From this page you can:
Home |
Search results
59 result(s) search for keyword(s) 'การขาย. เซลแมน. การจัดการ.'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
โรงเรียนเซลแมน / ราชศักดิ์ / กรุงเทพฯ : พิมพ์ดี - 2554
Title : โรงเรียนเซลแมน Material Type: printed text Authors: ราชศักดิ์, Author Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 1 Publisher: กรุงเทพฯ : พิมพ์ดี Publication Date: 2554 Pagination: 253 หน้่า. Size: 21 ซม. ISBN (or other code): 978-974-496-488-5 Price: บริจาค. (190.00) General note: จากประสบการณ์ของนักเขียนรางวัลพิเศษนายอินทร์อะวอร์ด ประเภทสารคดี ประจำปี 2546 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]Selling
[LCSH]Selling personnel
[LCSH]การขาย
[LCSH]การขาย -- การบริหาร
[LCSH]การจัดการขายKeywords: การขาย.
เซลแมน.
การจัดการ.Class number: HF5438.25 .T5 ร722 2554 Curricular : BALA/GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23352 โรงเรียนเซลแมน [printed text] / ราชศักดิ์, Author . - พิมพ์ครั้งที่ 1 . - กรุงเทพฯ : พิมพ์ดี, 2554 . - 253 หน้่า. ; 21 ซม.
ISBN : 978-974-496-488-5 : บริจาค. (190.00)
จากประสบการณ์ของนักเขียนรางวัลพิเศษนายอินทร์อะวอร์ด ประเภทสารคดี ประจำปี 2546
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]Selling
[LCSH]Selling personnel
[LCSH]การขาย
[LCSH]การขาย -- การบริหาร
[LCSH]การจัดการขายKeywords: การขาย.
เซลแมน.
การจัดการ.Class number: HF5438.25 .T5 ร722 2554 Curricular : BALA/GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23352 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000383974 HF5438.25 .T5 ร722 2554 Book Main Library General Shelf Available Old book collection. กระบวนการพยาบาล / สุระพรรณ พนมฤทธิ์ ; สุภาภรณ์ อุดมลักษณ์ ; สถาบันพระบรมราชชนก / นนทบุรี : โครงการสวัสดิการวิชาการ สถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข - 2543
Collection Title: Old book collection Title : กระบวนการพยาบาล Material Type: printed text Authors: สุระพรรณ พนมฤทธิ์ ; สุภาภรณ์ อุดมลักษณ์ ; สถาบันพระบรมราชชนก Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 2. Publisher: นนทบุรี : โครงการสวัสดิการวิชาการ สถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข Publication Date: 2543 Pagination: 155 หน้า Size: 23 cm. ISBN (or other code): 978-974-291-496-7 Price: 90.00 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การพยาบาล
[LCSH]การพยาบาล, การจัดการKeywords: การพยาบาล, การจัดการ Class number: RT41 Abstract: Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=22727 Old book collection. กระบวนการพยาบาล [printed text] / สุระพรรณ พนมฤทธิ์ ; สุภาภรณ์ อุดมลักษณ์ ; สถาบันพระบรมราชชนก . - พิมพ์ครั้งที่ 2. . - นนทบุรี : โครงการสวัสดิการวิชาการ สถาบันพระบรมราชชนก กระทรวงสาธารณสุข, 2543 . - 155 หน้า ; 23 cm.
ISBN : 978-974-291-496-7 : 90.00
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การพยาบาล
[LCSH]การพยาบาล, การจัดการKeywords: การพยาบาล, การจัดการ Class number: RT41 Abstract: Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=22727 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000479962 WY100.T3 ก218 2554 c.1 Book Main Library Library Counter Available 32002000479871 WY100.T3 ก218 2554 c.10 Book Main Library Library Counter Available 32002000479889 WY100.T3 ก218 2554 c.11 Book Main Library Library Counter Available 32002000479509 WY100.T3 ก218 2554 c.12 Book Main Library Library Counter Available 32002000479491 WY100.T3 ก218 2554 c.13 Book Main Library Library Counter Available 32002000479863 WY100.T3 ก218 2554 c.14 Book Main Library Library Counter Available 32002000479913 WY100.T3 ก218 2554 c.15 Book Main Library Library Counter Available 32002000479897 WY100.T3 ก218 2554 c.16 Book Main Library Library Counter Available 32002000479533 WY100.T3 ก218 2554 c.17 Book Main Library Library Counter Available 32002000479525 WY100.T3 ก218 2554 c.18 Book Main Library Library Counter Available 32002000479517 WY100.T3 ก218 2554 c.19 Book Main Library Library Counter Available 32002000479954 WY100.T3 ก218 2554 c.2 Book Main Library Library Counter Available 32002000479541 WY100.T3 ก218 2554 c.20 Book Main Library Library Counter Available 32002000409399 WY100.T3 ก218 2554 c.21 Book Main Library Library Counter Available 32002000409423 WY100.T3 ก218 2554 c.22 Book Main Library Library Counter Available 32002000409407 WY100.T3 ก218 2554 c.23 Book Main Library Library Counter Available 32002000409415 WY100.T3 ก218 2554 c.24 Book Main Library Library Counter Available 32002000409431 WY100.T3 ก218 2554 c.25 Book Main Library Library Counter Available 32002000409449 WY100.T3 ก218 2554 c.26 Book Main Library Library Counter Available 32002000409258 WY100.T3 ก218 2554 c.27 Book Main Library Library Counter Available 32002000369619 WY100.T3 ก218 2554 c.28 Book Main Library Library Counter Available 32002000409464 WY100.T3 ก218 2554 c.29 Book Main Library Library Counter Available 32002000479947 WY100.T3 ก218 2554 c.3 Book Main Library Library Counter Available 32002000479988 WY100.T3 ก218 2554 c.4 Book Main Library Library Counter Available 32002000479970 WY100.T3 ก218 2554 c.5 Book Main Library Library Counter Available 32002000479996 WY100.T3 ก218 2554 c.6 Book Main Library Library Counter Available 32002000480002 WY100.T3 ก218 2554 c.7 Book Main Library Library Counter Available 32002000479921 WY100.T3 ก218 2554 c.8 Book Main Library Library Counter Available 32002000479939 WY100.T3 ก218 2554 c.9 Book Main Library Library Counter Available Readers who borrowed this document also borrowed:
การประเมินภาวะสุขภาพสำหรับพยาบาล: การตรวจร่างกาย ภาสกร, เนตรทิพย์วัลย์ การพยาบาลชุมชน กีรดา, ไกรนุวัตร ตำราการตรวจรักษาทั่วไป 2 สุรเกียรติ อาชานานุภาพ Community / public health nursing Nies, Mary A. Old book collection. การจัดการเพื่อการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล / มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช บัณฑิตศึกษา สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์ / ศูนย์หนังสือ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช - 2555
Collection Title: Old book collection Title : การจัดการเพื่อการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล : หน่วยที่ 1-5 หน่วยที่ 6-10 และหน่วยที่ 11-15 Original title : Management for Quality Development in Hospital Material Type: printed text Authors: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช บัณฑิตศึกษา สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์, Author Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 1. Publisher: ศูนย์หนังสือ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช Publication Date: 2555 Pagination: 2 เล่ม. Layout: ภาพประกอบ. Size: 26 ซม. ISBN (or other code): 978-6-16-505903-9 General note: ISBN 9786165057660 (เล่มที่ 2)
ISBN 9786162057677 (เล่มที่ 3)Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การควบคุม, คุณภาพ -- การประชุม
[LCSH]การพยาบาล -- การจัดการคุณภาพ
[LCSH]การพยาบาล -- การประชุม
[LCSH]โรงพยาบาล -- การจัดการ
[LCSH]โรงพยาบาล -- การบริหารKeywords: การจัดการคุณภาพ.
การพยาบาล.Class number: WY16 ส747 2555 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23833 Old book collection. การจัดการเพื่อการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล = Management for Quality Development in Hospital : หน่วยที่ 1-5 หน่วยที่ 6-10 และหน่วยที่ 11-15 [printed text] / มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช บัณฑิตศึกษา สาขาวิชาพยาบาลศาสตร์, Author . - พิมพ์ครั้งที่ 1. . - [S.l.] : ศูนย์หนังสือ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2555 . - 2 เล่ม. : ภาพประกอบ. ; 26 ซม.
ISBN : 978-6-16-505903-9
ISBN 9786165057660 (เล่มที่ 2)
ISBN 9786162057677 (เล่มที่ 3)
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การควบคุม, คุณภาพ -- การประชุม
[LCSH]การพยาบาล -- การจัดการคุณภาพ
[LCSH]การพยาบาล -- การประชุม
[LCSH]โรงพยาบาล -- การจัดการ
[LCSH]โรงพยาบาล -- การบริหารKeywords: การจัดการคุณภาพ.
การพยาบาล.Class number: WY16 ส747 2555 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23833 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000386100 WY16 ส747 2555 v.1 Book Main Library Library Counter Available 32002000561181 WY16 ส747 2555 v.1 c.2 Book Main Library Library Counter Available 32002000561207 WY16 ส747 2555 v.1 c.3 Book Main Library Library Counter Available 32002000539500 WY16 ส747 2555 v.1 c.4 Book Main Library Library Counter Available 32002000539526 WY16 ส747 2555 v.1 c.5 Book Main Library Library Counter Available 32002000539369 WY16 ส747 2555 v.1 c.6 Book Main Library Library Counter Available 32002000386126 WY16 ส747 2555 v.2 Book Main Library Library Counter Available 32002000561231 WY16 ส747 2555 v.2 c.2 Book Main Library Library Counter Available 32002000561223 WY16 ส747 2555 v.2 c.3 Book Main Library Library Counter Available 32002000561215 WY16 ส747 2555 v.2 c.4 Book Main Library Library Counter Available 32002000561249 WY16 ส747 2555 v.2 c.5 Book Main Library Library Counter Available 32002000561199 WY16 ส747 2555 v.2 c.6 Book Main Library Library Counter Available 32002000265122 WY16 ส747 2555 v.2 c.7 Book Main Library Library Counter Available 32002000266666 WY16 ส747 2555 v.2 c.8 Book Main Library Library Counter Available 32002000265155 WY16 ส747 2555 v.2 c.9 Book Main Library Library Counter Available 32002000266823 WY16 ส747 2555 v.3 c.1 Book Main Library Library Counter Available 32002000266815 WY16 ส747 2555 v.3 c.2 Book Main Library Library Counter Available 32002000266807 WY16 ส747 2555 v.3 c.3 Book Main Library Library Counter Available Old book collection. สุขภาพคนไทย 2557 : ชุมชนท้องถิ่นจัดการตนเอง / มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันวิจัยประชากรและสังคม / 2557
Collection Title: Old book collection Title : สุขภาพคนไทย 2557 : ชุมชนท้องถิ่นจัดการตนเอง : สู่การปฏิรูปประเทศจากฐานราก Material Type: printed text Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันวิจัยประชากรและสังคม, Author Publication Date: 2557 Pagination: 120 หน้า Layout: ภาพประกอบ Size: 29 ซม. ISBN (or other code): 978-6-16-279457-5 Price: บริจาค. Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การจัดการชุมชน
[LCSH]การพัฒนาชุมชน -- การมีส่วนร่วมของประชาชน
[LCSH]การพัฒนาชุมชน -- ไทย
[LCSH]ข้าว -- นโยบายของรัฐ
[LCSH]ชุมชน -- การมีส่วนร่วมของประชาชน
[LCSH]ชุมชน -- การแก้ปัญหาKeywords: การพัฒนาชุมชน.
การจัดการชุมชน.
ข้าว.
