From this page you can:
Home |
Search results
3 result(s) search for keyword(s) 'แนวทางการบริหาร, การจัดการเชิงพุทธ, การให้บริการของวัด, ศูนย์กลางของสังคม'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
SIU THE-T. แนวทางการบริหารจัดการเชิงพุทธของวัดในจังหวัดสมุทรสาครเพื่อการให้บริการประชาชนในฐานะศูนย์กลางของสังคม / พระครูสาครธรรมประสิทธิ์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2020
Collection Title: SIU THE-T Title : แนวทางการบริหารจัดการเชิงพุทธของวัดในจังหวัดสมุทรสาครเพื่อการให้บริการประชาชนในฐานะศูนย์กลางของสังคม Original title : Guideline for Buddhist Administration of Temples in Samut Sakhon Province for Serving the People as the Center of Society Material Type: printed text Authors: พระครูสาครธรรมประสิทธิ์, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2020 Pagination: xi, 124 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-10
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การจัดการ -- พุทธศาสนา
[LCSH]การให้บริการ -- วิจัย
[LCSH]วัด -- สมุทรสาครKeywords: แนวทางการบริหาร,
การจัดการเชิงพุทธ,
การให้บริการของวัด,
ศูนย์กลางของสังคมAbstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับการบริหารจัดการเชิงพุทธ การบริการประชาชน และการบริหารกิจการคณะสงฆ์ของวัดในจังหวัดสมุทรสาครที่มีต่อแนวทางการบริหารจัดการเชิงพุทธของวัดในจังหวัดสมุทรสาครเพื่อการให้บริการประชาชนในฐานะศูนย์กลางของสังคม 2) ศึกษาปัจจัยการบริหารจัดการเชิงพุทธ และการบริการประชาชนของวัดในจังหวัดสมุทรสาคร ที่ส่งผลต่อแนวทางการบริหารจัดการเชิงพุทธของวัดในจังหวัดสมุทรสาครเพื่อการให้บริการประชาชนในฐานะศูนย์กลางของสังคม 3) ศึกษาแนวทางการบริหารจัดการเชิงพุทธของวัดในจังหวัดสมุทรสาครเพื่อการให้บริการประชาชนในฐานะศูนย์กลางของสังคม
ผลการวิจัย พบว่า
1) ระดับการบริหารจัดการเชิงพุทธ ระดับการบริการประชาชนของวัด ภาพรวมมีค่าในระดับมาก ดังนี้ คือ พุทธวิธีด้านการอำนวยการ และขั้นตอน กระบวนการให้บริการ ส่วนระดับการบริหารกิจการคณะสงฆ์ ภาพรวมมีค่าในระดับมาก คือ ด้านงานเผยแพร่ศาสนธรรม
2) ปัจจัยการบริหารจัดการเชิงพุทธ ส่งผลต่อแนวทางการบริหารจัดการเชิงพุทธของวัดในจังหวัดสมุทรสาครเพื่อการให้บริการประชาชนในฐานะศูนย์กลางของสังคม มี 3 ปัจจัย คือ พุทธวิธีการวางแผน พุทธวิธีการบริหารงานบุคคล และพุทธวิธีการจัดการองค์การ และปัจจัยการบริการประชาชนของวัด ส่งผลต่อแนวทางการบริหารจัดการเชิงพุทธของวัดในจังหวัดสมุทรสาครเพื่อการให้บริการประชาชนในฐานะศูนย์กลางของสังคม มี 4 ปัจจัย คือ ด้านความร่วมมือกับชุมชน ด้านวัสดุ อุปกรณ์ เทคโนโลยี ด้านสถานที่ และด้านขั้นตอนกระบวนการให้บริการ
