From this page you can:
Home |
Search results
9 result(s) search for keyword(s) 'กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง, ผลสัมฤทธิ์, ยุทธศาสตร์ชาติ'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
SIU THE-T. ปัจจัยที่มีต่อผลสัมฤทธิ์การบริหารจัดการกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ ตามแนวทางยุทธศาสตร์ชาติ กรณีศึกษา จังหวัดปทุมธานี / ชัยพร โทนทอง / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2019
Collection Title: SIU THE-T Title : ปัจจัยที่มีต่อผลสัมฤทธิ์การบริหารจัดการกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ ตามแนวทางยุทธศาสตร์ชาติ กรณีศึกษา จังหวัดปทุมธานี Original title : Factors Affecting the Achievement of National Village and Urban Community’s Fund in Line with the National Strategy: A Case of Pathum Thani Province Material Type: printed text Authors: ชัยพร โทนทอง, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2019 Pagination: x, 234 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-16
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง -- ไทย -- ปทุมธานี -- การบริหาร
[LCSH]ยุทธศาสตร์Keywords: กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง,
ผลสัมฤทธิ์,
ยุทธศาสตร์ชาติCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27960 SIU THE-T. ปัจจัยที่มีต่อผลสัมฤทธิ์การบริหารจัดการกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมืองแห่งชาติ ตามแนวทางยุทธศาสตร์ชาติ กรณีศึกษา จังหวัดปทุมธานี = Factors Affecting the Achievement of National Village and Urban Community’s Fund in Line with the National Strategy: A Case of Pathum Thani Province [printed text] / ชัยพร โทนทอง, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019 . - x, 234 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-16
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง -- ไทย -- ปทุมธานี -- การบริหาร
[LCSH]ยุทธศาสตร์Keywords: กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง,
ผลสัมฤทธิ์,
ยุทธศาสตร์ชาติCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27960 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607959 SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-16 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000607961 SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-16 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. ปัจจัยการบริหารงานที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์การปฏิบัติราชการของกองบัญชาการตำรวจนครบาล สำนักงานตำรวจแห่งชาติ / เชาวลิต บริบูรณ์รัตน์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2020
Collection Title: SIU THE-T Title : ปัจจัยการบริหารงานที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์การปฏิบัติราชการของกองบัญชาการตำรวจนครบาล สำนักงานตำรวจแห่งชาติ Original title : Administrative Factors Affecting Performance Achievement of the Royal Thai Police Metropolitan Police Bureau Material Type: printed text Authors: เชาวลิต บริบูรณ์รัตน์, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2020 Pagination: x, 236 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-17
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]กองบัญชาการตำรวจนครบาล -- ข้าราชการ
[LCSH]ข้าราชการ -- การทำงาน
[LCSH]สำนักงานตำรวจแห่งชาติ -- การบริหารKeywords: ปัจจัยการบริหารงาน,
ผลสัมฤทธิ์,
ตำรวจนครบาลAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระดับความสำคัญของปัจจัยการบริหารงาน และระดับผลสัมฤทธิ์การปฏิบัติราชการ 2) เพื่อศึกษาปัจจัยการบริหารงานที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์การปฏิบัติราชการ และ 3) เพื่อนำเสนอแนวทางที่เหมาะสมในการบริหารงานเพื่อนำไปสู่การผลสัมฤทธิ์การปฏิบัติราชการของกองบัญชาการตำรวจนครบาล สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ข้าราชการตำรวจในสังกัดกองบัญชาการตำรวจนครบาล จำนวน 400 ราย และผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ ผู้บังคับบัญชาระดับกองบัญชาการ จำนวน 5 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ แบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ ข้อมูลเชิงคุณภาพวิเคราะห์เนื้อหา สังเคราะห์เป็นประเด็นร่วมหรือประเด็นหลัก และอธิบายเนื้อหา
ผลการวิจัย พบว่า
1) ปัจจัยการบริหารงานของกองบัญชาการตำรวจนครบาล สำนักงานตำรวจแห่งชาติใน
ภาพรวมมีความสำคัญอยู่ระดับมาก โดยพบว่า ปัจจัยการบริหารงานที่มีระดับความสำคัญมากที่สุด ได้แก่ ด้านวัฒนธรรมองค์การ รองลงมา ได้แก่ ด้านหลักธรรมาภิบาล ด้านลักษณะขององค์การ ด้านภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง และด้านทรัพยากรการบริหาร ตามลำดับ และผลสัมฤทธิ์การปฏิบัติราชการในภาพรวมมีระดับผลสัมฤทธิ์อยู่ระดับมาก โดยพบว่า ผลสัมฤทธิ์การปฏิบัติราชการที่มีระดับผลสัมฤทธิ์มากที่สุด ได้แก่ ด้านประสิทธิผลตามพันธกิจ รองลงมา ได้แก่ ด้านการพัฒนาองค์การ ด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ และด้านคุณภาพการให้บริการ ตามลำดับ
2) ปัจจัยการบริหารงานด้านหลักธรรมาภิบาล ด้านทรัพยากรการบริหาร และด้านวัฒนธรรมองค์การส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์การปฏิบัติราชการของกองบัญชาการตำรวจนครบาลในภาพรวมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และ
3) แนวทางที่เหมาะสมในปัจจัยการบริหารงานภารกิจ ได้แก่ การเพิ่มกำลังพลให้เหมาะสม เพียงพอแก่การปฏิบัติหน้าที่ การให้ผลตอบแทนที่เหมาะสม การจัดหาเครื่องมือเครื่องใช้ต่างๆ อย่างเพียงพอ รวมถึงการจัดกิจกรรมร่วมกับชุมชนเพื่อสร้างความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับตำรวจและประชาชนยิ่งขึ้น จะทำให้ประชาชนให้ความร่วมมือกับเจ้าหน้าที่ส่งผลให้การทำงานให้บรรลุผลง่ายขึ้นCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28049 SIU THE-T. ปัจจัยการบริหารงานที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์การปฏิบัติราชการของกองบัญชาการตำรวจนครบาล สำนักงานตำรวจแห่งชาติ = Administrative Factors Affecting Performance Achievement of the Royal Thai Police Metropolitan Police Bureau [printed text] / เชาวลิต บริบูรณ์รัตน์, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020 . - x, 236 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-17
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]กองบัญชาการตำรวจนครบาล -- ข้าราชการ
[LCSH]ข้าราชการ -- การทำงาน
[LCSH]สำนักงานตำรวจแห่งชาติ -- การบริหารKeywords: ปัจจัยการบริหารงาน,
ผลสัมฤทธิ์,
ตำรวจนครบาลAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระดับความสำคัญของปัจจัยการบริหารงาน และระดับผลสัมฤทธิ์การปฏิบัติราชการ 2) เพื่อศึกษาปัจจัยการบริหารงานที่ส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์การปฏิบัติราชการ และ 3) เพื่อนำเสนอแนวทางที่เหมาะสมในการบริหารงานเพื่อนำไปสู่การผลสัมฤทธิ์การปฏิบัติราชการของกองบัญชาการตำรวจนครบาล สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ข้าราชการตำรวจในสังกัดกองบัญชาการตำรวจนครบาล จำนวน 400 ราย และผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ ผู้บังคับบัญชาระดับกองบัญชาการ จำนวน 5 ราย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ แบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ ข้อมูลเชิงคุณภาพวิเคราะห์เนื้อหา สังเคราะห์เป็นประเด็นร่วมหรือประเด็นหลัก และอธิบายเนื้อหา