นโยบายของรัฐ.Class number: WA100 ส743 2557 Contents note: 11 ตัวชี้วัด โรคอ้วน. -- 10 สถานการณ์เด่นทางสุขภาพ.-- 4 ผลงานดี ๆ เพื่อสุขภาพคนไทย.-- เรื่องพิเศษประจำฉบับ ชุมชนท้องถิ่นจัดการตนเอง สู่การปฎิรูปประเทศจากฐานราก.-- Curricular : BNS/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23813 Old book collection. สุขภาพคนไทย 2557 : ชุมชนท้องถิ่นจัดการตนเอง : สู่การปฏิรูปประเทศจากฐานราก [printed text] / มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันวิจัยประชากรและสังคม, Author . - 2557 . - 120 หน้า : ภาพประกอบ ; 29 ซม.
ISBN : 978-6-16-279457-5 : บริจาค.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การจัดการชุมชน
[LCSH]การพัฒนาชุมชน -- การมีส่วนร่วมของประชาชน
[LCSH]การพัฒนาชุมชน -- ไทย
[LCSH]ข้าว -- นโยบายของรัฐ
[LCSH]ชุมชน -- การมีส่วนร่วมของประชาชน
[LCSH]ชุมชน -- การแก้ปัญหาKeywords: การพัฒนาชุมชน.
การจัดการชุมชน.
ข้าว.
นโยบายของรัฐ.Class number: WA100 ส743 2557 Contents note: 11 ตัวชี้วัด โรคอ้วน. -- 10 สถานการณ์เด่นทางสุขภาพ.-- 4 ผลงานดี ๆ เพื่อสุขภาพคนไทย.-- เรื่องพิเศษประจำฉบับ ชุมชนท้องถิ่นจัดการตนเอง สู่การปฎิรูปประเทศจากฐานราก.-- Curricular : BNS/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23813 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000399061 WA100 ส743 2557 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000399053 WA100 ส743 2557 c.1 Book Main Library Nursing Shelf Available SIU RS-T. การศึกษาความเป็นไปได้ทางการเงินและการจัดการ แผงโซล่าเซลล์หลังหมดอายุการใช้งาน กรณีศึกษาโครงการหมู่บ้านจัดสรรเสนาพาร์คแกรนด์ รามอินทรา / สุริยาวุธ กิตติภูวดล / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU RS-T Title : การศึกษาความเป็นไปได้ทางการเงินและการจัดการ แผงโซล่าเซลล์หลังหมดอายุการใช้งาน กรณีศึกษาโครงการหมู่บ้านจัดสรรเสนาพาร์คแกรนด์ รามอินทรา Original title : Solar PV Rooftop Financial Feasibility and End-of-Life Management: A Case Study of Sena Park Grand Ramindhra Housing Project Material Type: printed text Authors: สุริยาวุธ กิตติภูวดล, Author ; ชัญญา โภคะสุวรรณ, Associated Name ; ปิยพร ณ นคร, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: vii, 69 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-05
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]พลังงานทดแทน
[LCSH]พลังงานแสงอาทิตย์Keywords: Solar Rooftop,
การจัดการแผงโซล่าเซลหลังหมดอายุการใช้งานAbstract: การศึกษาความเป็นไปได้ทางการเงินและการจัดการแผงโซล่าเซลหลังหมดอายุการใช้งานกรณีศึกษาโครงการหมู่บ้านจัดสรรเสนา พาร์ค แกรนด์ รามอินทรา เพื่อเป็นการแก้ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมและพลังงานทดแทน วัตถุประสงค์ของการศึกษาครั้งนี้เพื่อศึกษาสภาพทั่วไปของการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ที่ติดตั้งบนหลังคา (Solar PV Rooftop) และเพื่อศึกษาความเป็นไปได้ทางการเงินของโครงการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ที่ติดตั้งบนหลังคา (Solar PV Rooftop) ณ พื้นที่โครงการหมู่บ้านจัดสรรเสนา พาร์ค แกรนด์ รามอินทรา แขวงคันนายาว เขตคันนายาว จังหวัดกรุงเทพมหานคร การศึกษาใช้ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Data) ซึ่งเป็นข้อมูลจากการสอบถามบุคลากรของการไฟฟ้านครหลวง และการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ข้อมูลจากบริษัทเอกชน และข้อมูลจากคณะวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยศิลปากร ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) รวบรวมจากบทความ เอกสารวิชาการ รายงานประจำปี วารสาร และเว็บไซต์ของหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง การวิเคราะห์เป็นการวิเคราะห์เชิงพรรณนาและเชิงปริมาณ และวิธีการที่จะกำจัดแผงโซล่าเซล ในกรณีระยะเวลาของโครงการ 25 ปี โดยสามารถผลิตไฟฟ้าได้ 25 ปี ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2557 ถึง พ.ศ. 2581 ผลการศึกษาพบว่า โครงการคุ้มค่าน่าลงทุน ณ ระดับอัตราคิดลดร้อยละ 9.303 มูลค่าปัจจุบันสุทธิ 260,637.15 บาท อัตราผลตอบแทนภายในของโครงการเท่ากับร้อยละ 13.93 ต่อปีอัตราผลตอบแทนภายในของโครงการที่มีการปรับแล้วเท่ากับร้อยละ 10.69 ต่อปี อัตราส่วนผลประโยชน์ต่อต้นทุนเท่ากับ 1.25 อัตราส่วนระหว่างผลตอบแทนสุทธิต่อการลงทุนเท่ากับ 1.37 มีระยะเวลาคืนทุนของโครงการเท่ากับ 7 ปี ส่วนการทดสอบค่าความแปรเปลี่ยนของการลงทุนพบว่า
ผลตอบแทนของโครงการสามารถลดลงได้มากที่สุดร้อยละ 20.16 ต้นทุนเงินรวมสามารถเพิ่มขึ้นได้มากที่สุดร้อยละ 25.25 ต้นทุนการลงทุนของโครงการสามารถเพิ่มขึ้นได้มากที่สุด ร้อยละ 36.95 ต้นทุนการดำเนินงานของโครงการสามารถเพิ่มขึ้นได้มากที่สุดร้อยละ 79.76 แสดงให้เห็นว่าโครงการมีความเป็นไปได้ในการลงทุน ภายใต้ปัจจัยเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นCurricular : BSMT/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27186 SIU RS-T. การศึกษาความเป็นไปได้ทางการเงินและการจัดการ แผงโซล่าเซลล์หลังหมดอายุการใช้งาน กรณีศึกษาโครงการหมู่บ้านจัดสรรเสนาพาร์คแกรนด์ รามอินทรา = Solar PV Rooftop Financial Feasibility and End-of-Life Management: A Case Study of Sena Park Grand Ramindhra Housing Project [printed text] / สุริยาวุธ กิตติภูวดล, Author ; ชัญญา โภคะสุวรรณ, Associated Name ; ปิยพร ณ นคร, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - vii, 69 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-05
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]พลังงานทดแทน
[LCSH]พลังงานแสงอาทิตย์Keywords: Solar Rooftop,
การจัดการแผงโซล่าเซลหลังหมดอายุการใช้งานAbstract: การศึกษาความเป็นไปได้ทางการเงินและการจัดการแผงโซล่าเซลหลังหมดอายุการใช้งานกรณีศึกษาโครงการหมู่บ้านจัดสรรเสนา พาร์ค แกรนด์ รามอินทรา เพื่อเป็นการแก้ปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมและพลังงานทดแทน วัตถุประสงค์ของการศึกษาครั้งนี้เพื่อศึกษาสภาพทั่วไปของการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ที่ติดตั้งบนหลังคา (Solar PV Rooftop) และเพื่อศึกษาความเป็นไปได้ทางการเงินของโครงการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์ที่ติดตั้งบนหลังคา (Solar PV Rooftop) ณ พื้นที่โครงการหมู่บ้านจัดสรรเสนา พาร์ค แกรนด์ รามอินทรา แขวงคันนายาว เขตคันนายาว จังหวัดกรุงเทพมหานคร การศึกษาใช้ข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Data) ซึ่งเป็นข้อมูลจากการสอบถามบุคลากรของการไฟฟ้านครหลวง และการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ข้อมูลจากบริษัทเอกชน และข้อมูลจากคณะวิทยาศาสตร์
มหาวิทยาลัยศิลปากร ข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) รวบรวมจากบทความ เอกสารวิชาการ รายงานประจำปี วารสาร และเว็บไซต์ของหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง การวิเคราะห์เป็นการวิเคราะห์เชิงพรรณนาและเชิงปริมาณ และวิธีการที่จะกำจัดแผงโซล่าเซล ในกรณีระยะเวลาของโครงการ 25 ปี โดยสามารถผลิตไฟฟ้าได้ 25 ปี ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2557 ถึง พ.ศ. 2581 ผลการศึกษาพบว่า โครงการคุ้มค่าน่าลงทุน ณ ระดับอัตราคิดลดร้อยละ 9.303 มูลค่าปัจจุบันสุทธิ 260,637.15 บาท อัตราผลตอบแทนภายในของโครงการเท่ากับร้อยละ 13.93 ต่อปีอัตราผลตอบแทนภายในของโครงการที่มีการปรับแล้วเท่ากับร้อยละ 10.69 ต่อปี อัตราส่วนผลประโยชน์ต่อต้นทุนเท่ากับ 1.25 อัตราส่วนระหว่างผลตอบแทนสุทธิต่อการลงทุนเท่ากับ 1.37 มีระยะเวลาคืนทุนของโครงการเท่ากับ 7 ปี ส่วนการทดสอบค่าความแปรเปลี่ยนของการลงทุนพบว่า
ผลตอบแทนของโครงการสามารถลดลงได้มากที่สุดร้อยละ 20.16 ต้นทุนเงินรวมสามารถเพิ่มขึ้นได้มากที่สุดร้อยละ 25.25 ต้นทุนการลงทุนของโครงการสามารถเพิ่มขึ้นได้มากที่สุด ร้อยละ 36.95 ต้นทุนการดำเนินงานของโครงการสามารถเพิ่มขึ้นได้มากที่สุดร้อยละ 79.76 แสดงให้เห็นว่าโครงการมีความเป็นไปได้ในการลงทุน ภายใต้ปัจจัยเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นCurricular : BSMT/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27186 Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000594786 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-05 c.1 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan 32002000594448 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2017-05 c.2 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan SIU RS-T. การศึกษาจำแนกชนิดและปริมาณของขยะทะเลบริเวณชายหาด / ไพรัตน์ สุทธิพล / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2014
Collection Title: SIU RS-T Title : การศึกษาจำแนกชนิดและปริมาณของขยะทะเลบริเวณชายหาด Original title : Composition and Abundance of Marine Debris on Beaches of Thailand Material Type: printed text Authors: ไพรัตน์ สุทธิพล, Author ; ชัญญา โภคะสุวรรณ, Associated Name ; ปิยพร ณ นคร, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2014 Pagination: vi, 59 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU RS-T: SOMT-MSMT-2014-07
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2014.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ขยะในทะเล
[LCSH]ทะเล -- ไทย -- การจัดการ
[LCSH]สิ่งแวดล้อม -- การจัดการKeywords: ขยะทะเล
การจัดการขยะAbstract: ขยะทะเลจำนวน 175,640 ชิ้น ถูกเก็บและบันทึกข้อมูลภายใต้กิจกรรมเก็บขยะสากล ตลอดความยาวชายหาด 38.8 กิโลเมตรทั่วประเทศไทยระหว่างปี 2552 – 2554 ข้อมูลขยะทะเลจากกิจกรรมเก็บขยะ ชี้ให้เห็นว่าขยะทะเลที่พบมากที่สุด 5 อันดับแรกคือ เชือก ฝา/จุก ถุงพลาสติก กระดาษ/หนังสือพิมพ์/ใบปลิว และถ้วย/จาน/ช้อน/ส้อม/มีด ตามลำดับ ขยะทะเลประเภทวัสดุ พลาสติก มีสัดส่วนมากที่สุดถึง 56% และขยะทะเลมีแหล่งกำเนิดจาก กิจกรรมชายฝั่งและการพักผ่อน มีสัดส่วนถึง 55% มากที่สุดเมื่อเทียบกับกิจกรรมด้านอื่นๆ กฎหมายสำคัญที่เกี่ยวข้องกับขยะทะเลของประเทศไทยคือ พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 และแผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2550 – 2554 กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งเป็นหน่วยงานหลักประสานงานจัดทำฐานข้อมูล ขยะทะเลของไทย ในปัจจุบันหน่วยงานทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และองค์กรระหว่างประเทศ ในปัจจุบันยังไม่มีการประสานงานและส่งต่อข้อมูลขยะทะเลให้แก่กัน
