุปท้ายบท Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28469 การประยุกต์ทฤษฎีการสื่อสารในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ [printed text] / ชินีเพ็ญ มะลิสุวรรณ, Author . - [S.l.] : ยะลา: เอสพริ้นท์ (2004), 2561 . - ง, 110 น. : ภาพประกอบ ; 25.4 ซ.ม.
-
การสื่อสารเพื่อสร้างความสมานฉันท์ในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ สิ่งสำคัญจะต้องใช้การสื่อสารแบบบูรณาการระหว่างเจ้าหน้าที่รัฐ ผู้ทำงานด้านสื่อ และผู้นำ ในบทบาทผู้ส่งสารด้วยการปฏิบัติหน้าที่อย่างจริงใจและโปร่งใสเพื่อสร้างความน่าเชื่อถือ ในการสื่อสารจะต้องให้ความรู้เกี่ยวกับวิถีชีวิตของประชาชนในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ โดยเฉพาะวิถีชีวิตของชาวมุสลิม ในเรื่องการศึกษา ศาสนา ประเพณี วัฒนธรรมและข้อมูลเกี่ยวกับความไม่สงบในพื้นที่ มีการใช้สื่อและวิธีการที่หลากหลายซึ่งประชาชนในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ในฐานะผู้รับสารจะต้องมีความรู้ในการวิเคราะห์ข้อมูลข่าวสารจากผู้ส่งสาร เพื่อให้เกิดความไว้วางใจนำไปสู่ความสมานฉันท์ในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การพัฒนาชุมชน -- ไทย (ภาคใต้)
[LCSH]การสื่อสาร
[LCSH]การสื่อสาร -- แง่สังคม
[LCSH]การสื่อสารทางการพัฒนาเศรษฐกิจ
[LCSH]การสื่อสารในการพัฒนาชุมชนKeywords: การพัฒนาชุมชน, การสื่อสาร, พื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ Class number: P92.T5 ช573 2561 Contents note: บทที่ 1 บทนำ -- มิติการพัฒนาพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ -- บริบทของการสื่อสารในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ -- สรุปท้ายบท -- บทที่ 2 การประยุกต์ทฤษฎีการสื่อสารเพื่อสร้างความมั่นคง -- ความไว้วางใจ -- การมีส่วนร่วม -- การเปิดพื้นที่สร้างความเข้าใจประวัติศาสตร์ -- สันติวิธี -- การแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารระหว่างกัน -- การให้อภัยต่อกัน -- ความโปร่งใส -- ความยุติธรรม -- การเปิดเผยความจริง -- สรุปท้ายบท -- บทที่ 3 การประยุกต์ทฤษฎีการสื่อสารเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต -- ความก้าวหน้าการพัฒนาคนในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนภาคใต้ -- การประยุกต์ทฤษฎีการสื่อสารเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต -- สรุปท้ายบท Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28469 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607734 P92.T5 ช573 2561 Book Main Library General Shelf Available การประเมินความต้องการจำเป็นของความผาสุกทางจิตวิญญาณ ในผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอ คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช / บุญทิวา สุวิทย์ in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 ([08/21/2017])
[article]
Title : การประเมินความต้องการจำเป็นของความผาสุกทางจิตวิญญาณ ในผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอ คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช Material Type: printed text Authors: บุญทิวา สุวิทย์, Author ; ขจี พงศธรวิบูลย์, Author ; ชูจิต หวังขจรเกียรติ, Author ; สุณี พนาสกุลการ, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.194-202 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.194-202Keywords: การประเมินความต้องการจำเป็น. ความผาสุกทางจิตวิญญาณ. ผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอ. Needs assessment. spiritual well-being. Head and neck cancer patients. Abstract: การวิจัยนี้เป็นการวิจัยแบบพรรณนาเชิงประเมิน ศึกษาในผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอที่เข้ามารับการรักษาในหอผู้ป่วยโสต ศอ นาสิก คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราชจำนวน 86 คน เครื่องมือ ที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบ ประเมินความต้องการจำเป็นของความผาสุกทางจิตวิญญาณในผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอ ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา (content validity) มีค่า IOC = 1 ค่าความเชื่อมั่น (reliability) มีค่าสัมประสิทธิ์แอลฟา (Cronbach’s Alpha Coefficient) = 0.763 วิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงพรรณนา และ กำหนดความต้องการจำเป็นโดยใช้สูตร Prioritization Needs Index (PNIModified) ผลการวิจัยพบว่าความผาสุกทางจิตวิญญาณในผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอ ภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( = 3.86, SD = 0.52) และทุกองค์ประกอบของความผาสุกทางจิตวิญญาณอยู่ในระดับมาก อย่างไรก็ตามผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอมีความ ต้องการจำเป็นของความผาสุกทางจิตวิญญาณ 3 อันดับแรกคือ 1) รู้สึกว้าวุ่นใจ กระวนกระวายใจ และไม่มีความสุข ตั้งแต่รับรู้ว่า ตนเองเจ็บป่วย (PNIModified = 0.86) 2) แม้จะได้รับการรักษาแล้วแต่เมื่อโรคมีอาการรุนแรงขึ้น ก็ยังคงรู้สึกทุกข์ทรมานใจมากขึ้น (PNIModified = 0.77) และ 3) รู้สึกกลัวทุกครั้งเมื่อนึกถึงความเจ็บป่วยที่รุนแรง (PNIModified = 0.70) Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27243 [article] การประเมินความต้องการจำเป็นของความผาสุกทางจิตวิญญาณ ในผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอ คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช [printed text] / บุญทิวา สุวิทย์, Author ; ขจี พงศธรวิบูลย์, Author ; ชูจิต หวังขจรเกียรติ, Author ; สุณี พนาสกุลการ, Author . - 2017 . - p.194-202.