ผลการวิจัย พบว่า
1) ปัจจัยการบริหารงานของกองบัญชาการตำรวจนครบาล สำนักงานตำรวจแห่งชาติใน
ภาพรวมมีความสำคัญอยู่ระดับมาก โดยพบว่า ปัจจัยการบริหารงานที่มีระดับความสำคัญมากที่สุด ได้แก่ ด้านวัฒนธรรมองค์การ รองลงมา ได้แก่ ด้านหลักธรรมาภิบาล ด้านลักษณะขององค์การ ด้านภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง และด้านทรัพยากรการบริหาร ตามลำดับ และผลสัมฤทธิ์การปฏิบัติราชการในภาพรวมมีระดับผลสัมฤทธิ์อยู่ระดับมาก โดยพบว่า ผลสัมฤทธิ์การปฏิบัติราชการที่มีระดับผลสัมฤทธิ์มากที่สุด ได้แก่ ด้านประสิทธิผลตามพันธกิจ รองลงมา ได้แก่ ด้านการพัฒนาองค์การ ด้านประสิทธิภาพของการปฏิบัติราชการ และด้านคุณภาพการให้บริการ ตามลำดับ
2) ปัจจัยการบริหารงานด้านหลักธรรมาภิบาล ด้านทรัพยากรการบริหาร และด้านวัฒนธรรมองค์การส่งผลต่อผลสัมฤทธิ์การปฏิบัติราชการของกองบัญชาการตำรวจนครบาลในภาพรวมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และ
3) แนวทางที่เหมาะสมในปัจจัยการบริหารงานภารกิจ ได้แก่ การเพิ่มกำลังพลให้เหมาะสม เพียงพอแก่การปฏิบัติหน้าที่ การให้ผลตอบแทนที่เหมาะสม การจัดหาเครื่องมือเครื่องใช้ต่างๆ อย่างเพียงพอ รวมถึงการจัดกิจกรรมร่วมกับชุมชนเพื่อสร้างความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับตำรวจและประชาชนยิ่งขึ้น จะทำให้ประชาชนให้ความร่วมมือกับเจ้าหน้าที่ส่งผลให้การทำงานให้บรรลุผลง่ายขึ้นCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28049 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607376 SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-17 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available 32002000607378 SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-17 c.2 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์การบริหารระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารของมหาวิทยาลัยราชภัฏในประเทศไทย / อลงกรณ์ สถาปัตยานนท์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2018
Collection Title: SIU THE-T Title : ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์การบริหารระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารของมหาวิทยาลัยราชภัฏในประเทศไทย Original title : Factors Influencing the Achievement of Administration Information and Communication Technology System for the Rajabhat University in Thailand Material Type: printed text Authors: อลงกรณ์ สถาปัตยานนท์, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2018 Pagination: x, 197 p. Layout: Tables, ill. Size: 30 cm. Price: 500.00 Baht. General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-05
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารงานโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์
[LCSH]ระบบสารสนเทศ
[LCSH]เทคโนโลยีสารสนเทศKeywords: ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ,
มหาวิทยาลัยราชภัฏ,
ผลสัมฤทธิ์การบริหารAbstract: การวิจัยเรื่องปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์การบริหารระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของมหาวิทยาลัยราชภัฏในประเทศไทย มีวัตถุประสงค์การวิจัย1) เพื่อศึกษาระดับผลสัมฤทธิ์การบริหารระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของมหาวิทยาลัยราชภัฏในประเทศไทย 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์การบริหารระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของมหาวิทยาลัยราชภัฏในประเทศไทยในประเทศไทย 3) เพื่อเป็นข้อเสนอแนะแนวทางในการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของมหาวิทยาลัยราชภัฏในประเทศไทย เป็นการวิจัยเชิงผสม โดยการวิจัยเชิงปริมาณ คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างผู้บริหาร เจ้าหน้าที่ อาจารย์ผู้สอนในการตอบแบบสอบถามจำนวน 400 คน จากมหาวิทยาลัยราชภัฏในกลุ่มรัตนโกสินทร์ และกำหนดกลุ่มตัวอย่างจากสูตรของยามาเน ได้จำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่แบบสอบถาม และการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยสัมภาษณ์เชิงลึกผู้บริหาร อาจารย์ผู้สอน และเจ้าหน้าที่จากมหาวิทยาลัยราชภัฏในกลุ่มรัตนโกสินทร์ จำนวน 4 คน ผลการวิจัย พบว่า ผลสัมฤทธิ์การบริหารระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารจะมีประสิทธิภาพมีคุณภาพในการให้บริการและการบริหารได้ต้องขึ้นอยู่กับปัจจัย ดังนี้ 1) ความชัดเจนของวัตถุประสงค์และเป้าหมายของนโยบายการบริหารระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ 2) ระดับการให้ความสำคัญของการใช้งบประมาณในหน่วยงาน 3) ความสนับสนุนของผู้นำในหน่วยงาน/องค์การ 4) ความสนับสนุนจากภาครัฐ 5) การให้สิ่งจูงใจให้บุคลากรในองค์การใช้เทคโนโลยีเรื่องวัสดุอุปกรณ์และตัวเงินในการจัดหา 6) ประสิทธิภาพของการพัฒนาทรัพยากรบุคคลในองค์การ 7) ปัจจัยประสิทธิผลของการสื่อสาร 8) ความสนับสนุนจากภาคเอกชน และ 9) การให้สิ่งจูงใจให้บุคลากรในองค์การใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยทำให้มีโอกาสก้าวหน้าตามลำดับ และผลจากการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร พบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศมีความสัมพันธ์กับความชัดเจนของวัตถุประสงค์และเป้าหมาย มากที่สุด รองลงมาคือการให้ความสำคัญของการใช้งบประมาณในหน่วยงาน ความสนับสนุนของผู้นำในหน่วยงาน ความสนับสนุนจากภาครัฐ การให้สิ่งจูงใจให้บุคลากรในองค์การใช้เทคโนโลยี การจัดหาประสิทธิภาพของการพัฒนาทรัพยากรบุคคลในองค์การ ความสนับสนุนจากภาคเอกชนและประสิทธิผลของการสื่อสาร ตามลำดับ ข้อเสนอแนะในการวิจัย คือ 1) ผู้นำ/ผู้บริหารมีบทบาทสำคัญต่อการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ 2) มหาวิทยาลัยจะต้องมีแผนปฏิบัติการประจำปีที่ชัดเจนในการทำแผนแม่บททั้งระยะสั้นและระยะยาว โดยแต่ละปีต้องมีแผนงบประมาณรายปีที่ชัดเจน 3) จากผลการวิจัยเชิงปริมาณพบว่า งบประมาณมีผลต่อผลสัมฤทธิ์จึงต้องมีการจัดทำแผนงบประมาณให้พ้องกับนโยบายและต้องมีสัดส่วน 1:0.45 และ 4)จากผลการวิจัยเชิงคุณภาพ ผู้บริหารควรมีการสนับสนุนการให้นโยบายการพัฒนาด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยกรบวนการสรรหาอธิการบดีมหาวิทยาลัยควรให้มีการแสดงวิสัยทัศน์ในการกำหนดนโยบายการพัฒนาด้านเทคโนโลยีสารสนเทศด้วย Curricular : GE/MSIT/PhDT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27864 SIU THE-T. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์การบริหารระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารของมหาวิทยาลัยราชภัฏในประเทศไทย = Factors Influencing the Achievement of Administration Information and Communication Technology System for the Rajabhat University in Thailand [printed text] / อลงกรณ์ สถาปัตยานนท์, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018 . - x, 197 p. : Tables, ill. ; 30 cm.