เสนอแนะให้ดำเนินการจัดทำแผนงานการประเมินขยะทะเล โดยเร่งด่วน ควบคู่ไปกับโครงการ ระยะยาวด้านการพัฒนาระบบการจัดการขยะ และปรับปรุงกฎหมาย โดยให้จัดลำดับความสำคัญให้การลดขยะพลาสติกและโพลีสไตรีนไว้เป็นลำดับแรกที่มีความสำคัญสูง แนวทางการจัดทำแผนงานการประเมินขยะทะเล สำหรับประเทศไทยถูกเสนอแนะไว้ในการศึกษานี้ มีความจำเป็นที่จะต้องนำแนวคิดการแก้ไขปัญหาแบบองค์รวมและการแก้ไขปัญหาทั้งระบบมาปฏิบัติใช้ไปด้วยกันCurricular : BSMT/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26227 SIU RS-T. การศึกษาจำแนกชนิดและปริมาณของขยะทะเลบริเวณชายหาด = Composition and Abundance of Marine Debris on Beaches of Thailand [printed text] / ไพรัตน์ สุทธิพล, Author ; ชัญญา โภคะสุวรรณ, Associated Name ; ปิยพร ณ นคร, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014 . - vi, 59 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU RS-T: SOMT-MSMT-2014-07
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2014.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ขยะในทะเล
[LCSH]ทะเล -- ไทย -- การจัดการ
[LCSH]สิ่งแวดล้อม -- การจัดการKeywords: ขยะทะเล
การจัดการขยะAbstract: ขยะทะเลจำนวน 175,640 ชิ้น ถูกเก็บและบันทึกข้อมูลภายใต้กิจกรรมเก็บขยะสากล ตลอดความยาวชายหาด 38.8 กิโลเมตรทั่วประเทศไทยระหว่างปี 2552 – 2554 ข้อมูลขยะทะเลจากกิจกรรมเก็บขยะ ชี้ให้เห็นว่าขยะทะเลที่พบมากที่สุด 5 อันดับแรกคือ เชือก ฝา/จุก ถุงพลาสติก กระดาษ/หนังสือพิมพ์/ใบปลิว และถ้วย/จาน/ช้อน/ส้อม/มีด ตามลำดับ ขยะทะเลประเภทวัสดุ พลาสติก มีสัดส่วนมากที่สุดถึง 56% และขยะทะเลมีแหล่งกำเนิดจาก กิจกรรมชายฝั่งและการพักผ่อน มีสัดส่วนถึง 55% มากที่สุดเมื่อเทียบกับกิจกรรมด้านอื่นๆ กฎหมายสำคัญที่เกี่ยวข้องกับขยะทะเลของประเทศไทยคือ พระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 และแผนจัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2550 – 2554 กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งเป็นหน่วยงานหลักประสานงานจัดทำฐานข้อมูล ขยะทะเลของไทย ในปัจจุบันหน่วยงานทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และองค์กรระหว่างประเทศ ในปัจจุบันยังไม่มีการประสานงานและส่งต่อข้อมูลขยะทะเลให้แก่กัน
เสนอแนะให้ดำเนินการจัดทำแผนงานการประเมินขยะทะเล โดยเร่งด่วน ควบคู่ไปกับโครงการ ระยะยาวด้านการพัฒนาระบบการจัดการขยะ และปรับปรุงกฎหมาย โดยให้จัดลำดับความสำคัญให้การลดขยะพลาสติกและโพลีสไตรีนไว้เป็นลำดับแรกที่มีความสำคัญสูง แนวทางการจัดทำแผนงานการประเมินขยะทะเล สำหรับประเทศไทยถูกเสนอแนะไว้ในการศึกษานี้ มีความจำเป็นที่จะต้องนำแนวคิดการแก้ไขปัญหาแบบองค์รวมและการแก้ไขปัญหาทั้งระบบมาปฏิบัติใช้ไปด้วยกันCurricular : BSMT/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26227 Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000591006 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2014-07 c.1 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan 32002000590974 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2014-07 c.2 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan SIU RS-T. รูปแบบการแก้ไขปัญหาขยะมูลฝอยจากการวางผังเมืองรวม กรณีศึกษาพื้นที่ ตำบลลำลูกกา อำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี / สามารถ รักธรรม / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU RS-T Title : รูปแบบการแก้ไขปัญหาขยะมูลฝอยจากการวางผังเมืองรวม กรณีศึกษาพื้นที่ ตำบลลำลูกกา อำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี Original title : Solid Waste Management of Provincial Urban Planning: Case Study of Lumlukka Subdistrict, Pathumthani Province Material Type: printed text Authors: สามารถ รักธรรม, Author ; ชัญญา โภคะสุวรรณ, Associated Name ; ดำรง ขุมมงคล, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: vi, 19 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU RS-T: SOMT-MSMT-2016-12
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ขยะมูลฝอย -- การจัดการ -- ปทุมธานี
[LCSH]อุตสาหกรรม -- การกำจัดของเสียKeywords: ขยะมูลฝอย
ผังเมืองรวม
การจัดการขยะมูลฝอยAbstract: การศึกษาวิจัยนี้มุ่งเน้นที่การจัดการขยะมูลฝอยและกากของเสียอุตสาหกรรมในพื้นที่ตำบลลำลูกกา ซึ่งอยู่ในความดูแลของสองหน่วยงาน ได้แก่ เทศบาลตำบลลำลูกกา และองค์การบริหารส่วนตำบลลำลูกกา โดยเก็บข้อมูลจากหน่วยงานทั้งสอง และทำการสัมภาษณ์เชิงลึกเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง พบว่าการจัดการขยะในปัจจุบันเป็นการขนถ่ายขยะมูลฝอยทั้งหมด ไปกำจัดที่หลุมฝังกลบมูลฝอย อำเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ซึ่งในอนาคตอันใกล้นี้ ปริมาณขยะที่จะเพิ่มขึ้นจากการขยายตัวของประชากร และการเติบโตของอุตสาหกรรม อาจเกินขีดจำกัดการขนถ่ายขององค์การปกครองส่วนท้องถิ่น และหลุมฝังกลบมูลฝอยดังกล่าวอาจปฏิเสธการให้บริการกำจัดขยะมูลฝอยจากพื้นที่ตำบลลำลูกกา ดังนั้นผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งหมด ควรจะร่วมกันหาวิธีการแก้ไขปัญหาขยะมูลฝอยที่เพิ่มขึ้นในอนาคต โดยให้มีความเหมาะสมต่อสภาพพื้นที่ ประสิทธิภาพการกำจัดขยะ การควบคุมมลพิษอันเกิดจากการกำจัดขยะ ความคุ้มค่าเชิงเศรษฐศาสตร์ Curricular : BSMT/GE/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26598 SIU RS-T. รูปแบบการแก้ไขปัญหาขยะมูลฝอยจากการวางผังเมืองรวม กรณีศึกษาพื้นที่ ตำบลลำลูกกา อำเภอลำลูกกา จังหวัดปทุมธานี = Solid Waste Management of Provincial Urban Planning: Case Study of Lumlukka Subdistrict, Pathumthani Province [printed text] / สามารถ รักธรรม, Author ; ชัญญา โภคะสุวรรณ, Associated Name ; ดำรง ขุมมงคล, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - vi, 19 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU RS-T: SOMT-MSMT-2016-12
RS-T. [MSMT.[Management Technology]] -- Shinawatra University, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ขยะมูลฝอย -- การจัดการ -- ปทุมธานี
[LCSH]อุตสาหกรรม -- การกำจัดของเสียKeywords: ขยะมูลฝอย
ผังเมืองรวม
การจัดการขยะมูลฝอยAbstract: การศึกษาวิจัยนี้มุ่งเน้นที่การจัดการขยะมูลฝอยและกากของเสียอุตสาหกรรมในพื้นที่ตำบลลำลูกกา ซึ่งอยู่ในความดูแลของสองหน่วยงาน ได้แก่ เทศบาลตำบลลำลูกกา และองค์การบริหารส่วนตำบลลำลูกกา โดยเก็บข้อมูลจากหน่วยงานทั้งสอง และทำการสัมภาษณ์เชิงลึกเจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง พบว่าการจัดการขยะในปัจจุบันเป็นการขนถ่ายขยะมูลฝอยทั้งหมด ไปกำจัดที่หลุมฝังกลบมูลฝอย อำเภอบางไทร จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ซึ่งในอนาคตอันใกล้นี้ ปริมาณขยะที่จะเพิ่มขึ้นจากการขยายตัวของประชากร และการเติบโตของอุตสาหกรรม อาจเกินขีดจำกัดการขนถ่ายขององค์การปกครองส่วนท้องถิ่น และหลุมฝังกลบมูลฝอยดังกล่าวอาจปฏิเสธการให้บริการกำจัดขยะมูลฝอยจากพื้นที่ตำบลลำลูกกา ดังนั้นผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งหมด ควรจะร่วมกันหาวิธีการแก้ไขปัญหาขยะมูลฝอยที่เพิ่มขึ้นในอนาคต โดยให้มีความเหมาะสมต่อสภาพพื้นที่ ประสิทธิภาพการกำจัดขยะ การควบคุมมลพิษอันเกิดจากการกำจัดขยะ ความคุ้มค่าเชิงเศรษฐศาสตร์ Curricular : BSMT/GE/MSMT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26598 Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000592418 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2016-12 c.1 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan 32002000592442 SIU RS-T: SOMT-MSMT-2016-12 c.2 SIU Research Study Main Library Library Counter Not for loan SIU IS-T. การจัดการความรู้ (KM) ในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ กรณีศึกษา ฝ่ายอำนวยการตำรวจภูธรจังหวัดสมุทรสงคราม / ปวีร์ญธรณ์ เหลือคลังทอง / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : การจัดการความรู้ (KM) ในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ กรณีศึกษา ฝ่ายอำนวยการตำรวจภูธรจังหวัดสมุทรสงคราม Original title : Knowledge Management in Operation of Police Officers: A Case of General Staff Sub-Division, Samut Songkhram Provincial Police Material Type: printed text Authors: ปวีร์ญธรณ์ เหลือคลังทอง, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: vii, 67 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-40
Independent Study [MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารองค์ความรู้
[LCSH]ตำรวจ -- การปฏิบัติงานKeywords: การจัดการความรู้,
ตำรวจAbstract: งานค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางในการจัดการความรู้ สภาพปัญหาและอุปสรรค แนวทางการปรับปรุงการดำเนินการจัดการความรู้ของฝ่ายอำนวยการตำรวจภูธรจังหวัดสมุทรสงคราม ใช้วิธีวิจัยเอกสารและวิธีวิจัยสนาม เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึกกลุ่มเป้าหมายที่เป็นตัวแทน จำนวน 12 คน