3) แนวทางการบริหารจัดการเชิงพุทธของวัดในจังหวัดสมุทรสาครเพื่อการให้บริการประชาชนในฐานะศูนย์กลางของสังคม ด้านการบริหารจัดการเชิงพุทธ ควรมีการนำพุทธวิธีด้านการวางแผนมาปรับใช้ มุ่งเน้นเรื่องการมีวิสัยทัศน์เป็นสิ่งแรกที่ต้องนำมาใช้ในการบริหารจัดการ และควรมีการปรับปรุงในเรื่องของภาวะผู้นำ โดยยึดหลักการบริหารแบบธรรมาธิปไตยในการบริหาร ด้านการบริการประชาชนของวัด ในด้านการอำนวยความสะดวก ที่ขาดการจัดระบบที่ดี รวมถึงคุณภาพของวัสดุ อุปกรณ์ และเทคโนโลยี และ ด้านการบริหารกิจการคณะสงฆ์ มี 2 ประเด็นหลัก คือ ด้านพุทธวิธีการบริหารงานบุคคล คือ การปฏิบัติตนของพระภิกษุสงฆ์ที่มีความประพฤติที่ไม่เหมาะสม และพุทธวิธีด้านการวางแผน คือ ต้องปรับปรุงในเรื่องของการวางแผนงบประมาณ โดยเฉพาะเรื่องของโครงสร้างทางด้านการเงิน บุคลากร การมอบหมายงาน และการจัดการองค์การ รวมถึงเจ้าอาวาสต้องมีความเข้าใจในบทบาท และหน้าที่ของตนอย่างถ่องแท้Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28103 SIU THE-T. แนวทางการบริหารจัดการเชิงพุทธของวัดในจังหวัดสมุทรสาครเพื่อการให้บริการประชาชนในฐานะศูนย์กลางของสังคม = Guideline for Buddhist Administration of Temples in Samut Sakhon Province for Serving the People as the Center of Society [printed text] / พระครูสาครธรรมประสิทธิ์, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020 . - xi, 124 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-10
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การจัดการ -- พุทธศาสนา
[LCSH]การให้บริการ -- วิจัย
[LCSH]วัด -- สมุทรสาครKeywords: แนวทางการบริหาร,
การจัดการเชิงพุทธ,
การให้บริการของวัด,
ศูนย์กลางของสังคมAbstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับการบริหารจัดการเชิงพุทธ การบริการประชาชน และการบริหารกิจการคณะสงฆ์ของวัดในจังหวัดสมุทรสาครที่มีต่อแนวทางการบริหารจัดการเชิงพุทธของวัดในจังหวัดสมุทรสาครเพื่อการให้บริการประชาชนในฐานะศูนย์กลางของสังคม 2) ศึกษาปัจจัยการบริหารจัดการเชิงพุทธ และการบริการประชาชนของวัดในจังหวัดสมุทรสาคร ที่ส่งผลต่อแนวทางการบริหารจัดการเชิงพุทธของวัดในจังหวัดสมุทรสาครเพื่อการให้บริการประชาชนในฐานะศูนย์กลางของสังคม 3) ศึกษาแนวทางการบริหารจัดการเชิงพุทธของวัดในจังหวัดสมุทรสาครเพื่อการให้บริการประชาชนในฐานะศูนย์กลางของสังคม
ผลการวิจัย พบว่า
1) ระดับการบริหารจัดการเชิงพุทธ ระดับการบริการประชาชนของวัด ภาพรวมมีค่าในระดับมาก ดังนี้ คือ พุทธวิธีด้านการอำนวยการ และขั้นตอน กระบวนการให้บริการ ส่วนระดับการบริหารกิจการคณะสงฆ์ ภาพรวมมีค่าในระดับมาก คือ ด้านงานเผยแพร่ศาสนธรรม
2) ปัจจัยการบริหารจัดการเชิงพุทธ ส่งผลต่อแนวทางการบริหารจัดการเชิงพุทธของวัดในจังหวัดสมุทรสาครเพื่อการให้บริการประชาชนในฐานะศูนย์กลางของสังคม มี 3 ปัจจัย คือ พุทธวิธีการวางแผน พุทธวิธีการบริหารงานบุคคล และพุทธวิธีการจัดการองค์การ และปัจจัยการบริการประชาชนของวัด ส่งผลต่อแนวทางการบริหารจัดการเชิงพุทธของวัดในจังหวัดสมุทรสาครเพื่อการให้บริการประชาชนในฐานะศูนย์กลางของสังคม มี 4 ปัจจัย คือ ด้านความร่วมมือกับชุมชน ด้านวัสดุ อุปกรณ์ เทคโนโลยี ด้านสถานที่ และด้านขั้นตอนกระบวนการให้บริการ