500.00 Baht.
SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-05
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารงานโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์
[LCSH]ระบบสารสนเทศ
[LCSH]เทคโนโลยีสารสนเทศKeywords: ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ,
มหาวิทยาลัยราชภัฏ,
ผลสัมฤทธิ์การบริหารAbstract: การวิจัยเรื่องปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์การบริหารระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของมหาวิทยาลัยราชภัฏในประเทศไทย มีวัตถุประสงค์การวิจัย1) เพื่อศึกษาระดับผลสัมฤทธิ์การบริหารระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของมหาวิทยาลัยราชภัฏในประเทศไทย 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์การบริหารระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของมหาวิทยาลัยราชภัฏในประเทศไทยในประเทศไทย 3) เพื่อเป็นข้อเสนอแนะแนวทางในการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของมหาวิทยาลัยราชภัฏในประเทศไทย เป็นการวิจัยเชิงผสม โดยการวิจัยเชิงปริมาณ คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างผู้บริหาร เจ้าหน้าที่ อาจารย์ผู้สอนในการตอบแบบสอบถามจำนวน 400 คน จากมหาวิทยาลัยราชภัฏในกลุ่มรัตนโกสินทร์ และกำหนดกลุ่มตัวอย่างจากสูตรของยามาเน ได้จำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่แบบสอบถาม และการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยสัมภาษณ์เชิงลึกผู้บริหาร อาจารย์ผู้สอน และเจ้าหน้าที่จากมหาวิทยาลัยราชภัฏในกลุ่มรัตนโกสินทร์ จำนวน 4 คน ผลการวิจัย พบว่า ผลสัมฤทธิ์การบริหารระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารจะมีประสิทธิภาพมีคุณภาพในการให้บริการและการบริหารได้ต้องขึ้นอยู่กับปัจจัย ดังนี้ 1) ความชัดเจนของวัตถุประสงค์และเป้าหมายของนโยบายการบริหารระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ 2) ระดับการให้ความสำคัญของการใช้งบประมาณในหน่วยงาน 3) ความสนับสนุนของผู้นำในหน่วยงาน/องค์การ 4) ความสนับสนุนจากภาครัฐ 5) การให้สิ่งจูงใจให้บุคลากรในองค์การใช้เทคโนโลยีเรื่องวัสดุอุปกรณ์และตัวเงินในการจัดหา 6) ประสิทธิภาพของการพัฒนาทรัพยากรบุคคลในองค์การ 7) ปัจจัยประสิทธิผลของการสื่อสาร 8) ความสนับสนุนจากภาคเอกชน และ 9) การให้สิ่งจูงใจให้บุคลากรในองค์การใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยทำให้มีโอกาสก้าวหน้าตามลำดับ และผลจากการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร พบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศมีความสัมพันธ์กับความชัดเจนของวัตถุประสงค์และเป้าหมาย มากที่สุด รองลงมาคือการให้ความสำคัญของการใช้งบประมาณในหน่วยงาน ความสนับสนุนของผู้นำในหน่วยงาน ความสนับสนุนจากภาครัฐ การให้สิ่งจูงใจให้บุคลากรในองค์การใช้เทคโนโลยี การจัดหาประสิทธิภาพของการพัฒนาทรัพยากรบุคคลในองค์การ ความสนับสนุนจากภาคเอกชนและประสิทธิผลของการสื่อสาร ตามลำดับ ข้อเสนอแนะในการวิจัย คือ 1) ผู้นำ/ผู้บริหารมีบทบาทสำคัญต่อการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ 2) มหาวิทยาลัยจะต้องมีแผนปฏิบัติการประจำปีที่ชัดเจนในการทำแผนแม่บททั้งระยะสั้นและระยะยาว โดยแต่ละปีต้องมีแผนงบประมาณรายปีที่ชัดเจน 3) จากผลการวิจัยเชิงปริมาณพบว่า งบประมาณมีผลต่อผลสัมฤทธิ์จึงต้องมีการจัดทำแผนงบประมาณให้พ้องกับนโยบายและต้องมีสัดส่วน 1:0.45 และ 4)จากผลการวิจัยเชิงคุณภาพ ผู้บริหารควรมีการสนับสนุนการให้นโยบายการพัฒนาด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยกรบวนการสรรหาอธิการบดีมหาวิทยาลัยควรให้มีการแสดงวิสัยทัศน์ในการกำหนดนโยบายการพัฒนาด้านเทคโนโลยีสารสนเทศด้วย Curricular : GE/MSIT/PhDT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27864 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000597888 SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-05 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000597870 SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-05 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available SIU THE-T. ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จของการจัดการธุรกิจที่พักอาศัยผู้สูงอายุในประเทศไทย / พรจันทร์ สุพรรณ์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU THE-T Title : ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จของการจัดการธุรกิจที่พักอาศัยผู้สูงอายุในประเทศไทย Original title : Factors Affecting on the Business Achievement of Senior Home in Thailand Material Type: printed text Authors: พรจันทร์ สุพรรณ์, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; อุษณีษ์ เสวกวัชรี, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: xxxviii, 477 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU THE-T: SOM-DBA-2017-02
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2560Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารธุรกิจ
[LCSH]ผู้สูงอายุ -- ที่อยู่อาศัย -- ไทยKeywords: โครงสร้างองค์กร,
ระบบการปฏิบัติงาน,
การจัดการบุคคล,
ส่วนประสมการตลาด,
สภาพแวดล้อมภายนอก,
ผลสัมฤทธิ์ของการดาเนินธุรกิจที่พักอาศัยผู้สูงอายุในประเทศไทยAbstract: ปฏิบัติงาน ปัจจัยการจัดการบุคคล ปัจจัยส่วนประสมการตลาด ปัจจัยสภาพแวดล้อมภายนอก และผลสัมฤทธิ์ของการดาเนินธุรกิจที่พักอาศัยผู้สูงอายุในประเทศไทย และเพื่อสร้างแบบจาลองปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ของการดาเนินธุรกิจที่พักอาศัยผู้สูงอายุในประเทศไทย โดยใช้เทคนิคการวิจัยเชิงผสม คือ การวิจัยเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณร่วมกัน กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยเชิงปริมาณ คือ ผู้ประกอบการ/ผู้บริหารธุรกิจที่พักอาศัยผู้สูงอายุในประเทศไทย จำนวน 640 คน ด้วยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน (multi-stage sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ สถิติเชิงพรรณนา และสถิติเชิงอนุมานในการวิเคราะห์การถดถอยเชิงเส้นแบบพหุ (Multiple Linear Regression Analysis) และการวิเคราะห์ตัวแปร เพื่อทดสอบสมมติฐาน