ผลการวิจัยพบว่า แนวทางในการจัดการความรู้ของข้าราชการตำรวจฝ่ายอำนวยการตำรวจภูธรจังหวัดสมุทรสงคราม มีการจัดความรู้ในรูปแบบการทำงานร่วมกันเป็นทีม มีการถ่ายทอดความรู้ผ่านการสอนงานแบบพี่เลี้ยง และมีการแสวงหาความรู้ใหม่ในการสืบค้นจากฐานข้อมูลในระบบสารสนเทศข้อมูลอาชญากรรม ซึ่งได้แก่ ระบบ POLIS : Police Information System และ ระบบ C.R.I.M.E.S (Criminal Record And Information Management Enterprise System) ของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ สภาพปัญหาและอุปสรรคที่พบ คือ ปัญหาด้านขาดแคลนบุคลากรทั้งด้านจำนวนและคุณสมบัติ การถ่ายทอดความรู้ไม่มีความต่อเนื่อง ไม่มีงบประมาณเป็นการเฉพาะ วัสดุสำนักงานและระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีไม่เพียงพอ ข้อเสนอแนะจากงานวิจัยพบว่าแนวทางการปรับปรุงการดำเนินการจัดการความรู้ คือ ควรขอรับการจัดสรรบุคลากรและงบประมาณเพิ่มเติม จากตำรวจภูธรภาค 7 มาเพิ่ม หรือขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากนอกหน่วยงาน ควรจัดอบรมข้าราชการตำรวจฝ่ายอำนวยการ เพื่อเพิ่มความรู้ในการปฏิบัติงาน การสร้างบรรยากาศในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ความคิดเห็นกับบุคลากรหน่วยงานอื่น โดยจัดกิจกรรมหรือการประชุมต่างๆ นอกสถานที่ และเชิญข้าราชการหน่วยงานอื่นเข้าร่วมประชุมแลกเปลี่ยนความรู้ด้วยกัน รวมทั้งควรมีการสร้างขวัญและกำลังใจในการทำงานCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27275 SIU IS-T. การจัดการความรู้ (KM) ในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ กรณีศึกษา ฝ่ายอำนวยการตำรวจภูธรจังหวัดสมุทรสงคราม = Knowledge Management in Operation of Police Officers: A Case of General Staff Sub-Division, Samut Songkhram Provincial Police [printed text] / ปวีร์ญธรณ์ เหลือคลังทอง, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - vii, 67 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-40
Independent Study [MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารองค์ความรู้
[LCSH]ตำรวจ -- การปฏิบัติงานKeywords: การจัดการความรู้,
ตำรวจAbstract: งานค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางในการจัดการความรู้ สภาพปัญหาและอุปสรรค แนวทางการปรับปรุงการดำเนินการจัดการความรู้ของฝ่ายอำนวยการตำรวจภูธรจังหวัดสมุทรสงคราม ใช้วิธีวิจัยเอกสารและวิธีวิจัยสนาม เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึกกลุ่มเป้าหมายที่เป็นตัวแทน จำนวน 12 คน
ผลการวิจัยพบว่า แนวทางในการจัดการความรู้ของข้าราชการตำรวจฝ่ายอำนวยการตำรวจภูธรจังหวัดสมุทรสงคราม มีการจัดความรู้ในรูปแบบการทำงานร่วมกันเป็นทีม มีการถ่ายทอดความรู้ผ่านการสอนงานแบบพี่เลี้ยง และมีการแสวงหาความรู้ใหม่ในการสืบค้นจากฐานข้อมูลในระบบสารสนเทศข้อมูลอาชญากรรม ซึ่งได้แก่ ระบบ POLIS : Police Information System และ ระบบ C.R.I.M.E.S (Criminal Record And Information Management Enterprise System) ของสำนักงานตำรวจแห่งชาติ สภาพปัญหาและอุปสรรคที่พบ คือ ปัญหาด้านขาดแคลนบุคลากรทั้งด้านจำนวนและคุณสมบัติ การถ่ายทอดความรู้ไม่มีความต่อเนื่อง ไม่มีงบประมาณเป็นการเฉพาะ วัสดุสำนักงานและระบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่มีไม่เพียงพอ ข้อเสนอแนะจากงานวิจัยพบว่าแนวทางการปรับปรุงการดำเนินการจัดการความรู้ คือ ควรขอรับการจัดสรรบุคลากรและงบประมาณเพิ่มเติม จากตำรวจภูธรภาค 7 มาเพิ่ม หรือขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากนอกหน่วยงาน ควรจัดอบรมข้าราชการตำรวจฝ่ายอำนวยการ เพื่อเพิ่มความรู้ในการปฏิบัติงาน การสร้างบรรยากาศในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ความคิดเห็นกับบุคลากรหน่วยงานอื่น โดยจัดกิจกรรมหรือการประชุมต่างๆ นอกสถานที่ และเชิญข้าราชการหน่วยงานอื่นเข้าร่วมประชุมแลกเปลี่ยนความรู้ด้วยกัน รวมทั้งควรมีการสร้างขวัญและกำลังใจในการทำงานCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27275 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000595049 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-40 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000595031 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-40 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. การจัดการเชิงกลยุทธ์การสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขัน ในการส่งออกข้าวไทยสู่ประชาคมอาเซียน / กิจเสริม เวศย์ไกรศรี / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2018
Collection Title: SIU THE-T Title : การจัดการเชิงกลยุทธ์การสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขัน ในการส่งออกข้าวไทยสู่ประชาคมอาเซียน Original title : Strategies Management for Building a Competitive Advantage in Thai Rice Export to International Asean Economic Communication (AEC) Material Type: printed text Authors: กิจเสริม เวศย์ไกรศรี, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2018 Pagination: ix, 185 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-04
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การจัดการเชิงกลยุทธ์
[LCSH]ข้าว -- ไทย -- การส่งออกKeywords: การจัดการเชิงกลยุทธ์, การสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขัน, การส่งออกข้าวไทย, ประชาคมอาเซียน Abstract: การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อทราบถึงการจัดการเชิงกลยุทธ์ที่สร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันในการส่งออกข้าวไทยสู่ประชาคมอาเซียน เพื่อทราบถึงปัจจัยที่สร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันในการส่งออกข้าวไทย เพื่อทราบถึงคุณลักษณะของผู้ประกอบการที่สร้างความได้เปรียบในการดำเนินการส่งออกข้าวไทย และเพื่อทราบแนวทางหรือข้อเสนอแนะเชิงนโยบายและเชิงปฏิบัติที่เป็นประโยชน์ต่อการจัดการเชิงกลยุทธ์การสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันในการส่งออกข้าวไทย โดยการศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ สัมภาษณ์เชิงลึกเก็บข้อมูลจากผู้ประกอบการส่งออกข้าวไทย เป็นผู้ให้ข้อมูลสำคัญจำนวน 12 คน ผลการวิจัยได้ข้อค้นพบองค์ความรู้ คือ การที่ผู้ส่งออกจะได้เปรียบทางการแข่งขันต้องนำทฤษฎีความร่วมมือมาใช้เป็นกลยุทธ์ในการส่งออก เนื่องจากต้องอาศัยความร่วมมือระหว่างผู้ส่งออกและภาครัฐ โดยที่รัฐบาลให้การสนับสนุนการส่งออกข้าวไทยสู่ประชาคมอาเซียน และพัฒนาปรับปรุงนโยบายสาธารณะในการส่งออกข้าวไทย ตลอดจนนำแนวคิดเกี่ยวกับ SWOT (จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค) มาใช้ในการส่งออกข้าว และนำทฤษฎีระบบเปิดมาใช้ในการตลาดเพื่อนำทฤษฎีนี้มาใช้ในการจัดการองค์การให้มีความทันสมัย และต้องมีการนำนวัตกรรมเทคโนโลยีใหม่ๆ มาใช้ในการพัฒนาระบบการส่งออกข้าวไทยให้มีประสิทธิภาพและความได้เปรียบทางการแข่งขันใน การส่งออกมากยิ่งๆ ขึ้น และจากการศึกษาพบประเด็นปัญหาที่ทำให้ความได้เปรียบทางการแข่งขันในการส่งออกข้าวไทยสู่ประชาคมอาเซียนลดลง ประกอบด้วยปัญหาต้นทุนการผลิตต่อไร่สูงแต่ผลผลิตต่อไร่ต่ำ ระบบชลประทานในพื้นที่เพาะปลูกมีจำกัด งบประมาณการวิจัยและพัฒนาเกี่ยวกับการผลิตข้าวน้อยเกินไป ราคาส่งออกข้าวไทยสูงกว่าประเทศเพื่อนบ้าน ขาดการประชาสัมพันธ์ในการสร้าง ตราสินค้าข้าวไทยในตลาดอาเซียนและตลาดโลก ระบบและต้นทุนขนส่งข้าวของไทยอยู่ในระดับที่ค่อนข้างสูงเมื่อเทียบกับประเทศเพื่อนบ้านโดยเฉพาะประเทศเวียดนาม และไม่มีนโยบายและ ยุทธศาสตร์ข้าวที่ชัดเจนภายใต้ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ดังนั้นหากต้องการจะเพิ่มความได้เปรียบทางการแข่งขันในการส่งออกข้าวไทยสู่ประชาคมอาเซียน สามารถดำเนินการได้โดยผู้ประกอบการส่งออกข้าวไทยต้องร่วมมือกับรัฐบาลไทยให้มากขึ้น และรัฐบาลไทยจะต้องให้การสนับสนุนการส่งออกข้าวไทยสู่ประชาคมอาเซียน จะต้องมีการพัฒนาและปรับปรุงนโยบายสาธารณะที่เกี่ยวข้องกับการส่งออกข้าวไทยสู่ประชาคมอาเซียนให้มีความชัดเจน Curricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27863 SIU THE-T. การจัดการเชิงกลยุทธ์การสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขัน ในการส่งออกข้าวไทยสู่ประชาคมอาเซียน = Strategies Management for Building a Competitive Advantage in Thai Rice Export to International Asean Economic Communication (AEC) [printed text] / กิจเสริม เวศย์ไกรศรี, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018 . - ix, 185 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-04
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การจัดการเชิงกลยุทธ์
[LCSH]ข้าว -- ไทย -- การส่งออกKeywords: การจัดการเชิงกลยุทธ์, การสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขัน, การส่งออกข้าวไทย, ประชาคมอาเซียน Abstract: การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อทราบถึงการจัดการเชิงกลยุทธ์ที่สร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันในการส่งออกข้าวไทยสู่ประชาคมอาเซียน เพื่อทราบถึงปัจจัยที่สร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันในการส่งออกข้าวไทย เพื่อทราบถึงคุณลักษณะของผู้ประกอบการที่สร้างความได้เปรียบในการดำเนินการส่งออกข้าวไทย และเพื่อทราบแนวทางหรือข้อเสนอแนะเชิงนโยบายและเชิงปฏิบัติที่เป็นประโยชน์ต่อการจัดการเชิงกลยุทธ์การสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันในการส่งออกข้าวไทย โดยการศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ สัมภาษณ์เชิงลึกเก็บข้อมูลจากผู้ประกอบการส่งออกข้าวไทย เป็นผู้ให้ข้อมูลสำคัญจำนวน 12 คน ผลการวิจัยได้ข้อค้นพบองค์ความรู้ คือ การที่ผู้ส่งออกจะได้เปรียบทางการแข่งขันต้องนำทฤษฎีความร่วมมือมาใช้เป็นกลยุทธ์ในการส่งออก เนื่องจากต้องอาศัยความร่วมมือระหว่างผู้ส่งออกและภาครัฐ โดยที่รัฐบาลให้การสนับสนุนการส่งออกข้าวไทยสู่ประชาคมอาเซียน และพัฒนาปรับปรุงนโยบายสาธารณะในการส่งออกข้าวไทย ตลอดจนนำแนวคิดเกี่ยวกับ SWOT (จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และอุปสรรค) มาใช้ในการส่งออกข้าว และนำทฤษฎีระบบเปิดมาใช้ในการตลาดเพื่อนำทฤษฎีนี้มาใช้ในการจัดการองค์การให้มีความทันสมัย และต้องมีการนำนวัตกรรมเทคโนโลยีใหม่ๆ มาใช้ในการพัฒนาระบบการส่งออกข้าวไทยให้มีประสิทธิภาพและความได้เปรียบทางการแข่งขันใน การส่งออกมากยิ่งๆ ขึ้น และจากการศึกษาพบประเด็นปัญหาที่ทำให้ความได้เปรียบทางการแข่งขันในการส่งออกข้าวไทยสู่ประชาคมอาเซียนลดลง ประกอบด้วยปัญหาต้นทุนการผลิตต่อไร่สูงแต่ผลผลิตต่อไร่ต่ำ ระบบชลประทานในพื้นที่เพาะปลูกมีจำกัด งบประมาณการวิจัยและพัฒนาเกี่ยวกับการผลิตข้าวน้อยเกินไป ราคาส่งออกข้าวไทยสูงกว่าประเทศเพื่อนบ้าน ขาดการประชาสัมพันธ์ในการสร้าง ตราสินค้าข้าวไทยในตลาดอาเซียนและตลาดโลก ระบบและต้นทุนขนส่งข้าวของไทยอยู่ในระดับที่ค่อนข้างสูงเมื่อเทียบกับประเทศเพื่อนบ้านโดยเฉพาะประเทศเวียดนาม และไม่มีนโยบายและ ยุทธศาสตร์ข้าวที่ชัดเจนภายใต้ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ดังนั้นหากต้องการจะเพิ่มความได้เปรียบทางการแข่งขันในการส่งออกข้าวไทยสู่ประชาคมอาเซียน สามารถดำเนินการได้โดยผู้ประกอบการส่งออกข้าวไทยต้องร่วมมือกับรัฐบาลไทยให้มากขึ้น และรัฐบาลไทยจะต้องให้การสนับสนุนการส่งออกข้าวไทยสู่ประชาคมอาเซียน จะต้องมีการพัฒนาและปรับปรุงนโยบายสาธารณะที่เกี่ยวข้องกับการส่งออกข้าวไทยสู่ประชาคมอาเซียนให้มีความชัดเจน Curricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27863 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000597920 SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-04 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available 32002000597912 SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-04 c.2 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. การบูรณาการจัดการสาธารณภัยของจังหวัดภูเก็ตสู่บริบทประเทศไทย 4.0 / สมศักดิ์ คงทอง / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2019