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.194-202Keywords: การประเมินความต้องการจำเป็น. ความผาสุกทางจิตวิญญาณ. ผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอ. Needs assessment. spiritual well-being. Head and neck cancer patients. Abstract: การวิจัยนี้เป็นการวิจัยแบบพรรณนาเชิงประเมิน ศึกษาในผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอที่เข้ามารับการรักษาในหอผู้ป่วยโสต ศอ นาสิก คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราชจำนวน 86 คน เครื่องมือ ที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบ ประเมินความต้องการจำเป็นของความผาสุกทางจิตวิญญาณในผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอ ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา (content validity) มีค่า IOC = 1 ค่าความเชื่อมั่น (reliability) มีค่าสัมประสิทธิ์แอลฟา (Cronbach’s Alpha Coefficient) = 0.763 วิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติเชิงพรรณนา และ กำหนดความต้องการจำเป็นโดยใช้สูตร Prioritization Needs Index (PNIModified) ผลการวิจัยพบว่าความผาสุกทางจิตวิญญาณในผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอ ภาพรวมอยู่ในระดับมาก ( = 3.86, SD = 0.52) และทุกองค์ประกอบของความผาสุกทางจิตวิญญาณอยู่ในระดับมาก อย่างไรก็ตามผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอมีความ ต้องการจำเป็นของความผาสุกทางจิตวิญญาณ 3 อันดับแรกคือ 1) รู้สึกว้าวุ่นใจ กระวนกระวายใจ และไม่มีความสุข ตั้งแต่รับรู้ว่า ตนเองเจ็บป่วย (PNIModified = 0.86) 2) แม้จะได้รับการรักษาแล้วแต่เมื่อโรคมีอาการรุนแรงขึ้น ก็ยังคงรู้สึกทุกข์ทรมานใจมากขึ้น (PNIModified = 0.77) และ 3) รู้สึกกลัวทุกครั้งเมื่อนึกถึงความเจ็บป่วยที่รุนแรง (PNIModified = 0.70) Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27243 การประเมินความเสี่ยงและการจัดการแผลที่เท้าในผู้ป่วยเบาหวาน / รุ่งศักดิ์ ศิรินิยมชัย in วารสารพยาบาลสาธารณสุข, Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 ([02/08/2017])
[article]
Title : การประเมินความเสี่ยงและการจัดการแผลที่เท้าในผู้ป่วยเบาหวาน : บทบาทพยาบาล Original title : Assessment of foot ulcer risk and nursing management in patients with diabetess the role of nurses Material Type: printed text Authors: รุ่งศักดิ์ ศิรินิยมชัย, Author ; พิมผกา ปัญโญใหญ่, Author ; สรัญญา พิจารณ์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.145-155 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสาธารณสุข > Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 [02/08/2017] . - p.145-155Keywords: ผู้ป่วยเบาหวาน.การจัดการแผลที่เท้า.การประเมินความเสี่ยง.บทบาทพยาบาล. Link for e-copy: http://phpn.ph.mahidol.ac.th/Journal/index.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26876 [article] การประเมินความเสี่ยงและการจัดการแผลที่เท้าในผู้ป่วยเบาหวาน = Assessment of foot ulcer risk and nursing management in patients with diabetess the role of nurses : บทบาทพยาบาล [printed text] / รุ่งศักดิ์ ศิรินิยมชัย, Author ; พิมผกา ปัญโญใหญ่, Author ; สรัญญา พิจารณ์, Author . - 2017 . - p.145-155.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสาธารณสุข > Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 [02/08/2017] . - p.145-155Keywords: ผู้ป่วยเบาหวาน.การจัดการแผลที่เท้า.การประเมินความเสี่ยง.บทบาทพยาบาล. Link for e-copy: http://phpn.ph.mahidol.ac.th/Journal/index.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26876 การประเมินประสิทธิผลของโปรแกรมการดูแลผู้ป่วยหลือดเลือดสมอง / สุปรีดา มั่นคง in วารสารพยาบาลสาธารณสุข, Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 ([02/08/2017])
[article]
Title : การประเมินประสิทธิผลของโปรแกรมการดูแลผู้ป่วยหลือดเลือดสมอง : และญาติผู้ดูแลในระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้าน Material Type: printed text Authors: สุปรีดา มั่นคง, Author ; ยุพาพิน ศิรโพธิ์งาม, Author ; สิริรัตน์ ลีลาจรัส, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.84-101 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสาธารณสุข > Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 [02/08/2017] . - p.84-101Keywords: ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง.ญาติผู้ดูแลผู้ป่วย.การดูแลระยะเปลี่ยนผ่าน.โรงพยาบาล. Abstract: เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง เพื่อศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง และญาติผู้ดูแลในระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้าน โดยการใช้การดูแลระยะเปลี่ยนผ่านตามแนวคิดของเนเลอร์ เป็นกรอบแนวคิดการวิจัย.