ผลการวิจัยพบว่า ผู้ประกอบการ /ผู้บริหารธุรกิจที่พักอาศัยผู้สูงอายุในประเทศไทยส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุระหว่าง 31 – 40 ปี การศึกษาระดับปริญญาตรี ซึ่งมีตาแหน่งงานส่วนใหญ่เป็นหัวหน้าฝ่ายดูแลผู้สูงอายุ และรูปแบบของธุรกิจที่พักอาศัยผู้สูงอายุส่วนใหญ่เป็นบ้านเดี่ยว ระยะเวลาที่ผู้สูงอายุเข้ารับบริการส่วนใหญ่บริการดูแลระยะยาว และส่วนใหญ่มีความต้องการการดูแลของผู้สูงอายุที่เข้ารับบริการในลักษณะผู้สูงอายุที่ช่วยเหลือตนเองได้
ผลการทดสอบสมมติฐานการวิจัย พบว่า 1) ปัจจัยโครงสร้างองค์กร 2) ปัจจัยระบบการปฏิบัติงาน 3) ปัจจัยการจัดการบุคคล 4) ปัจจัยส่วนประสมการตลาด และ 5) ปัจจัยสภาพแวดล้อมภายนอกมีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์การดาเนินธุรกิจที่พักอาศัยผู้สูงอายุในประเทศไทย โดยสามารถรักษาฐานลูกค้าเดิมและการขยายจำนวนลูกค้าใหม่เพิ่มขึ้น, ด้านประสิทธิภาพของการให้บริการ ได้แก่ จำนวนบุคลากรที่ให้บริการมีความเหมาะสมในการตอบสนองความต้องการของลูกค้า และการไม่มีข้อเรียกร้องจากผู้มาใช้บริการ, ด้านการสร้างการรับรู้ในกลุ่มลูกค้าเพิ่มขึ้น ได้แก่ ความภักดีของลูกค้าในการกลับมาใช้บริการซ้า และคุณภาพและมาตรฐานในการให้บริการ, ด้านผลิตภาพและประสิทธิภาพของพนักงาน ได้แก่ ความเต็มใจและความกระตือรือร้นในการปฏิบัติงาน และความจงรักภักดีต่อองค์กร และด้านภาพลักษณ์ที่ดีของธุรกิจ ได้แก่ ภาพสะท้อนถึงระบบบริหารจัดการบุคลากร (ผู้บริหารและพนักงาน) และการทาประโยชน์ให้กับสาธารณะ และผลการสร้างแบบจาลองปัจจัยที่ส่งผลต่อความสาเร็จของการจัดการธุรกิจที่พักอาศัยผู้สูงอายุในประเทศไทย พบว่า ปัจจัยโครงสร้างองค์กร ปัจจัยระบบปฏิบัติงาน ปัจจัยการจัดการบุคคล ปัจจัยส่วนประสมการตลาด และปัจจัยสภาพแวดล้อมภายนอกมีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ของการ
ดาเนินธุรกิจที่พักอาศัยผู้สูงอายุในประเทศไทยดังนั้นผู้ประกอบการ/ผู้บริหารธุรกิจที่พักอาศัยผู้สูงอายุในประเทศไทยและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถที่จะนาผลการศึกษาวิจัยครั้งนี้ไปประยุกต์ใช้ในการพิจารณาขยายการลงทุนและพัฒนาตลาดธุรกิจที่พักอาศัยผู้สูงอายุในประเทศไทยที่สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมได้อย่างประสบความสาเร็จCurricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27263 SIU THE-T. ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จของการจัดการธุรกิจที่พักอาศัยผู้สูงอายุในประเทศไทย = Factors Affecting on the Business Achievement of Senior Home in Thailand [printed text] / พรจันทร์ สุพรรณ์, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; อุษณีษ์ เสวกวัชรี, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - xxxviii, 477 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU THE-T: SOM-DBA-2017-02
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2560
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารธุรกิจ
[LCSH]ผู้สูงอายุ -- ที่อยู่อาศัย -- ไทยKeywords: โครงสร้างองค์กร,
ระบบการปฏิบัติงาน,
การจัดการบุคคล,
ส่วนประสมการตลาด,
สภาพแวดล้อมภายนอก,
ผลสัมฤทธิ์ของการดาเนินธุรกิจที่พักอาศัยผู้สูงอายุในประเทศไทยAbstract: ปฏิบัติงาน ปัจจัยการจัดการบุคคล ปัจจัยส่วนประสมการตลาด ปัจจัยสภาพแวดล้อมภายนอก และผลสัมฤทธิ์ของการดาเนินธุรกิจที่พักอาศัยผู้สูงอายุในประเทศไทย และเพื่อสร้างแบบจาลองปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ของการดาเนินธุรกิจที่พักอาศัยผู้สูงอายุในประเทศไทย โดยใช้เทคนิคการวิจัยเชิงผสม คือ การวิจัยเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณร่วมกัน กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยเชิงปริมาณ คือ ผู้ประกอบการ/ผู้บริหารธุรกิจที่พักอาศัยผู้สูงอายุในประเทศไทย จำนวน 640 คน ด้วยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน (multi-stage sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ สถิติเชิงพรรณนา และสถิติเชิงอนุมานในการวิเคราะห์การถดถอยเชิงเส้นแบบพหุ (Multiple Linear Regression Analysis) และการวิเคราะห์ตัวแปร เพื่อทดสอบสมมติฐาน
ผลการวิจัยพบว่า ผู้ประกอบการ /ผู้บริหารธุรกิจที่พักอาศัยผู้สูงอายุในประเทศไทยส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุระหว่าง 31 – 40 ปี การศึกษาระดับปริญญาตรี ซึ่งมีตาแหน่งงานส่วนใหญ่เป็นหัวหน้าฝ่ายดูแลผู้สูงอายุ และรูปแบบของธุรกิจที่พักอาศัยผู้สูงอายุส่วนใหญ่เป็นบ้านเดี่ยว ระยะเวลาที่ผู้สูงอายุเข้ารับบริการส่วนใหญ่บริการดูแลระยะยาว และส่วนใหญ่มีความต้องการการดูแลของผู้สูงอายุที่เข้ารับบริการในลักษณะผู้สูงอายุที่ช่วยเหลือตนเองได้
ผลการทดสอบสมมติฐานการวิจัย พบว่า 1) ปัจจัยโครงสร้างองค์กร 2) ปัจจัยระบบการปฏิบัติงาน 3) ปัจจัยการจัดการบุคคล 4) ปัจจัยส่วนประสมการตลาด และ 5) ปัจจัยสภาพแวดล้อมภายนอกมีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์การดาเนินธุรกิจที่พักอาศัยผู้สูงอายุในประเทศไทย โดยสามารถรักษาฐานลูกค้าเดิมและการขยายจำนวนลูกค้าใหม่เพิ่มขึ้น, ด้านประสิทธิภาพของการให้บริการ ได้แก่ จำนวนบุคลากรที่ให้บริการมีความเหมาะสมในการตอบสนองความต้องการของลูกค้า และการไม่มีข้อเรียกร้องจากผู้มาใช้บริการ, ด้านการสร้างการรับรู้ในกลุ่มลูกค้าเพิ่มขึ้น ได้แก่ ความภักดีของลูกค้าในการกลับมาใช้บริการซ้า และคุณภาพและมาตรฐานในการให้บริการ, ด้านผลิตภาพและประสิทธิภาพของพนักงาน ได้แก่ ความเต็มใจและความกระตือรือร้นในการปฏิบัติงาน และความจงรักภักดีต่อองค์กร และด้านภาพลักษณ์ที่ดีของธุรกิจ ได้แก่ ภาพสะท้อนถึงระบบบริหารจัดการบุคลากร (ผู้บริหารและพนักงาน) และการทาประโยชน์ให้กับสาธารณะ และผลการสร้างแบบจาลองปัจจัยที่ส่งผลต่อความสาเร็จของการจัดการธุรกิจที่พักอาศัยผู้สูงอายุในประเทศไทย พบว่า ปัจจัยโครงสร้างองค์กร ปัจจัยระบบปฏิบัติงาน ปัจจัยการจัดการบุคคล ปัจจัยส่วนประสมการตลาด และปัจจัยสภาพแวดล้อมภายนอกมีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์ของการ