Collection Title: SIU THE-T Title : การบูรณาการจัดการสาธารณภัยของจังหวัดภูเก็ตสู่บริบทประเทศไทย 4.0 Original title : Integrating Phuket Province’s Public Disaster Management into Thailand 4.0 Contexts Material Type: printed text Authors: สมศักดิ์ คงทอง, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; พิภพ วชังเงิน, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2019 Pagination: xi, 256 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-05
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบรรเทาสาธารณภัย -- การจัดการ
[LCSH]การพัฒนาประเทศ -- ไทย -- ภูเก็ตKeywords: การบูรณาการ,
การจัดการสาธารณภัย,
บริบทประเทศไทย 4.0Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาพฤติกรรมการบริหารงานคุณภาพการจัดการสาธารณภัยของจังหวัดภูเก็ตสู่บริบทประเทศไทย 4.0 2) ศึกษาการจัดการสาธารณภัยของจังหวัดภูเก็ตสู่บริบทประเทศไทย 4.0 3) ศึกษาการบูรณาการจัดการสาธารณภัยของจังหวัดภูเก็ตสู่บริบทประเทศไทย 4.0 4) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการบริหารงานคุณภาพกับการบูรณาการจัดการสาธารณภัยของจังหวัดภูเก็ตสู่บริบทประเทศไทย 4.0 5) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการจัดการสาธารณภัยกับการบูรณาการจัดการสาธารณภัยของจังหวัดภูเก็ตสู่บริบทประเทศไทย 4.0 และ 6) ศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการบูรณาการจัดการสาธารณภัยของจังหวัดภูเก็ตสู่บริบทประเทศไทย 4.0
การวิจัยเป็นการวิจัยแบบผสานวิธี (Mixed Methods Research) ระหว่างการวิจัยเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ โดยผู้วิจัยได้อาศัยวิธีดำเนินการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้การวิจัยภาคสนามจากการสัมภาษณ์เชิงลึก จากผู้เชี่ยวชาญและผู้บริหารหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องในการจัดการสาธารณภัยของจังหวัดภูเก็ต ได้แก่ นายอำเภอจังหวัดภูเก็ต จำนวน 3 คน หัวหน้าสำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยของจังหวัดภูเก็ต จำนวน 2 คน ผู้บังคับการ และผู้กำกับการสถานีตำรวจจังหวัดภูเก็ต จำนวน 4 คน รวมทั้งเจ้าหน้าที่บริการทางการแพทย์และสาธารณสุขจังหวัดภูเก็ต จำนวน 2 คน มาจาก 3 อำเภอของจังหวัดภูเก็ต ได้แก่ อำเภอเมือง อำเภอถลาง อำเภอกะทู้ รวมจำนวน 11 คน ประกอบกับการวิจัยเชิงปริมาณ ประชากร และกลุ่มตัวอย่างประชาชนที่อยู่อาศัยจริงในเขตพื้นที่ศึกษา จำนวนทั้งสิ้น 400 คน จากจำนวนประชากร 402,017 คน โดยการใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือ สถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน (Pearson product-moment correlation coefficient) ควบคู่กับการสำรวจข้อมูลจากการศึกษาค้นคว้าทางเอกสาร
ผลการวิจัยพบว่า 1) พฤติกรรมการบริหารงานคุณภาพการจัดการสาธารณภัยของจังหวัดภูเก็ตสู่บริบทประเทศไทย 4.0 มีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ( =3.192, S.D=0.690) 2) การจัดการสาธารณภัยของจังหวัดภูเก็ตสู่บริบทประเทศไทย 4.0 มีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ( =3.183, S.D=0.712) 3) การบูรณาการจัดการสาธารณภัยของจังหวัดภูเก็ตสู่บริบทประเทศไทย 4.0 มีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ( =3.201, S.D=0.675) 4) ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการบริหารงานคุณภาพกับการบูรณาการจัดการสาธารณภัยของจังหวัดภูเก็ตสู่บริบทประเทศไทย 4.0 เมื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์โดยใช้การวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ พบว่า พฤติกรรมการบริหารงานคุณภาพมีความสัมพันธ์ทางบวกกับการบูรณาการจัดการสาธารณภัยของจังหวัดภูเก็ตสู่บริบทประเทศไทย 4.0 โดยมีค่า r=0.980 (p‹0.01) ซึ่งแสดงว่ามีความสัมพันธ์กันในระดับสูงอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 5) ความสัมพันธ์ระหว่างการจัดการสาธารณภัยกับการบูรณาการจัดการสาธารณภัยของจังหวัดภูเก็ตสู่บริบทประเทศไทย 4.0 เมื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์โดยใช้การวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ พบว่า การจัดการสาธารณภัยมีความสัมพันธ์ทางบวกกับการบูรณาการจัดการสาธารณภัยของจังหวัดภูเก็ตสู่บริบทประเทศไทย 4.0 โดยมีค่า r=0.965 (p‹0.01) ซึ่งแสดงว่ามีความสัมพันธ์กันในระดับสูงอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 6) ปัญหาและอุปสรรคในการบูรณาการจัดการสาธารณภัยของจังหวัดภูเก็ตสู่บริบทประเทศไทย 4.0 พบว่า ส่วนใหญ่ประสบปัญหาด้านการประสานงานร่วมกับหน่วยงานใกล้เคียง และภาคส่วนต่างๆ ในการแก้ปัญหาสาธารณภัยยังไม่ได้รับความร่วมมือเท่าที่ควร ร้อยละ 31.5 รองลงมาคือ ด้านการให้ความรู้แก่ประชาชนในการจัดการสาธารณภัยอย่างเป็นระบบและยั่งยืน ร้อยละ 23.1 ด้านการสร้างจิตสำนึกในการรับผิดชอบร่วมกันในการบริหารจัดการสาธารณภัย ร้อยละ 18.8 ด้านการประชาสัมพันธ์ให้แก่ประชาชนในพื้นที่ทราบเกี่ยวกับการจัดการสาธารณภัย ร้อยละ 18.0 ด้านการรับฟังความคิดเห็น และการรับฟังปัญหาจากประชาชนก่อนดำเนินการจัดทำแผนป้องกันฯ เพื่อใช้รับมือกับปัญหาสาธารณภัย ร้อยละ 4.8 และด้านอุปกรณ์การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพไม่เพียงพอเพื่อใช้ในการสื่อสาร ร้อยละ 3.8 ตามลำดับ ซึ่งข้อมูลและข้อค้นพบที่ได้จากการศึกษาจะนำไปใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุง และพัฒนางานด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยของจังหวัดภูเก็ตให้มีประสิทธิผล และประสิทธิภาพต่อไปCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27943 SIU THE-T. การบูรณาการจัดการสาธารณภัยของจังหวัดภูเก็ตสู่บริบทประเทศไทย 4.0 = Integrating Phuket Province’s Public Disaster Management into Thailand 4.0 Contexts [printed text] / สมศักดิ์ คงทอง, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; พิภพ วชังเงิน, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019 . - xi, 256 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-05
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบรรเทาสาธารณภัย -- การจัดการ
[LCSH]การพัฒนาประเทศ -- ไทย -- ภูเก็ตKeywords: การบูรณาการ,
การจัดการสาธารณภัย,
บริบทประเทศไทย 4.0Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาพฤติกรรมการบริหารงานคุณภาพการจัดการสาธารณภัยของจังหวัดภูเก็ตสู่บริบทประเทศไทย 4.0 2) ศึกษาการจัดการสาธารณภัยของจังหวัดภูเก็ตสู่บริบทประเทศไทย 4.0 3) ศึกษาการบูรณาการจัดการสาธารณภัยของจังหวัดภูเก็ตสู่บริบทประเทศไทย 4.0 4) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการบริหารงานคุณภาพกับการบูรณาการจัดการสาธารณภัยของจังหวัดภูเก็ตสู่บริบทประเทศไทย 4.0 5) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการจัดการสาธารณภัยกับการบูรณาการจัดการสาธารณภัยของจังหวัดภูเก็ตสู่บริบทประเทศไทย 4.0 และ 6) ศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการบูรณาการจัดการสาธารณภัยของจังหวัดภูเก็ตสู่บริบทประเทศไทย 4.0
การวิจัยเป็นการวิจัยแบบผสานวิธี (Mixed Methods Research) ระหว่างการวิจัยเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ โดยผู้วิจัยได้อาศัยวิธีดำเนินการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยใช้การวิจัยภาคสนามจากการสัมภาษณ์เชิงลึก จากผู้เชี่ยวชาญและผู้บริหารหน่วยงานต่างๆ ที่เกี่ยวข้องในการจัดการสาธารณภัยของจังหวัดภูเก็ต ได้แก่ นายอำเภอจังหวัดภูเก็ต จำนวน 3 คน หัวหน้าสำนักป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยของจังหวัดภูเก็ต จำนวน 2 คน ผู้บังคับการ และผู้กำกับการสถานีตำรวจจังหวัดภูเก็ต จำนวน 4 คน รวมทั้งเจ้าหน้าที่บริการทางการแพทย์และสาธารณสุขจังหวัดภูเก็ต จำนวน 2 คน มาจาก 3 อำเภอของจังหวัดภูเก็ต ได้แก่ อำเภอเมือง อำเภอถลาง อำเภอกะทู้ รวมจำนวน 11 คน ประกอบกับการวิจัยเชิงปริมาณ ประชากร และกลุ่มตัวอย่างประชาชนที่อยู่อาศัยจริงในเขตพื้นที่ศึกษา จำนวนทั้งสิ้น 400 คน จากจำนวนประชากร 402,017 คน โดยการใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือ สถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน (Pearson product-moment correlation coefficient) ควบคู่กับการสำรวจข้อมูลจากการศึกษาค้นคว้าทางเอกสาร