3) แนวทางการบริหารจัดการเชิงพุทธของวัดในจังหวัดสมุทรสาครเพื่อการให้บริการประชาชนในฐานะศูนย์กลางของสังคม ด้านการบริหารจัดการเชิงพุทธ ควรมีการนำพุทธวิธีด้านการวางแผนมาปรับใช้ มุ่งเน้นเรื่องการมีวิสัยทัศน์เป็นสิ่งแรกที่ต้องนำมาใช้ในการบริหารจัดการ และควรมีการปรับปรุงในเรื่องของภาวะผู้นำ โดยยึดหลักการบริหารแบบธรรมาธิปไตยในการบริหาร ด้านการบริการประชาชนของวัด ในด้านการอำนวยความสะดวก ที่ขาดการจัดระบบที่ดี รวมถึงคุณภาพของวัสดุ อุปกรณ์ และเทคโนโลยี และ ด้านการบริหารกิจการคณะสงฆ์ มี 2 ประเด็นหลัก คือ ด้านพุทธวิธีการบริหารงานบุคคล คือ การปฏิบัติตนของพระภิกษุสงฆ์ที่มีความประพฤติที่ไม่เหมาะสม และพุทธวิธีด้านการวางแผน คือ ต้องปรับปรุงในเรื่องของการวางแผนงบประมาณ โดยเฉพาะเรื่องของโครงสร้างทางด้านการเงิน บุคลากร การมอบหมายงาน และการจัดการองค์การ รวมถึงเจ้าอาวาสต้องมีความเข้าใจในบทบาท และหน้าที่ของตนอย่างถ่องแท้Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28103 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607336 SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-10 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available 32002000607337 SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-10 c.2 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. แนวทางการบริหารจัดการของเทศบาลนครภูเก็ตตามแนวนโยบายที่สอดคล้อง Thailand 4.0 / อุราพร เดชเกิด / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2020
Collection Title: SIU THE-T Title : แนวทางการบริหารจัดการของเทศบาลนครภูเก็ตตามแนวนโยบายที่สอดคล้อง Thailand 4.0 Original title : Guideline for Administration of Phuket Municipal Conforming Thailand 4.0 Policy Material Type: printed text Authors: อุราพร เดชเกิด, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2020 Pagination: x, 224 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 cm. General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-04
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2564Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การจัดการองค์การ
[LCSH]เทศบาลนครภูเก็ต -- การบริหารKeywords: แนวทางการบริหารจัดการ,
เทศบาลนครภูเก็ด,
นโยบายไทยแลนด์ 4.0Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการขับเคลื่อนภายในสู่ภายนอกตามแนวทางการบริหารการจัดการของเทศบาลนครภูเก็ต ตามแนวนโยบายที่สอดคล้อง Thailand 4.0 2) ศึกษาการบริหารจัดการองค์กรอย่างมีประสิทธิภาพของเทศบาลภูเก็ต ตามแนวนโยบายที่สอดคล้อง Thailand 4.0 และ 3) ศึกษาแนวทางการบริหารจัดการของเทศบาลนครภูเก็ต ตามแนวนโยบายที่สอดคล้อง Thailand 4.0 ใช้การวิจัยแบบผสานวิธี (mix methods research) ระหว่างการวิจัยเชิงคุณภาพ และเชิงปริมาณ ประชากรที่ใช้เป็นกลุ่มตัวอย่างการวิจัยเชิงคุณภาพคือ ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จำนวน 10 คน ได้แก่ ผู้บริหารเทศบาลนครภูเก็ต 1 คน สมาชิกสภาเทศบาล 5 คน และข้าราชการประจำ จำนวน 4 คน ประชากรเชิงปริมาณ คือ ประชาชนทั่วไปที่เข้ามาติดต่อประสานงานและอาศัยในเขตบริการเทศบาลจำนวน 79,086 คน คำนวนขนาดกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีของ Yamane (1997) ได้กลุ่มตัวอย่าง 400 คน