ดาเนินธุรกิจที่พักอาศัยผู้สูงอายุในประเทศไทยดังนั้นผู้ประกอบการ/ผู้บริหารธุรกิจที่พักอาศัยผู้สูงอายุในประเทศไทยและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถที่จะนาผลการศึกษาวิจัยครั้งนี้ไปประยุกต์ใช้ในการพิจารณาขยายการลงทุนและพัฒนาตลาดธุรกิจที่พักอาศัยผู้สูงอายุในประเทศไทยที่สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมได้อย่างประสบความสาเร็จCurricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27263 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000594828 SIU THE-T: SOM-DBA-2017-02 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000594810 SIU THE-T: SOM-DBA-2017-02 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available SIU THE-T. ผลสัมฤทธิ์การบริหารจัดการของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาล สำนักงานตำรวจแห่งชาติ / ไพทูรย์ สิทธิบุญ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2019
Collection Title: SIU THE-T Title : ผลสัมฤทธิ์การบริหารจัดการของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาล สำนักงานตำรวจแห่งชาติ Original title : Achievement Management of the Patrol Special Operation Division, Metropolitan Police Bureau, Royal Thai Police Material Type: printed text Authors: ไพทูรย์ สิทธิบุญ, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2019 Pagination: xv, 292 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-13
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ตำรวจ -- การปฏิบัติงาน Keywords: พฤติกรรมการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ,
ผลสัมฤทธิ์การบริหารจัดการของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษAbstract: การศึกษาวิจัยเรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อการศึกษาวิจัย 1) เพื่อศึกษาพฤติกรรมการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ และ ผลสัมฤทธิ์การบริหารของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ 2) เพื่อศึกษาอิทธิพลระหว่างพฤติกรรมการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ และผลสัมฤทธิ์การบริหาร ที่มีผลต่อผลสัมฤทธิ์การบริหารจัดการของ กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ 3) เพื่อศึกษาสภาพปัญหา และอุปสรรค รวมถึงแนวทางในการบริหารจัดการที่จะช่วยให้การปฏิบัติงานบรรลุผลสัมฤทธิ์ในการบริหารจัดการของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ วิธีการวิจัย ผู้วิจัยใช้ แบบผสมผสาน (Mixed Methods Research) ดำเนินการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) ก่อนและตามด้วยการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) เครื่องมือในการวิจัย เชิงปริมาณ ใช้แบบสอบถาม จำนวน 306 ชุด และการวิจัยเชิงคุณภาพ ใช้วิธีสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง สถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ สถิติพรรณนา (Descriptive Statistics) สถิติอนุมาน (Inferential Statistics) การวิเคราะห์ข้อมูล เชิงสหสัมพันธ์ (Correlation Analysis) โดยกำหนดนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05 และ การวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ (Multiple Regression Analysis) ใช้เทคนิคการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน (Stepwise Multiple Regression) โดยกำหนดให้ระดับนัยสำคัญทางสถิติไว้ที่ .05 การตรวจวัดเครื่องมือการวิจัย การวิจัยเชิงปริมาณ ผู้วิจัยดำเนินการหาค่าความเที่ยงตรง (Validity) ของแบบสอบถามด้วยวิธีหาค่า Index of Item Objective Congruence : IOC โดยให้อาจารย์ที่ปรึกษาและผู้เชี่ยวชาญ รวม 5 คน เป็นผู้ตรวจแบบสอบถาม (Face Validity) เพื่อให้มีความเที่ยงตรงตามเนื้อหา จากนั้นนำแบบสอบถามที่ได้รับจากการหาค่า IOC มาทำการปรับปรุงแก้ไขวัดค่า IOC ได้ ระหว่าง 0.6-1.00 เพื่อให้งานวิจัยมีความน่าเชื่อถือ ผู้วิจัยได้นำแบบสอบถามที่ได้ปรับแก้ไขแล้วไปทดสอบ (Pre-Test) กับกลุ่มตำรวจกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ ซึ่งใกล้เคียงกับกลุ่มตัวอย่างจริง จำนวน 30 คน เพื่อหาค่าความเชื่อมั่น (Reliability) ด้วยวิธีการหาค่าสัมประสิทธิ์อัลฟ่าของครอนบาค (Cronbach ,Alpha Coefficient) เพื่อให้ได้ค่าไม่น้อยกว่า 0.70 จึงจะมีความเหมาะสมในการนำไปเก็บข้อมูล (สุจิตรา บุญยรัตพันธุ์, 2546, น. 135-141) (วันชัย จึงวิบูลย์สถิต, 2560, น. 104) และ (จีรวัฏฐ์ บุญวัฒนาภรณ์, 2556, น. 142) ผลการทดสอบ ด้านพฤติกรรมการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจสังกัดกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ ได้ค่า 0.965 และผลสัมฤทธิ์การบริหารจัดการของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ ที่มีผลต่อพฤติกรรมการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ ได้ค่า 0.995
ผลการวิจัยพบว่า