ผลการวิจัยพบว่า 1) พฤติกรรมการบริหารงานคุณภาพการจัดการสาธารณภัยของจังหวัดภูเก็ตสู่บริบทประเทศไทย 4.0 มีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ( =3.192, S.D=0.690) 2) การจัดการสาธารณภัยของจังหวัดภูเก็ตสู่บริบทประเทศไทย 4.0 มีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ( =3.183, S.D=0.712) 3) การบูรณาการจัดการสาธารณภัยของจังหวัดภูเก็ตสู่บริบทประเทศไทย 4.0 มีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง ( =3.201, S.D=0.675) 4) ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการบริหารงานคุณภาพกับการบูรณาการจัดการสาธารณภัยของจังหวัดภูเก็ตสู่บริบทประเทศไทย 4.0 เมื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์โดยใช้การวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ พบว่า พฤติกรรมการบริหารงานคุณภาพมีความสัมพันธ์ทางบวกกับการบูรณาการจัดการสาธารณภัยของจังหวัดภูเก็ตสู่บริบทประเทศไทย 4.0 โดยมีค่า r=0.980 (p‹0.01) ซึ่งแสดงว่ามีความสัมพันธ์กันในระดับสูงอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 5) ความสัมพันธ์ระหว่างการจัดการสาธารณภัยกับการบูรณาการจัดการสาธารณภัยของจังหวัดภูเก็ตสู่บริบทประเทศไทย 4.0 เมื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์โดยใช้การวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ พบว่า การจัดการสาธารณภัยมีความสัมพันธ์ทางบวกกับการบูรณาการจัดการสาธารณภัยของจังหวัดภูเก็ตสู่บริบทประเทศไทย 4.0 โดยมีค่า r=0.965 (p‹0.01) ซึ่งแสดงว่ามีความสัมพันธ์กันในระดับสูงอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 6) ปัญหาและอุปสรรคในการบูรณาการจัดการสาธารณภัยของจังหวัดภูเก็ตสู่บริบทประเทศไทย 4.0 พบว่า ส่วนใหญ่ประสบปัญหาด้านการประสานงานร่วมกับหน่วยงานใกล้เคียง และภาคส่วนต่างๆ ในการแก้ปัญหาสาธารณภัยยังไม่ได้รับความร่วมมือเท่าที่ควร ร้อยละ 31.5 รองลงมาคือ ด้านการให้ความรู้แก่ประชาชนในการจัดการสาธารณภัยอย่างเป็นระบบและยั่งยืน ร้อยละ 23.1 ด้านการสร้างจิตสำนึกในการรับผิดชอบร่วมกันในการบริหารจัดการสาธารณภัย ร้อยละ 18.8 ด้านการประชาสัมพันธ์ให้แก่ประชาชนในพื้นที่ทราบเกี่ยวกับการจัดการสาธารณภัย ร้อยละ 18.0 ด้านการรับฟังความคิดเห็น และการรับฟังปัญหาจากประชาชนก่อนดำเนินการจัดทำแผนป้องกันฯ เพื่อใช้รับมือกับปัญหาสาธารณภัย ร้อยละ 4.8 และด้านอุปกรณ์การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพไม่เพียงพอเพื่อใช้ในการสื่อสาร ร้อยละ 3.8 ตามลำดับ ซึ่งข้อมูลและข้อค้นพบที่ได้จากการศึกษาจะนำไปใช้เป็นแนวทางในการปรับปรุง และพัฒนางานด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยของจังหวัดภูเก็ตให้มีประสิทธิผล และประสิทธิภาพต่อไปCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27943 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607988 SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-05 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available 32002000607985 SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-05 c.2 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ความพึงพอใจของผู้ปกครองนักเรียนที่มีต่อการจัดการศึกษาของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลหนองไร่ อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง / พรรณี ธนกรชัยมงคล / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2014
Collection Title: SIU IS-T Title : ความพึงพอใจของผู้ปกครองนักเรียนที่มีต่อการจัดการศึกษาของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลหนองไร่ อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง Original title : The Satisfaction of the Parent towards the Education of the Child Development Center Nongrai Pluakdeang Distric Rayong Material Type: printed text Authors: พรรณี ธนกรชัยมงคล, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2014 Pagination: vii, 59 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-31
Independent Study [MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารการศึกษา
[LCSH]ความพอใจ
[LCSH]ผู้ปกครองนักเรียนKeywords: ความพึงพอใจ,
การจัดการศึกษา,
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กAbstract: การศึกษาค้นคว้าในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้ปกครองนักเรียนที่มีต่อการจัดการศึกษาของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลหนองไร่ อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง ประชากรที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า ได้แก่ ผู้ปกครองนักเรียนในเขตบริการ จำนวน 191 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถามความพึงพอใจเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการศึกษาค้นคว้าพบว่า
1) สรุปผลการวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงจำนวน101 คน คิดเป็นร้อยละ 53.20 มีอายุ 30-50 ปี จำนวน 79 คน คิดเป็นร้อยละ 41.60 มีระดับการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรีจำนวน 99 คน คิดเป็นร้อยละ 52.10 และส่วนใหญ่มีอาชีพเกษตรกรรมจำนวน 90 คน คิดเป็นร้อยละ 47.40
2) ระดับความพึงพอใจของผู้ปกครองนักเรียนที่มีต่อการจัดการศึกษาของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลหนองไร่ อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง โดยเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก เมื่อเรียงลำดับค่าเฉลี่ยมากไปหาน้อย ได้แก่ ในด้านการบริหารโรงเรียนอยู่ในระดับมาก ด้านความสัมพันธ์กับชุมชนอยู่ในระดับมาก ด้านอาคารสถานที่อยู่ในระดับมาก ด้านการจัดการเรียนการสอนอยู่ในระดับมากและด้านครูผู้สอนอยู่ในระดับมาก ตามลำดับCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27273 SIU IS-T. ความพึงพอใจของผู้ปกครองนักเรียนที่มีต่อการจัดการศึกษาของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลหนองไร่ อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง = The Satisfaction of the Parent towards the Education of the Child Development Center Nongrai Pluakdeang Distric Rayong [printed text] / พรรณี ธนกรชัยมงคล, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014 . - vii, 59 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-31
Independent Study [MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารการศึกษา
[LCSH]ความพอใจ
[LCSH]ผู้ปกครองนักเรียนKeywords: ความพึงพอใจ,
การจัดการศึกษา,
ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กAbstract: การศึกษาค้นคว้าในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้ปกครองนักเรียนที่มีต่อการจัดการศึกษาของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลหนองไร่ อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง ประชากรที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า ได้แก่ ผู้ปกครองนักเรียนในเขตบริการ จำนวน 191 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถามความพึงพอใจเป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการศึกษาค้นคว้าพบว่า
1) สรุปผลการวิเคราะห์ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงจำนวน101 คน คิดเป็นร้อยละ 53.20 มีอายุ 30-50 ปี จำนวน 79 คน คิดเป็นร้อยละ 41.60 มีระดับการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรีจำนวน 99 คน คิดเป็นร้อยละ 52.10 และส่วนใหญ่มีอาชีพเกษตรกรรมจำนวน 90 คน คิดเป็นร้อยละ 47.40
2) ระดับความพึงพอใจของผู้ปกครองนักเรียนที่มีต่อการจัดการศึกษาของศูนย์พัฒนาเด็กเล็กตำบลหนองไร่ อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง โดยเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก เมื่อเรียงลำดับค่าเฉลี่ยมากไปหาน้อย ได้แก่ ในด้านการบริหารโรงเรียนอยู่ในระดับมาก ด้านความสัมพันธ์กับชุมชนอยู่ในระดับมาก ด้านอาคารสถานที่อยู่ในระดับมาก ด้านการจัดการเรียนการสอนอยู่ในระดับมากและด้านครูผู้สอนอยู่ในระดับมาก ตามลำดับCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27273 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000595007 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-31 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000594992 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-31 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จของการจัดการธุรกิจที่พักอาศัยผู้สูงอายุในประเทศไทย / พรจันทร์ สุพรรณ์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU THE-T Title : ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จของการจัดการธุรกิจที่พักอาศัยผู้สูงอายุในประเทศไทย Original title : Factors Affecting on the Business Achievement of Senior Home in Thailand Material Type: printed text Authors: พรจันทร์ สุพรรณ์, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; อุษณีษ์ เสวกวัชรี, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: xxxviii, 477 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU THE-T: SOM-DBA-2017-02
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2560Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารธุรกิจ
[LCSH]ผู้สูงอายุ -- ที่อยู่อาศัย -- ไทยKeywords: โครงสร้างองค์กร,
ระบบการปฏิบัติงาน,
การจัดการบุคคล,
ส่วนประสมการตลาด,
สภาพแวดล้อมภายนอก,
ผลสัมฤทธิ์ของการดาเนินธุรกิจที่พักอาศัยผู้สูงอายุในประเทศไทยAbstract: ปฏิบัติงาน ปัจจัยการจัดการบุคคล ปัจจัยส่วนประสมการตลาด ปัจจัยสภาพแวดล้อมภายนอก และผลสัมฤทธิ์ของการดาเนินธุรกิจที่พักอาศัยผู้สูงอายุในประเทศไทย และเพื่อสร้างแบบจาลองปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ของการดาเนินธุรกิจที่พักอาศัยผู้สูงอายุในประเทศไทย โดยใช้เทคนิคการวิจัยเชิงผสม คือ การวิจัยเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณร่วมกัน กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยเชิงปริมาณ คือ ผู้ประกอบการ/ผู้บริหารธุรกิจที่พักอาศัยผู้สูงอายุในประเทศไทย จำนวน 640 คน ด้วยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน (multi-stage sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ สถิติเชิงพรรณนา และสถิติเชิงอนุมานในการวิเคราะห์การถดถอยเชิงเส้นแบบพหุ (Multiple Linear Regression Analysis) และการวิเคราะห์ตัวแปร เพื่อทดสอบสมมติฐาน
ผลการวิจัยพบว่า ผู้ประกอบการ /ผู้บริหารธุรกิจที่พักอาศัยผู้สูงอายุในประเทศไทยส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุระหว่าง 31 – 40 ปี การศึกษาระดับปริญญาตรี ซึ่งมีตาแหน่งงานส่วนใหญ่เป็นหัวหน้าฝ่ายดูแลผู้สูงอายุ และรูปแบบของธุรกิจที่พักอาศัยผู้สูงอายุส่วนใหญ่เป็นบ้านเดี่ยว ระยะเวลาที่ผู้สูงอายุเข้ารับบริการส่วนใหญ่บริการดูแลระยะยาว และส่วนใหญ่มีความต้องการการดูแลของผู้สูงอายุที่เข้ารับบริการในลักษณะผู้สูงอายุที่ช่วยเหลือตนเองได้