ผลการวิจัยเชิงคุณภาพด้านการขับเคลื่อนภายในสู่ภายนอก 3 ประการย่อย พบว่า (1) การยกระดับนวัตกรรม ควรมีศูนย์แสดงสินค้าทางนวัตกรรม ให้การสนับสนุนผู้ประกอบการหน้าใหม่ และ มีศูนย์การเรียนรู้ชุมชนเพื่อศึกษาดูงาน (2) การสร้างสังคมที่มีจิตวิญญาณของความเป็นผู้ประกอบการ คือ การทำธุรกิจที่ไม่ได้มุ่งเน้นผลด้านกำไรเพียงอย่างเดียว แต่ต้องคำนึงถึงสังคมที่ต้องอาศัยเกื้อกูลกันอย่างยั่งยืน ควรเน้นการตลาดเพื่อสังคม ที่ถือเป็นแนวคิดใหม่ ที่ต้องคำนึงถึงปัญหาของสังคมเป็นหลัก การเป็นผู้ประกอบการหน้าใหม่ จะคำนึงถึงความต้องการของผู้บริโภคก่อนเป็นอันดับแรก (3) การสร้างความเข้มแข้งของชุมชน และเครือข่าย ผู้นำต้องมีภาวะความเป็นผู้นำอย่างสูง ต้องมีการเรียนรู้บนพื้นฐานวัฒนธรรม และมีความจริงใจต่อกัน มีการแบ่งปันข้อมูลที่เป็นจริงในการแลกเปลี่ยน
สำหรับด้านการบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ พบว่า ควรเปิดโอกาสให้ภาคเอกชนเข้ามามีส่วนร่วม ส่งเสริมการเข้ามามีส่วนร่วมของชุมชน มุ่งเน้นการบริหารจัดการแบบมืออาชีพ เพื่อประโยชน์ของประชาชนเป็นหลัก ต้องมีระบบการทำงานที่โปร่งใส ตรวจสอบได้ มีระบบฐานข้อมูลในการสนับสนุนการทำงาน มีระบบข้อมูลย้อนกลับสำหรับการถอดบทเรียน เพื่อนำมาปรับปรุงแก้ไขได้ มีการนำเทคโนโลยี และนวัตกรรมมาช่วยในการบริหารจัดการ บุคลากรต้องมีความรู้ ความสามารถในการใช้นวัตกรรมที่ช่วยการบริหารจัดการและบริการ ต้องลดขั้นตอนในการปฏิบัติงานให้มีความเหมาะสม และ ควรมีค่าตอบแทนและสวัสดิการที่เหมาะสมกับบุคลากร ข้าราชการ เจ้าหน้าที่ นอกจากนี้ผลการวิจัยด้าน แนวทางการบริหารจัดการ พบว่า ด้านการบริหารจัดการ องค์กรการปกครองส่วนท้องถิ่นมีระบบการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ และพร้อมในการดำเนินการเพื่อประโยชน์ของประชาชน ด้านการบริหารงานบุคคลและกิจการสภา องค์กรมีการบริหารงานอย่างมีประสิทธิภาพ มีการดำเนินงานตามหลักธรรมาภิบาลโดยเฉพาะอย่างยิ่งการสร้างความโปร่งใสในการปราบปรามการทุจริตในทุกรูปแบบ เน้นการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารโดยยึดหลักการ เปิดเผยเป็นหลัก ปกปิดเป็นข้อยกเว้น มีการติดตามนวัตกรรมท้องถิ่น ที่เน้นให้ความสำคัญในเรื่องของการหาแนวทางการทำงานใหม่ ๆ เพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชนในท้องถิ่น รวมถึงความคิดสร้างสรรค์ใหม่ ๆ
ผลการวิจัยเชิงปริมาณ พบว่า 1) การขับเคลื่อนภายในสู่ภายนอกตามแนวทางการบริหารการจัดการของเทศบาลนครภูเก็ต ตามแนวนโยบายที่สอดคล้อง Thailand 4.0 ในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาตามองค์ประกอบพบว่า ด้านการยกระดับนวัตกรรม มากที่สุด รองลงมา ด้านการสร้างสังคมที่มีจิตวิญญาณของความเป็นผู้ประกอบการ และด้านการสร้างความเข้มแข็งของชุมชนและเครือข่าย 2) การบริหารจัดการองค์กรอย่างมีประสิทธิภาพของเทศบาลภูเก็ต ตามแนวนโยบายที่สอดคล้อง Thailand 4.0 มีภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านทักษะ มากที่สุด รองลงมา ด้านค่านิยมร่วม ด้านระบบ และด้านรูปแบบ มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุดตามลำดับ 3) แนวทางการบริหารจัดการของเทศบาลนครภูเก็ต ตามแนวนโยบายที่สอดคล้อง Thailand 4.0 ภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เรียงตามลำดับคือ ด้านการบริหารจัดการ รองลงมาคือ ด้านการบริหารงานบุคคลและกิจการสภา และด้านการบริการสาธาณะ เป็นด้านที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด
ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า 1) การขับเคลื่อนภายในสู่ภายนอก ที่ส่งผลต่อแนวทางการบริหารจัดการของเทศบาลนครภูเก็ต ตามแนวนโยบายที่สอดคล้อง Thailand 4.0 มี 2 ประการ คือ ด้านการสร้างสังคมที่มีจิตวิญญาณของความเป็นผู้ประกอบการ และด้านการสร้างความเข้มแข็งของชุมชนและเครือข่าย ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ. 05 ร้อยละ 35.10 (R=35.10, R2= 0.351) 2) การบริหารจัดการองค์กรอย่างมีประสิทธิภาพ ที่ส่งผลต่อแนวทางการบริหารจัดการของเทศบาลนครภูเก็ต ตามแนวนโยบายที่สอดคล้อง Thailand 4.0 มี 2 ประการ คือ ด้านยุทธศาสตร์ และด้านค่านิยมร่วม ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ. 05 ร้อยละ 56.200 (R=56.00, R2= 0.560)Curricular : BBA/GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28050 SIU THE-T. แนวทางการบริหารจัดการของเทศบาลนครภูเก็ตตามแนวนโยบายที่สอดคล้อง Thailand 4.0 = Guideline for Administration of Phuket Municipal Conforming Thailand 4.0 Policy [printed text] / อุราพร เดชเกิด, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020 . - x, 224 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 cm.
SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-04
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2564
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การจัดการองค์การ
[LCSH]เทศบาลนครภูเก็ต -- การบริหารKeywords: แนวทางการบริหารจัดการ,
เทศบาลนครภูเก็ด,
นโยบายไทยแลนด์ 4.0Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการขับเคลื่อนภายในสู่ภายนอกตามแนวทางการบริหารการจัดการของเทศบาลนครภูเก็ต ตามแนวนโยบายที่สอดคล้อง Thailand 4.0 2) ศึกษาการบริหารจัดการองค์กรอย่างมีประสิทธิภาพของเทศบาลภูเก็ต ตามแนวนโยบายที่สอดคล้อง Thailand 4.0 และ 3) ศึกษาแนวทางการบริหารจัดการของเทศบาลนครภูเก็ต ตามแนวนโยบายที่สอดคล้อง Thailand 4.0 ใช้การวิจัยแบบผสานวิธี (mix methods research) ระหว่างการวิจัยเชิงคุณภาพ และเชิงปริมาณ ประชากรที่ใช้เป็นกลุ่มตัวอย่างการวิจัยเชิงคุณภาพคือ ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จำนวน 10 คน ได้แก่ ผู้บริหารเทศบาลนครภูเก็ต 1 คน สมาชิกสภาเทศบาล 5 คน และข้าราชการประจำ จำนวน 4 คน ประชากรเชิงปริมาณ คือ ประชาชนทั่วไปที่เข้ามาติดต่อประสานงานและอาศัยในเขตบริการเทศบาลจำนวน 79,086 คน คำนวนขนาดกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีของ Yamane (1997) ได้กลุ่มตัวอย่าง 400 คน
ผลการวิจัยเชิงคุณภาพด้านการขับเคลื่อนภายในสู่ภายนอก 3 ประการย่อย พบว่า (1) การยกระดับนวัตกรรม ควรมีศูนย์แสดงสินค้าทางนวัตกรรม ให้การสนับสนุนผู้ประกอบการหน้าใหม่ และ มีศูนย์การเรียนรู้ชุมชนเพื่อศึกษาดูงาน (2) การสร้างสังคมที่มีจิตวิญญาณของความเป็นผู้ประกอบการ คือ การทำธุรกิจที่ไม่ได้มุ่งเน้นผลด้านกำไรเพียงอย่างเดียว แต่ต้องคำนึงถึงสังคมที่ต้องอาศัยเกื้อกูลกันอย่างยั่งยืน ควรเน้นการตลาดเพื่อสังคม ที่ถือเป็นแนวคิดใหม่ ที่ต้องคำนึงถึงปัญหาของสังคมเป็นหลัก การเป็นผู้ประกอบการหน้าใหม่ จะคำนึงถึงความต้องการของผู้บริโภคก่อนเป็นอันดับแรก (3) การสร้างความเข้มแข้งของชุมชน และเครือข่าย ผู้นำต้องมีภาวะความเป็นผู้นำอย่างสูง ต้องมีการเรียนรู้บนพื้นฐานวัฒนธรรม และมีความจริงใจต่อกัน มีการแบ่งปันข้อมูลที่เป็นจริงในการแลกเปลี่ยน