1) ด้านพฤติกรรมการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ และ ผลสัมฤทธิ์การบริหารของกองบังคับการ สายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ ตามวัตถุประสงค์ข้อ 1 โดยรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก (x ̅ = 3.489, S.D. = 0.809) ซึ่งประกอบด้วย ด้านทัศนคติในการปฏิบัติงาน (x ̅ = 3.598, S.D. = 0.809) ด้านความเข้มแข็งในการปฏิบัติงาน (x ̅ = 3.526, S.D. = 0.832) ด้านการปฏิบัติงานมุ่งสู่สากล (x ̅ = 3.493, S.D. = 0.826) และด้านความเป็นตำรวจมืออาชีพ (x ̅ = 3.341, S.D. = 0.726) 2) ด้านอิทธิพลระหว่างพฤติกรรมการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ และผลสัมฤทธิ์การบริหาร ที่มีผลต่อผลสัมฤทธิ์การบริหารจัดการของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ ตามวัตถุประสงค์ข้อ 2 โดยรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก (x ̅ = 3.508, S.D. = 0.789) ประกอบด้วย ด้านวัฒนธรรมองค์การ มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุดอยู่ในระดับมาก (x ̅ = 3.554, S.D. = 0.744) ด้านภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง (x ̅ = 3.530, S.D. = 0.804) ด้านลักษณะองค์การ (x ̅ = 3.517, S.D. = 0.812) ด้านธรรมาภิบาล (x ̅ = 3.505, S.D. = 0.806) และด้านทรัพยากรบริหาร (x ̅ = 3.438, S.D. = 0.825) 3) สภาพปัญหา และอุปสรรค รวมถึงแนวทางในการบริหารจัดการที่จะช่วยให้การปฏิบัติงานบรรลุผลสัมฤทธิ์ในการบริหารจัดการของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ ตามวัตถุประสงค์ ข้อที่ 3 พบว่า ด้านพฤติกรรมการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจและ ผลสัมฤทธิ์การบริหารของ กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ ด้านความเป็นตำรวจมืออาชีพ เป็นพฤติกรรมการปฏิบัติงานที่เป็นปัญหา อุปสรรค และส่งผลต่อสัมฤทธิ์การบริหารจัดการของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ ในระดับมาก รองลงมาตามลำดับ คือ ด้านการปฏิบัติงานมุ่งสู่สากลในระดับปานกลาง ด้านความเข้มแข็งในการปฏิบัติงานในระดับน้อย และด้านทัศนคติในการปฏิบัติงานในระดับน้อยที่สุด ด้านอิทธิพลระหว่างพฤติกรรมการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ และผลสัมฤทธิ์การบริหารที่มีผลต่อผลสัมฤทธิ์การบริหารจัดการของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ ด้านทรัพยากรบริหารเป็นปัญหา อุปสรรค และส่งผลต่อพฤติกรรมการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ ในระดับมากที่สุด รองลงมาตามลำดับ คือ ด้านธรรมาภิบาลในระดับมาก ด้านลักษณะองศ์การในระดับปานกลาง ด้านภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงในระดับน้อย และด้านวัฒนธรรมองศ์การในระดับน้อยที่สุด
ผลการทดสอบสมมติฐาน โดยวิเคราะห์แบบถดถอยพหุคูณ พบว่า 1) ด้านการสร้างขวัญและกำลังใจให้ตำรวจ ด้านทัศนคติในการปฏิบัติงาน ด้านการพัฒนาเครื่องมือในการปฏิบัติงาน และด้านการพัฒนาระบบการปฏิบัติงาน มีอิทธิพลต่อปัจจัยด้านวัฒนธรรมองค์การโดยรวม 2) ด้านการสร้างขวัญและกำลังใจให้ตำรวจ ด้านทัศนคติในการปฏิบัติงาน ด้านการพัฒนาสมรรถนะของตำรวจ และด้านการพัฒนาองค์ความรู้ให้ตำรวจ มีอิทธิพลต่อปัจจัยด้านลักษณะองค์การโดยรวม 3) ด้านการสร้างขวัญและกำลังใจให้ตำรวจ ด้านทัศนคติในการปฏิบัติงาน ด้านการพัฒนาสมรรถนะของตำรวจ ด้านการพัฒนาเครื่องมือในการปฏิบัติงาน และด้านการพัฒนาระบบการปฏิบัติงาน มีอิทธิพลต่อปัจจัยด้านทรัพยากรการบริหารโดยรวม 4)ด้านการสร้างขวัญและกำลังใจให้ตำรวจ ด้านการพัฒนาสมรรถนะของตำรวจ ด้านการพัฒนาเครื่องมือในการปฏิบัติงาน และด้านทัศนคติในการปฏิบัติงาน มีอิทธิพลต่อปัจจัยด้านภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงโดยรวม 5)ด้านการสร้างขวัญและกำลังใจให้ตำรวจ ด้านทัศนคติในการปฏิบัติงาน ด้านการพัฒนาสมรรถนะของตำรวจ และด้านการพัฒนาเครื่องมือในการปฏิบัติงาน มีอิทธิพลต่อปัจจัยด้านหลักธรรมาภิบาลโดยรวมCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28023 SIU THE-T. ผลสัมฤทธิ์การบริหารจัดการของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาล สำนักงานตำรวจแห่งชาติ = Achievement Management of the Patrol Special Operation Division, Metropolitan Police Bureau, Royal Thai Police [printed text] / ไพทูรย์ สิทธิบุญ, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019 . - xv, 292 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-13
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ตำรวจ -- การปฏิบัติงาน Keywords: พฤติกรรมการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ,
ผลสัมฤทธิ์การบริหารจัดการของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษAbstract: การศึกษาวิจัยเรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อการศึกษาวิจัย 1) เพื่อศึกษาพฤติกรรมการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ และ ผลสัมฤทธิ์การบริหารของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ 2) เพื่อศึกษาอิทธิพลระหว่างพฤติกรรมการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ และผลสัมฤทธิ์การบริหาร ที่มีผลต่อผลสัมฤทธิ์การบริหารจัดการของ กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ 3) เพื่อศึกษาสภาพปัญหา และอุปสรรค รวมถึงแนวทางในการบริหารจัดการที่จะช่วยให้การปฏิบัติงานบรรลุผลสัมฤทธิ์ในการบริหารจัดการของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ วิธีการวิจัย ผู้วิจัยใช้ แบบผสมผสาน (Mixed Methods Research) ดำเนินการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) ก่อนและตามด้วยการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) เครื่องมือในการวิจัย เชิงปริมาณ ใช้แบบสอบถาม จำนวน 306 ชุด และการวิจัยเชิงคุณภาพ ใช้วิธีสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง สถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ สถิติพรรณนา (Descriptive Statistics) สถิติอนุมาน (Inferential Statistics) การวิเคราะห์ข้อมูล เชิงสหสัมพันธ์ (Correlation Analysis) โดยกำหนดนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05 และ การวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ (Multiple Regression Analysis) ใช้เทคนิคการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน (Stepwise Multiple Regression) โดยกำหนดให้ระดับนัยสำคัญทางสถิติไว้ที่ .05 การตรวจวัดเครื่องมือการวิจัย การวิจัยเชิงปริมาณ ผู้วิจัยดำเนินการหาค่าความเที่ยงตรง (Validity) ของแบบสอบถามด้วยวิธีหาค่า Index of Item Objective Congruence : IOC โดยให้อาจารย์ที่ปรึกษาและผู้เชี่ยวชาญ รวม 5 คน เป็นผู้ตรวจแบบสอบถาม (Face Validity) เพื่อให้มีความเที่ยงตรงตามเนื้อหา จากนั้นนำแบบสอบถามที่ได้รับจากการหาค่า IOC มาทำการปรับปรุงแก้ไขวัดค่า IOC ได้ ระหว่าง 0.6-1.00 เพื่อให้งานวิจัยมีความน่าเชื่อถือ ผู้วิจัยได้นำแบบสอบถามที่ได้ปรับแก้ไขแล้วไปทดสอบ (Pre-Test) กับกลุ่มตำรวจกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ ซึ่งใกล้เคียงกับกลุ่มตัวอย่างจริง จำนวน 30 คน เพื่อหาค่าความเชื่อมั่น (Reliability) ด้วยวิธีการหาค่าสัมประสิทธิ์อัลฟ่าของครอนบาค (Cronbach ,Alpha Coefficient) เพื่อให้ได้ค่าไม่น้อยกว่า 0.70 จึงจะมีความเหมาะสมในการนำไปเก็บข้อมูล (สุจิตรา บุญยรัตพันธุ์, 2546, น. 135-141) (วันชัย จึงวิบูลย์สถิต, 2560, น. 104) และ (จีรวัฏฐ์ บุญวัฒนาภรณ์, 2556, น. 142) ผลการทดสอบ ด้านพฤติกรรมการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจสังกัดกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ ได้ค่า 0.965 และผลสัมฤทธิ์การบริหารจัดการของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ ที่มีผลต่อพฤติกรรมการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ ได้ค่า 0.995
ผลการวิจัยพบว่า
1) ด้านพฤติกรรมการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ และ ผลสัมฤทธิ์การบริหารของกองบังคับการ สายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ ตามวัตถุประสงค์ข้อ 1 โดยรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก (x ̅ = 3.489, S.D. = 0.809) ซึ่งประกอบด้วย ด้านทัศนคติในการปฏิบัติงาน (x ̅ = 3.598, S.D. = 0.809) ด้านความเข้มแข็งในการปฏิบัติงาน (x ̅ = 3.526, S.D. = 0.832) ด้านการปฏิบัติงานมุ่งสู่สากล (x ̅ = 3.493, S.D. = 0.826) และด้านความเป็นตำรวจมืออาชีพ (x ̅ = 3.341, S.D. = 0.726) 2) ด้านอิทธิพลระหว่างพฤติกรรมการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ และผลสัมฤทธิ์การบริหาร ที่มีผลต่อผลสัมฤทธิ์การบริหารจัดการของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ ตามวัตถุประสงค์ข้อ 2 โดยรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก (x ̅ = 3.508, S.D. = 0.789) ประกอบด้วย ด้านวัฒนธรรมองค์การ มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุดอยู่ในระดับมาก (x ̅ = 3.554, S.D. = 0.744) ด้านภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง (x ̅ = 3.530, S.D. = 0.804) ด้านลักษณะองค์การ (x ̅ = 3.517, S.D. = 0.812) ด้านธรรมาภิบาล (x ̅ = 3.505, S.D. = 0.806) และด้านทรัพยากรบริหาร (x ̅ = 3.438, S.D. = 0.825) 3) สภาพปัญหา และอุปสรรค รวมถึงแนวทางในการบริหารจัดการที่จะช่วยให้การปฏิบัติงานบรรลุผลสัมฤทธิ์ในการบริหารจัดการของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ ตามวัตถุประสงค์ ข้อที่ 3 พบว่า ด้านพฤติกรรมการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจและ ผลสัมฤทธิ์การบริหารของ กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ ด้านความเป็นตำรวจมืออาชีพ เป็นพฤติกรรมการปฏิบัติงานที่เป็นปัญหา อุปสรรค และส่งผลต่อสัมฤทธิ์การบริหารจัดการของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ ในระดับมาก รองลงมาตามลำดับ คือ ด้านการปฏิบัติงานมุ่งสู่สากลในระดับปานกลาง ด้านความเข้มแข็งในการปฏิบัติงานในระดับน้อย และด้านทัศนคติในการปฏิบัติงานในระดับน้อยที่สุด ด้านอิทธิพลระหว่างพฤติกรรมการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ และผลสัมฤทธิ์การบริหารที่มีผลต่อผลสัมฤทธิ์การบริหารจัดการของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ ด้านทรัพยากรบริหารเป็นปัญหา อุปสรรค และส่งผลต่อพฤติกรรมการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ ในระดับมากที่สุด รองลงมาตามลำดับ คือ ด้านธรรมาภิบาลในระดับมาก ด้านลักษณะองศ์การในระดับปานกลาง ด้านภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงในระดับน้อย และด้านวัฒนธรรมองศ์การในระดับน้อยที่สุด
ผลการทดสอบสมมติฐาน โดยวิเคราะห์แบบถดถอยพหุคูณ พบว่า 1) ด้านการสร้างขวัญและกำลังใจให้ตำรวจ ด้านทัศนคติในการปฏิบัติงาน ด้านการพัฒนาเครื่องมือในการปฏิบัติงาน และด้านการพัฒนาระบบการปฏิบัติงาน มีอิทธิพลต่อปัจจัยด้านวัฒนธรรมองค์การโดยรวม 2) ด้านการสร้างขวัญและกำลังใจให้ตำรวจ ด้านทัศนคติในการปฏิบัติงาน ด้านการพัฒนาสมรรถนะของตำรวจ และด้านการพัฒนาองค์ความรู้ให้ตำรวจ มีอิทธิพลต่อปัจจัยด้านลักษณะองค์การโดยรวม 3) ด้านการสร้างขวัญและกำลังใจให้ตำรวจ ด้านทัศนคติในการปฏิบัติงาน ด้านการพัฒนาสมรรถนะของตำรวจ ด้านการพัฒนาเครื่องมือในการปฏิบัติงาน และด้านการพัฒนาระบบการปฏิบัติงาน มีอิทธิพลต่อปัจจัยด้านทรัพยากรการบริหารโดยรวม 4)ด้านการสร้างขวัญและกำลังใจให้ตำรวจ ด้านการพัฒนาสมรรถนะของตำรวจ ด้านการพัฒนาเครื่องมือในการปฏิบัติงาน และด้านทัศนคติในการปฏิบัติงาน มีอิทธิพลต่อปัจจัยด้านภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงโดยรวม 5)ด้านการสร้างขวัญและกำลังใจให้ตำรวจ ด้านทัศนคติในการปฏิบัติงาน ด้านการพัฒนาสมรรถนะของตำรวจ และด้านการพัฒนาเครื่องมือในการปฏิบัติงาน มีอิทธิพลต่อปัจจัยด้านหลักธรรมาภิบาลโดยรวมCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28023 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607424 SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-13 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000607437 SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-13 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. ผลสัมฤทธิ์การบริหารพรรคการเมืองของไทย : กรณีศึกษาพรรคเพื่อไทย / ณรงค์ รุ่งธนวงศ์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2020