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ คือ กลุ่มผู้ป่วย และญาติผู้ดูแลตามเกณฑ์ แบ่งเป็นกลุ่มควบคุม 34 คู่ และกลุ่มทดลอง 40 คู่
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ
1)โปรแกรมการดูแลผู้ป่วยโรคหลือดเลือดสมองและญาติผู้ดูแลในระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้าน
2)แบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ป่วยและญาติผู้ดูแล
3)แบบประเมินความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน
4)แบบประเมินความพร้อมของญาติผู้ดูแล
5)แบบประเมินภาวะแทรกซ้อนของผู้ป่วย
6)แบบประเมินความมั่นใจในการดูแล
7)แบบประเมินความเครียดของญาติผู้ดูแล
8)แบบประเมินคุณภาพชีวิตของญาติผู้ดูแล
และ 9)แบบประเมินความพึงพอใจของผู้ป่วยและฐาติผู้ดูแล
ผลการศึกษา พบว่า ระยะ 1เ ดือน-3 เดือน หลังจำหน่าย ค่าเฉี่ยคะแนนความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวันของผู้ป่วย ความพร้อมของญาติผู้ดูแล และความพึงพอใจของผู้ป่วยและญาติผู้ดูแลในกลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และในระยะ 3 เดือนหลังจำหน่าย พบว่า ค่าเฉลี่ยคะแนนการปรับตัวและคุณภาพชีวิตของญาติผู้ดูแลในกลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
การศึกษาครั้งนี้ พบว่า โปรแกรมดังกล่าวสามารถนำไปปรับใช้กับการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองเสื่อมและญาติผู้ดูแลในระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้านได้Link for e-copy: http://phpn.ph.mahidol.ac.th/Journal/index.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26872 [article] การประเมินประสิทธิผลของโปรแกรมการดูแลผู้ป่วยหลือดเลือดสมอง : และญาติผู้ดูแลในระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้าน [printed text] / สุปรีดา มั่นคง, Author ; ยุพาพิน ศิรโพธิ์งาม, Author ; สิริรัตน์ ลีลาจรัส, Author . - 2017 . - p.84-101.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสาธารณสุข > Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 [02/08/2017] . - p.84-101Keywords: ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง.ญาติผู้ดูแลผู้ป่วย.การดูแลระยะเปลี่ยนผ่าน.โรงพยาบาล. Abstract: เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง เพื่อศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง และญาติผู้ดูแลในระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้าน โดยการใช้การดูแลระยะเปลี่ยนผ่านตามแนวคิดของเนเลอร์ เป็นกรอบแนวคิดการวิจัย.
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ คือ กลุ่มผู้ป่วย และญาติผู้ดูแลตามเกณฑ์ แบ่งเป็นกลุ่มควบคุม 34 คู่ และกลุ่มทดลอง 40 คู่
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ
1)โปรแกรมการดูแลผู้ป่วยโรคหลือดเลือดสมองและญาติผู้ดูแลในระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้าน
2)แบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ป่วยและญาติผู้ดูแล
3)แบบประเมินความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน
4)แบบประเมินความพร้อมของญาติผู้ดูแล
5)แบบประเมินภาวะแทรกซ้อนของผู้ป่วย
6)แบบประเมินความมั่นใจในการดูแล
7)แบบประเมินความเครียดของญาติผู้ดูแล
8)แบบประเมินคุณภาพชีวิตของญาติผู้ดูแล
และ 9)แบบประเมินความพึงพอใจของผู้ป่วยและฐาติผู้ดูแล
ผลการศึกษา พบว่า ระยะ 1เ ดือน-3 เดือน หลังจำหน่าย ค่าเฉี่ยคะแนนความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวันของผู้ป่วย ความพร้อมของญาติผู้ดูแล และความพึงพอใจของผู้ป่วยและญาติผู้ดูแลในกลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และในระยะ 3 เดือนหลังจำหน่าย พบว่า ค่าเฉลี่ยคะแนนการปรับตัวและคุณภาพชีวิตของญาติผู้ดูแลในกลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
การศึกษาครั้งนี้ พบว่า โปรแกรมดังกล่าวสามารถนำไปปรับใช้กับการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองเสื่อมและญาติผู้ดูแลในระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้านได้Link for e-copy: http://phpn.ph.mahidol.ac.th/Journal/index.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26872