ผลการทดสอบสมมติฐานการวิจัย พบว่า 1) ปัจจัยโครงสร้างองค์กร 2) ปัจจัยระบบการปฏิบัติงาน 3) ปัจจัยการจัดการบุคคล 4) ปัจจัยส่วนประสมการตลาด และ 5) ปัจจัยสภาพแวดล้อมภายนอกมีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์การดาเนินธุรกิจที่พักอาศัยผู้สูงอายุในประเทศไทย โดยสามารถรักษาฐานลูกค้าเดิมและการขยายจำนวนลูกค้าใหม่เพิ่มขึ้น, ด้านประสิทธิภาพของการให้บริการ ได้แก่ จำนวนบุคลากรที่ให้บริการมีความเหมาะสมในการตอบสนองความต้องการของลูกค้า และการไม่มีข้อเรียกร้องจากผู้มาใช้บริการ, ด้านการสร้างการรับรู้ในกลุ่มลูกค้าเพิ่มขึ้น ได้แก่ ความภักดีของลูกค้าในการกลับมาใช้บริการซ้า และคุณภาพและมาตรฐานในการให้บริการ, ด้านผลิตภาพและประสิทธิภาพของพนักงาน ได้แก่ ความเต็มใจและความกระตือรือร้นในการปฏิบัติงาน และความจงรักภักดีต่อองค์กร และด้านภาพลักษณ์ที่ดีของธุรกิจ ได้แก่ ภาพสะท้อนถึงระบบบริหารจัดการบุคลากร (ผู้บริหารและพนักงาน) และการทาประโยชน์ให้กับสาธารณะ และผลการสร้างแบบจาลองปัจจัยที่ส่งผลต่อความสาเร็จของการจัดการธุรกิจที่พักอาศัยผู้สูงอายุในประเทศไทย พบว่า ปัจจัยโครงสร้างองค์กร ปัจจัยระบบปฏิบัติงาน ปัจจัยการจัดการบุคคล ปัจจัยส่วนประสมการตลาด และปัจจัยสภาพแวดล้อมภายนอกมีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ของการ
ดาเนินธุรกิจที่พักอาศัยผู้สูงอายุในประเทศไทยดังนั้นผู้ประกอบการ/ผู้บริหารธุรกิจที่พักอาศัยผู้สูงอายุในประเทศไทยและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถที่จะนาผลการศึกษาวิจัยครั้งนี้ไปประยุกต์ใช้ในการพิจารณาขยายการลงทุนและพัฒนาตลาดธุรกิจที่พักอาศัยผู้สูงอายุในประเทศไทยที่สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมได้อย่างประสบความสาเร็จCurricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27263 SIU THE-T. ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จของการจัดการธุรกิจที่พักอาศัยผู้สูงอายุในประเทศไทย = Factors Affecting on the Business Achievement of Senior Home in Thailand [printed text] / พรจันทร์ สุพรรณ์, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; อุษณีษ์ เสวกวัชรี, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - xxxviii, 477 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU THE-T: SOM-DBA-2017-02
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2560
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารธุรกิจ
[LCSH]ผู้สูงอายุ -- ที่อยู่อาศัย -- ไทยKeywords: โครงสร้างองค์กร,
ระบบการปฏิบัติงาน,
การจัดการบุคคล,
ส่วนประสมการตลาด,
สภาพแวดล้อมภายนอก,
ผลสัมฤทธิ์ของการดาเนินธุรกิจที่พักอาศัยผู้สูงอายุในประเทศไทยAbstract: ปฏิบัติงาน ปัจจัยการจัดการบุคคล ปัจจัยส่วนประสมการตลาด ปัจจัยสภาพแวดล้อมภายนอก และผลสัมฤทธิ์ของการดาเนินธุรกิจที่พักอาศัยผู้สูงอายุในประเทศไทย และเพื่อสร้างแบบจาลองปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ของการดาเนินธุรกิจที่พักอาศัยผู้สูงอายุในประเทศไทย โดยใช้เทคนิคการวิจัยเชิงผสม คือ การวิจัยเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณร่วมกัน กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยเชิงปริมาณ คือ ผู้ประกอบการ/ผู้บริหารธุรกิจที่พักอาศัยผู้สูงอายุในประเทศไทย จำนวน 640 คน ด้วยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน (multi-stage sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ สถิติเชิงพรรณนา และสถิติเชิงอนุมานในการวิเคราะห์การถดถอยเชิงเส้นแบบพหุ (Multiple Linear Regression Analysis) และการวิเคราะห์ตัวแปร เพื่อทดสอบสมมติฐาน
ผลการวิจัยพบว่า ผู้ประกอบการ /ผู้บริหารธุรกิจที่พักอาศัยผู้สูงอายุในประเทศไทยส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุระหว่าง 31 – 40 ปี การศึกษาระดับปริญญาตรี ซึ่งมีตาแหน่งงานส่วนใหญ่เป็นหัวหน้าฝ่ายดูแลผู้สูงอายุ และรูปแบบของธุรกิจที่พักอาศัยผู้สูงอายุส่วนใหญ่เป็นบ้านเดี่ยว ระยะเวลาที่ผู้สูงอายุเข้ารับบริการส่วนใหญ่บริการดูแลระยะยาว และส่วนใหญ่มีความต้องการการดูแลของผู้สูงอายุที่เข้ารับบริการในลักษณะผู้สูงอายุที่ช่วยเหลือตนเองได้
ผลการทดสอบสมมติฐานการวิจัย พบว่า 1) ปัจจัยโครงสร้างองค์กร 2) ปัจจัยระบบการปฏิบัติงาน 3) ปัจจัยการจัดการบุคคล 4) ปัจจัยส่วนประสมการตลาด และ 5) ปัจจัยสภาพแวดล้อมภายนอกมีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์การดาเนินธุรกิจที่พักอาศัยผู้สูงอายุในประเทศไทย โดยสามารถรักษาฐานลูกค้าเดิมและการขยายจำนวนลูกค้าใหม่เพิ่มขึ้น, ด้านประสิทธิภาพของการให้บริการ ได้แก่ จำนวนบุคลากรที่ให้บริการมีความเหมาะสมในการตอบสนองความต้องการของลูกค้า และการไม่มีข้อเรียกร้องจากผู้มาใช้บริการ, ด้านการสร้างการรับรู้ในกลุ่มลูกค้าเพิ่มขึ้น ได้แก่ ความภักดีของลูกค้าในการกลับมาใช้บริการซ้า และคุณภาพและมาตรฐานในการให้บริการ, ด้านผลิตภาพและประสิทธิภาพของพนักงาน ได้แก่ ความเต็มใจและความกระตือรือร้นในการปฏิบัติงาน และความจงรักภักดีต่อองค์กร และด้านภาพลักษณ์ที่ดีของธุรกิจ ได้แก่ ภาพสะท้อนถึงระบบบริหารจัดการบุคลากร (ผู้บริหารและพนักงาน) และการทาประโยชน์ให้กับสาธารณะ และผลการสร้างแบบจาลองปัจจัยที่ส่งผลต่อความสาเร็จของการจัดการธุรกิจที่พักอาศัยผู้สูงอายุในประเทศไทย พบว่า ปัจจัยโครงสร้างองค์กร ปัจจัยระบบปฏิบัติงาน ปัจจัยการจัดการบุคคล ปัจจัยส่วนประสมการตลาด และปัจจัยสภาพแวดล้อมภายนอกมีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ของการ
ดาเนินธุรกิจที่พักอาศัยผู้สูงอายุในประเทศไทยดังนั้นผู้ประกอบการ/ผู้บริหารธุรกิจที่พักอาศัยผู้สูงอายุในประเทศไทยและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถที่จะนาผลการศึกษาวิจัยครั้งนี้ไปประยุกต์ใช้ในการพิจารณาขยายการลงทุนและพัฒนาตลาดธุรกิจที่พักอาศัยผู้สูงอายุในประเทศไทยที่สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมได้อย่างประสบความสาเร็จCurricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27263 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000594828 SIU THE-T: SOM-DBA-2017-02 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000594810 SIU THE-T: SOM-DBA-2017-02 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available SIU THE-T. รูปแบบการจัดการความรู้ในการพยาบาลโรคหัวใจ / เพ็ญจันทร์ แสนประสาน / คณะการจัดการ มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2557
Collection Title: SIU THE-T Title : รูปแบบการจัดการความรู้ในการพยาบาลโรคหัวใจ : ในโรงพยาบาลภาครัฐและภาคเอกชนที่มีศักยภาพสูง Original title : Model of knowledge management for cardiac nursing in the high competence public and private hospitals Material Type: printed text Authors: เพ็ญจันทร์ แสนประสาน, Author Publisher: คณะการจัดการ มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2557 Pagination: x,460 หน้า Layout: ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] มหาวิทยาลัยชินวัตร. Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]รูปแบบการจัดการความรู้ -- ดุษฎีนิพนธ์
[NLM]โรคหัวใจ, การพยาบาล
[NLM]โรคหัวใจ, การพยาบาล -- ดุษฎีนิพนธ์
[NLM]โรงพยาบาลภาครัฐศักยภาพสูง
[NLM]โรงพยาบาลภาคเอกชนศักยภาพสูงKeywords: การจัดการความรู้.
รูปแบบการจัดการความรู้.
การพยาบาลโรคหัวใจ.
โรงพยาบาลภาครัฐศักยภาพสูง.
โรงพยาบาลภาคเอกชนศักยภาพสูง.Class number: SIU THE-T SOM-DBA-2015-02 Abstract: การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณาผสมผสานวิธีการเชิงปริมาณ และเขิงคุณภาพในการพัฒนารูปแบบการจัดการความรู้การพยาบาลโรคหัใจในโรงพยาบาลภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพสูงในประเทศ เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหาและความต้องการในการจัดการความรู้การพยาบาลโรคหัวใจของโรงพยาบาลภาครัฐและเอกชน และเพื่อสร้างและยืนยันรูปแบบการจัดการความรู้การพยาบาลโรคหัวใจในโรงพยาบาลภาครัฐและภาคเอกชนที่มีศักยภาพสูง โดยมีกลุ่มตัวอย่างจำนวน 629 คน วิเคราะห์ความเชื่อถือและองค์ประกอบเชิงยืนยันด้วยโปรแกรมสมการโครงสร้าง SEM เพื่อยืนยันสมมติฐาน ซึ่งผลการศึกษา พบว่า โมเดลการวัดของตัวแปรที่ใช้ในการวิจัยสอดคล้องกับทฤษฎีตามองค์ประกอบด้าน 1. ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการความรู้มีตัวแปรแฝง คือ ผู้บริหารและเทคโนโลยีมีผลต่อกระบวนการจัดการความรู้ และการบริหารมีผลต่อผลลัพธ์การจัดความรู้ 2. โครงสร้างและปัจจัยพื้นฐานมีตัวแปรแฝง คือ วัฒนธรรม การเสริมพลัง และความร่วมมือมีผลต่อกระบวนการจัดการความรู้ 3. กระบวนการจัดการความรู้มีตัวแปรแฝง คือ การแบ่งปัน การนำความรู้ไปใช้ และการติดตามมีผลต่อผลัพธ์การจัดการความรู้ ส่วนผลการวิจัยเชิงคุณภาพ พบว่า การจัดการความรู้ทั้งภาครัฐและภาคเอกชนไม่แตกต่างกันทุกด้าน แต่มีข้อแตกต่างเพียงเล็กน้อย คือ ด้านเอกชนมีการใช้เทคโนโลยีมากกว่าบางโรงพยาบาล โรงพยาบาลภาครัฐมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในทีมระหว่างสหสาขาวิชาชีพมากกว่า Contents note: ปีการศึกษา 2557 Curricular : PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25887 SIU THE-T. รูปแบบการจัดการความรู้ในการพยาบาลโรคหัวใจ = Model of knowledge management for cardiac nursing in the high competence public and private hospitals : ในโรงพยาบาลภาครัฐและภาคเอกชนที่มีศักยภาพสูง [printed text] / เพ็ญจันทร์ แสนประสาน, Author . - [S.l.] : คณะการจัดการ มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2557 . - x,460 หน้า : ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] มหาวิทยาลัยชินวัตร.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]รูปแบบการจัดการความรู้ -- ดุษฎีนิพนธ์
[NLM]โรคหัวใจ, การพยาบาล
[NLM]โรคหัวใจ, การพยาบาล -- ดุษฎีนิพนธ์
[NLM]โรงพยาบาลภาครัฐศักยภาพสูง
[NLM]โรงพยาบาลภาคเอกชนศักยภาพสูงKeywords: การจัดการความรู้.
รูปแบบการจัดการความรู้.
การพยาบาลโรคหัวใจ.
โรงพยาบาลภาครัฐศักยภาพสูง.
โรงพยาบาลภาคเอกชนศักยภาพสูง.Class number: SIU THE-T SOM-DBA-2015-02 Abstract: การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณาผสมผสานวิธีการเชิงปริมาณ และเขิงคุณภาพในการพัฒนารูปแบบการจัดการความรู้การพยาบาลโรคหัใจในโรงพยาบาลภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพสูงในประเทศ เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหาและความต้องการในการจัดการความรู้การพยาบาลโรคหัวใจของโรงพยาบาลภาครัฐและเอกชน และเพื่อสร้างและยืนยันรูปแบบการจัดการความรู้การพยาบาลโรคหัวใจในโรงพยาบาลภาครัฐและภาคเอกชนที่มีศักยภาพสูง โดยมีกลุ่มตัวอย่างจำนวน 629 คน วิเคราะห์ความเชื่อถือและองค์ประกอบเชิงยืนยันด้วยโปรแกรมสมการโครงสร้าง SEM เพื่อยืนยันสมมติฐาน ซึ่งผลการศึกษา พบว่า โมเดลการวัดของตัวแปรที่ใช้ในการวิจัยสอดคล้องกับทฤษฎีตามองค์ประกอบด้าน 1. ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการความรู้มีตัวแปรแฝง คือ ผู้บริหารและเทคโนโลยีมีผลต่อกระบวนการจัดการความรู้ และการบริหารมีผลต่อผลลัพธ์การจัดความรู้ 2. โครงสร้างและปัจจัยพื้นฐานมีตัวแปรแฝง คือ วัฒนธรรม การเสริมพลัง และความร่วมมือมีผลต่อกระบวนการจัดการความรู้ 3. กระบวนการจัดการความรู้มีตัวแปรแฝง คือ การแบ่งปัน การนำความรู้ไปใช้ และการติดตามมีผลต่อผลัพธ์การจัดการความรู้ ส่วนผลการวิจัยเชิงคุณภาพ พบว่า การจัดการความรู้ทั้งภาครัฐและภาคเอกชนไม่แตกต่างกันทุกด้าน แต่มีข้อแตกต่างเพียงเล็กน้อย คือ ด้านเอกชนมีการใช้เทคโนโลยีมากกว่าบางโรงพยาบาล โรงพยาบาลภาครัฐมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในทีมระหว่างสหสาขาวิชาชีพมากกว่า Contents note: ปีการศึกษา 2557 Curricular : PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25887 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000550846 SIU THE-T SOM-DBA-2015-02 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000507036 SIU THE-T SOM-DBA-2015-02 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. แนวทางการบริหารจัดการเชิงพุทธของวัดในจังหวัดสมุทรสาครเพื่อการให้บริการประชาชนในฐานะศูนย์กลางของสังคม / พระครูสาครธรรมประสิทธิ์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2020
Collection Title: SIU THE-T Title : แนวทางการบริหารจัดการเชิงพุทธของวัดในจังหวัดสมุทรสาครเพื่อการให้บริการประชาชนในฐานะศูนย์กลางของสังคม Original title : Guideline for Buddhist Administration of Temples in Samut Sakhon Province for Serving the People as the Center of Society Material Type: printed text Authors: พระครูสาครธรรมประสิทธิ์, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2020 Pagination: xi, 124 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-10
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การจัดการ -- พุทธศาสนา
[LCSH]การให้บริการ -- วิจัย
[LCSH]วัด -- สมุทรสาครKeywords: แนวทางการบริหาร,
การจัดการเชิงพุทธ,
การให้บริการของวัด,
ศูนย์กลางของสังคมAbstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับการบริหารจัดการเชิงพุทธ การบริการประชาชน และการบริหารกิจการคณะสงฆ์ของวัดในจังหวัดสมุทรสาครที่มีต่อแนวทางการบริหารจัดการเชิงพุทธของวัดในจังหวัดสมุทรสาครเพื่อการให้บริการประชาชนในฐานะศูนย์กลางของสังคม 2) ศึกษาปัจจัยการบริหารจัดการเชิงพุทธ และการบริการประชาชนของวัดในจังหวัดสมุทรสาคร ที่ส่งผลต่อแนวทางการบริหารจัดการเชิงพุทธของวัดในจังหวัดสมุทรสาครเพื่อการให้บริการประชาชนในฐานะศูนย์กลางของสังคม 3) ศึกษาแนวทางการบริหารจัดการเชิงพุทธของวัดในจังหวัดสมุทรสาครเพื่อการให้บริการประชาชนในฐานะศูนย์กลางของสังคม
ผลการวิจัย พบว่า
1) ระดับการบริหารจัดการเชิงพุทธ ระดับการบริการประชาชนของวัด ภาพรวมมีค่าในระดับมาก ดังนี้ คือ พุทธวิธีด้านการอำนวยการ และขั้นตอน กระบวนการให้บริการ ส่วนระดับการบริหารกิจการคณะสงฆ์ ภาพรวมมีค่าในระดับมาก คือ ด้านงานเผยแพร่ศาสนธรรม
2) ปัจจัยการบริหารจัดการเชิงพุทธ ส่งผลต่อแนวทางการบริหารจัดการเชิงพุทธของวัดในจังหวัดสมุทรสาครเพื่อการให้บริการประชาชนในฐานะศูนย์กลางของสังคม มี 3 ปัจจัย คือ พุทธวิธีการวางแผน พุทธวิธีการบริหารงานบุคคล และพุทธวิธีการจัดการองค์การ และปัจจัยการบริการประชาชนของวัด ส่งผลต่อแนวทางการบริหารจัดการเชิงพุทธของวัดในจังหวัดสมุทรสาครเพื่อการให้บริการประชาชนในฐานะศูนย์กลางของสังคม มี 4 ปัจจัย คือ ด้านความร่วมมือกับชุมชน ด้านวัสดุ อุปกรณ์ เทคโนโลยี ด้านสถานที่ และด้านขั้นตอนกระบวนการให้บริการ
3) แนวทางการบริหารจัดการเชิงพุทธของวัดในจังหวัดสมุทรสาครเพื่อการให้บริการประชาชนในฐานะศูนย์กลางของสังคม ด้านการบริหารจัดการเชิงพุทธ ควรมีการนำพุทธวิธีด้านการวางแผนมาปรับใช้ มุ่งเน้นเรื่องการมีวิสัยทัศน์เป็นสิ่งแรกที่ต้องนำมาใช้ในการบริหารจัดการ และควรมีการปรับปรุงในเรื่องของภาวะผู้นำ โดยยึดหลักการบริหารแบบธรรมาธิปไตยในการบริหาร ด้านการบริการประชาชนของวัด ในด้านการอำนวยความสะดวก ที่ขาดการจัดระบบที่ดี รวมถึงคุณภาพของวัสดุ อุปกรณ์ และเทคโนโลยี และ ด้านการบริหารกิจการคณะสงฆ์ มี 2 ประเด็นหลัก คือ ด้านพุทธวิธีการบริหารงานบุคคล คือ การปฏิบัติตนของพระภิกษุสงฆ์ที่มีความประพฤติที่ไม่เหมาะสม และพุทธวิธีด้านการวางแผน คือ ต้องปรับปรุงในเรื่องของการวางแผนงบประมาณ โดยเฉพาะเรื่องของโครงสร้างทางด้านการเงิน บุคลากร การมอบหมายงาน และการจัดการองค์การ รวมถึงเจ้าอาวาสต้องมีความเข้าใจในบทบาท และหน้าที่ของตนอย่างถ่องแท้Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28103 SIU THE-T. แนวทางการบริหารจัดการเชิงพุทธของวัดในจังหวัดสมุทรสาครเพื่อการให้บริการประชาชนในฐานะศูนย์กลางของสังคม = Guideline for Buddhist Administration of Temples in Samut Sakhon Province for Serving the People as the Center of Society [printed text] / พระครูสาครธรรมประสิทธิ์, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020 . - xi, 124 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-10
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การจัดการ -- พุทธศาสนา
[LCSH]การให้บริการ -- วิจัย
[LCSH]วัด -- สมุทรสาครKeywords: แนวทางการบริหาร,
การจัดการเชิงพุทธ,
การให้บริการของวัด,
ศูนย์กลางของสังคมAbstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับการบริหารจัดการเชิงพุทธ การบริการประชาชน และการบริหารกิจการคณะสงฆ์ของวัดในจังหวัดสมุทรสาครที่มีต่อแนวทางการบริหารจัดการเชิงพุทธของวัดในจังหวัดสมุทรสาครเพื่อการให้บริการประชาชนในฐานะศูนย์กลางของสังคม 2) ศึกษาปัจจัยการบริหารจัดการเชิงพุทธ และการบริการประชาชนของวัดในจังหวัดสมุทรสาคร ที่ส่งผลต่อแนวทางการบริหารจัดการเชิงพุทธของวัดในจังหวัดสมุทรสาครเพื่อการให้บริการประชาชนในฐานะศูนย์กลางของสังคม 3) ศึกษาแนวทางการบริหารจัดการเชิงพุทธของวัดในจังหวัดสมุทรสาครเพื่อการให้บริการประชาชนในฐานะศูนย์กลางของสังคม
ผลการวิจัย พบว่า
1) ระดับการบริหารจัดการเชิงพุทธ ระดับการบริการประชาชนของวัด ภาพรวมมีค่าในระดับมาก ดังนี้ คือ พุทธวิธีด้านการอำนวยการ และขั้นตอน กระบวนการให้บริการ ส่วนระดับการบริหารกิจการคณะสงฆ์ ภาพรวมมีค่าในระดับมาก คือ ด้านงานเผยแพร่ศาสนธรรม
2) ปัจจัยการบริหารจัดการเชิงพุทธ ส่งผลต่อแนวทางการบริหารจัดการเชิงพุทธของวัดในจังหวัดสมุทรสาครเพื่อการให้บริการประชาชนในฐานะศูนย์กลางของสังคม มี 3 ปัจจัย คือ พุทธวิธีการวางแผน พุทธวิธีการบริหารงานบุคคล และพุทธวิธีการจัดการองค์การ และปัจจัยการบริการประชาชนของวัด ส่งผลต่อแนวทางการบริหารจัดการเชิงพุทธของวัดในจังหวัดสมุทรสาครเพื่อการให้บริการประชาชนในฐานะศูนย์กลางของสังคม มี 4 ปัจจัย คือ ด้านความร่วมมือกับชุมชน ด้านวัสดุ อุปกรณ์ เทคโนโลยี ด้านสถานที่ และด้านขั้นตอนกระบวนการให้บริการ
3) แนวทางการบริหารจัดการเชิงพุทธของวัดในจังหวัดสมุทรสาครเพื่อการให้บริการประชาชนในฐานะศูนย์กลางของสังคม ด้านการบริหารจัดการเชิงพุทธ ควรมีการนำพุทธวิธีด้านการวางแผนมาปรับใช้ มุ่งเน้นเรื่องการมีวิสัยทัศน์เป็นสิ่งแรกที่ต้องนำมาใช้ในการบริหารจัดการ และควรมีการปรับปรุงในเรื่องของภาวะผู้นำ โดยยึดหลักการบริหารแบบธรรมาธิปไตยในการบริหาร ด้านการบริการประชาชนของวัด ในด้านการอำนวยความสะดวก ที่ขาดการจัดระบบที่ดี รวมถึงคุณภาพของวัสดุ อุปกรณ์ และเทคโนโลยี และ ด้านการบริหารกิจการคณะสงฆ์ มี 2 ประเด็นหลัก คือ ด้านพุทธวิธีการบริหารงานบุคคล คือ การปฏิบัติตนของพระภิกษุสงฆ์ที่มีความประพฤติที่ไม่เหมาะสม และพุทธวิธีด้านการวางแผน คือ ต้องปรับปรุงในเรื่องของการวางแผนงบประมาณ โดยเฉพาะเรื่องของโครงสร้างทางด้านการเงิน บุคลากร การมอบหมายงาน และการจัดการองค์การ รวมถึงเจ้าอาวาสต้องมีความเข้าใจในบทบาท และหน้าที่ของตนอย่างถ่องแท้Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28103 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607336 SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-10 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available 32002000607337 SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-10 c.2 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available Modeling the link between organizational antecedents and / Ahmmed, Kawsar in AU Journal of Management, Vol. 12 No.1 ([09/30/2014])
[article]
Title : Modeling the link between organizational antecedents and : consequence of key account management performance in business to business context Material Type: printed text Authors: Ahmmed, Kawsar, Author ; Mohd, Nor Azila, Author Publication Date: 2014 Article on page: 14-24 Languages : English (eng) Original Language : English (eng)
in AU Journal of Management > Vol. 12 No.1 [09/30/2014] . - 14-24Keywords: key account management.Team effort.Repeat order.การสั่งซื้อซ้ำ.การจัดการลูกค้าหลัก.ความร่วมมือเป็นทีม. Link for e-copy: www.au.edu Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23978 [article] Modeling the link between organizational antecedents and : consequence of key account management performance in business to business context [printed text] / Ahmmed, Kawsar, Author ; Mohd, Nor Azila, Author . - 2014 . - 14-24.
Languages : English (eng) Original Language : English (eng)