สำหรับด้านการบริหารจัดการอย่างมีประสิทธิภาพ พบว่า ควรเปิดโอกาสให้ภาคเอกชนเข้ามามีส่วนร่วม ส่งเสริมการเข้ามามีส่วนร่วมของชุมชน มุ่งเน้นการบริหารจัดการแบบมืออาชีพ เพื่อประโยชน์ของประชาชนเป็นหลัก ต้องมีระบบการทำงานที่โปร่งใส ตรวจสอบได้ มีระบบฐานข้อมูลในการสนับสนุนการทำงาน มีระบบข้อมูลย้อนกลับสำหรับการถอดบทเรียน เพื่อนำมาปรับปรุงแก้ไขได้ มีการนำเทคโนโลยี และนวัตกรรมมาช่วยในการบริหารจัดการ บุคลากรต้องมีความรู้ ความสามารถในการใช้นวัตกรรมที่ช่วยการบริหารจัดการและบริการ ต้องลดขั้นตอนในการปฏิบัติงานให้มีความเหมาะสม และ ควรมีค่าตอบแทนและสวัสดิการที่เหมาะสมกับบุคลากร ข้าราชการ เจ้าหน้าที่ นอกจากนี้ผลการวิจัยด้าน แนวทางการบริหารจัดการ พบว่า ด้านการบริหารจัดการ องค์กรการปกครองส่วนท้องถิ่นมีระบบการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพ และพร้อมในการดำเนินการเพื่อประโยชน์ของประชาชน ด้านการบริหารงานบุคคลและกิจการสภา องค์กรมีการบริหารงานอย่างมีประสิทธิภาพ มีการดำเนินงานตามหลักธรรมาภิบาลโดยเฉพาะอย่างยิ่งการสร้างความโปร่งใสในการปราบปรามการทุจริตในทุกรูปแบบ เน้นการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารโดยยึดหลักการ เปิดเผยเป็นหลัก ปกปิดเป็นข้อยกเว้น มีการติดตามนวัตกรรมท้องถิ่น ที่เน้นให้ความสำคัญในเรื่องของการหาแนวทางการทำงานใหม่ ๆ เพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชนในท้องถิ่น รวมถึงความคิดสร้างสรรค์ใหม่ ๆ
ผลการวิจัยเชิงปริมาณ พบว่า 1) การขับเคลื่อนภายในสู่ภายนอกตามแนวทางการบริหารการจัดการของเทศบาลนครภูเก็ต ตามแนวนโยบายที่สอดคล้อง Thailand 4.0 ในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาตามองค์ประกอบพบว่า ด้านการยกระดับนวัตกรรม มากที่สุด รองลงมา ด้านการสร้างสังคมที่มีจิตวิญญาณของความเป็นผู้ประกอบการ และด้านการสร้างความเข้มแข็งของชุมชนและเครือข่าย 2) การบริหารจัดการองค์กรอย่างมีประสิทธิภาพของเทศบาลภูเก็ต ตามแนวนโยบายที่สอดคล้อง Thailand 4.0 มีภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านทักษะ มากที่สุด รองลงมา ด้านค่านิยมร่วม ด้านระบบ และด้านรูปแบบ มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุดตามลำดับ 3) แนวทางการบริหารจัดการของเทศบาลนครภูเก็ต ตามแนวนโยบายที่สอดคล้อง Thailand 4.0 ภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เรียงตามลำดับคือ ด้านการบริหารจัดการ รองลงมาคือ ด้านการบริหารงานบุคคลและกิจการสภา และด้านการบริการสาธาณะ เป็นด้านที่มีค่าเฉลี่ยน้อยที่สุด
ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า 1) การขับเคลื่อนภายในสู่ภายนอก ที่ส่งผลต่อแนวทางการบริหารจัดการของเทศบาลนครภูเก็ต ตามแนวนโยบายที่สอดคล้อง Thailand 4.0 มี 2 ประการ คือ ด้านการสร้างสังคมที่มีจิตวิญญาณของความเป็นผู้ประกอบการ และด้านการสร้างความเข้มแข็งของชุมชนและเครือข่าย ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ. 05 ร้อยละ 35.10 (R=35.10, R2= 0.351) 2) การบริหารจัดการองค์กรอย่างมีประสิทธิภาพ ที่ส่งผลต่อแนวทางการบริหารจัดการของเทศบาลนครภูเก็ต ตามแนวนโยบายที่สอดคล้อง Thailand 4.0 มี 2 ประการ คือ ด้านยุทธศาสตร์ และด้านค่านิยมร่วม ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ. 05 ร้อยละ 56.200 (R=56.00, R2= 0.560)Curricular : BBA/GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28050 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607375 SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-04 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available 32002000607373 SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-04 c.2 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available ประสิทธิภาพการบริหารศูนย์รับแจ้งเหตุฉุกเฉิน 191 กองบัญชาการตำรวจนครบาล / ธานินทร์ มุมทอง / ปทุมธานี : มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2020
Title : ประสิทธิภาพการบริหารศูนย์รับแจ้งเหตุฉุกเฉิน 191 กองบัญชาการตำรวจนครบาล Original title : Management Efficiency of the Emergency Notification Center 191 Metropolitan Police Bureau Material Type: printed text Authors: ธานินทร์ มุมทอง, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name Publisher: ปทุมธานี : มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2020 Pagination: xv, 258 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-23
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ศูนย์รับแจ้งเหตุฉุกเฉิน 191 -- การบริหาร
[LCSH]องค์กร -- การจัดการKeywords: ประสิทธิภาพการบริหาร, แนวทางการบริหาร, ศูนย์รับแจ้งเหตุฉุกเฉิน 191 Curricular : MBA/MPA/DPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28274 ประสิทธิภาพการบริหารศูนย์รับแจ้งเหตุฉุกเฉิน 191 กองบัญชาการตำรวจนครบาล = Management Efficiency of the Emergency Notification Center 191 Metropolitan Police Bureau [printed text] / ธานินทร์ มุมทอง, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name . - ปทุมธานี : มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020 . - xv, 258 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-23
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ศูนย์รับแจ้งเหตุฉุกเฉิน 191 -- การบริหาร
[LCSH]องค์กร -- การจัดการKeywords: ประสิทธิภาพการบริหาร, แนวทางการบริหาร, ศูนย์รับแจ้งเหตุฉุกเฉิน 191 Curricular : MBA/MPA/DPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28274 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32 002000607502 SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-23 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available 32002000607501 SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-23 c.2 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available