Collection Title: SIU THE-T Title : ผลสัมฤทธิ์การบริหารพรรคการเมืองของไทย : กรณีศึกษาพรรคเพื่อไทย Original title : The Achievement of Thai Political Parties Administration: A Case of Pheu Thai Party Material Type: printed text Authors: ณรงค์ รุ่งธนวงศ์, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2020 Pagination: viii, 196 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-19
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหาร
[LCSH]พรรคการเมือง -- ไทย
[LCSH]พรรคเพื่อไทยKeywords: ผลสัมฤทธิ์ การบริหารจัดการพรรคการเมืองของไทย, พรรคเพื่อไทย Abstract: การวิจัยเรื่อง การบริหารจัดการพรรคการเมืองของไทย: กรณีศึกษาพรรคเพื่อไทยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยภายนอกและปัจจัยภายในของพรรคการเมืองกับผลสัมฤทธิ์การบริหารพรรคการเมืองของไทย 2) เพื่อศึกษาอิทธิพลของปัจจัยภายนอกและปัจจัยภายในของพรรคการเมืองต่อผลสัมฤทธิ์การบริหารพรรคการเมืองของไทยและ 3) เพื่อนำเสนอรูปแบบการบริหารจัดการพรรคการเมืองไทยที่เหมาะสม การวิจัยใช้แนวทางการผสมผสานด้วยการวิจัยเชิงปริมาณ และการวิจัยเชิงคุณภาพ ผู้วิจัยเก็บรวบรวมข้อมูลเชิงปริมาณจากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นสมาชิกพรรคเพื่อไทย จำนวน 400 คน โดยใช้แบบสอบถาม และเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพจากผู้ให้ข้อมูลสำคัญ (Key Informants) ผู้บริหารพรรคและกรรมการบริหารพรรคเพื่อไทย จำนวน 8 คน โดยใช้แบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง
ผลการวิจัย พบว่า ปัจจัยภายนอกของพรรคการเมืองในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านเรียงลำดับจากมาไปน้อย คือ ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม ด้านการเมืองและ ด้านกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ส่วนปัจจัยภายในโดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน เรียงลำดับจากมาไปน้อย คือ ด้านบุคลากร ด้านกฎข้อบังคับ ด้านงบประมาณ และด้านสถานที่ตามลำดับ ผลสัมฤทธิ์การบริหารจัดการพรรคการเมืองของไทยในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน เรียงลำดับจากมาไปน้อย คือ การพัฒนาความเป็นสถาบันทางการเมือง การพัฒนาโครงสร้างทางการเมือง การพัฒนาคุณลักษณะที่เหมาะสมของผู้นำและสมาชิกพรรค การพัฒนาบทบาทและความสำคัญของพรรคการเมือง และ การพัฒนาเสถียรภาพทางการเมืองตามลำดับ การทดสอบสมมติฐานการวิจัย พบว่า ปัจจัยภายนอก ด้านสังคม เศรษฐกิจและการเมืองของพรรคเพื่อไทยมีความสัมพันธ์กับผลสัมฤทธิ์การบริหารพรรคการเมืองของไทยในระดับสูงและ ปัจจัยภายในด้านบุคลากร ด้านงบประมาณ ด้านสถานที่และด้านกฎข้อบังคับของพรรคเพื่อไทยมีความสัมพันธ์กับผลสัมฤทธิ์การบริหารพรรคการเมืองของไทยในระดับสูงและโดยการหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พหุคูณ (Multiple Regression) พบว่า ปัจจัยภายในและปัจจัยภายนอกมีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์การบริหารพรรคการเมืองของไทยร้อยละ 71.20 (r2=.712)Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28026 SIU THE-T. ผลสัมฤทธิ์การบริหารพรรคการเมืองของไทย : กรณีศึกษาพรรคเพื่อไทย = The Achievement of Thai Political Parties Administration: A Case of Pheu Thai Party [printed text] / ณรงค์ รุ่งธนวงศ์, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020 . - viii, 196 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-19
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหาร
[LCSH]พรรคการเมือง -- ไทย
[LCSH]พรรคเพื่อไทยKeywords: ผลสัมฤทธิ์ การบริหารจัดการพรรคการเมืองของไทย, พรรคเพื่อไทย Abstract: การวิจัยเรื่อง การบริหารจัดการพรรคการเมืองของไทย: กรณีศึกษาพรรคเพื่อไทยมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยภายนอกและปัจจัยภายในของพรรคการเมืองกับผลสัมฤทธิ์การบริหารพรรคการเมืองของไทย 2) เพื่อศึกษาอิทธิพลของปัจจัยภายนอกและปัจจัยภายในของพรรคการเมืองต่อผลสัมฤทธิ์การบริหารพรรคการเมืองของไทยและ 3) เพื่อนำเสนอรูปแบบการบริหารจัดการพรรคการเมืองไทยที่เหมาะสม การวิจัยใช้แนวทางการผสมผสานด้วยการวิจัยเชิงปริมาณ และการวิจัยเชิงคุณภาพ ผู้วิจัยเก็บรวบรวมข้อมูลเชิงปริมาณจากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นสมาชิกพรรคเพื่อไทย จำนวน 400 คน โดยใช้แบบสอบถาม และเก็บข้อมูลเชิงคุณภาพจากผู้ให้ข้อมูลสำคัญ (Key Informants) ผู้บริหารพรรคและกรรมการบริหารพรรคเพื่อไทย จำนวน 8 คน โดยใช้แบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง
ผลการวิจัย พบว่า ปัจจัยภายนอกของพรรคการเมืองในภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านเรียงลำดับจากมาไปน้อย คือ ด้านเศรษฐกิจ ด้านสังคม ด้านการเมืองและ ด้านกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ส่วนปัจจัยภายในโดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน เรียงลำดับจากมาไปน้อย คือ ด้านบุคลากร ด้านกฎข้อบังคับ ด้านงบประมาณ และด้านสถานที่ตามลำดับ ผลสัมฤทธิ์การบริหารจัดการพรรคการเมืองของไทยในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน เรียงลำดับจากมาไปน้อย คือ การพัฒนาความเป็นสถาบันทางการเมือง การพัฒนาโครงสร้างทางการเมือง การพัฒนาคุณลักษณะที่เหมาะสมของผู้นำและสมาชิกพรรค การพัฒนาบทบาทและความสำคัญของพรรคการเมือง และ การพัฒนาเสถียรภาพทางการเมืองตามลำดับ การทดสอบสมมติฐานการวิจัย พบว่า ปัจจัยภายนอก ด้านสังคม เศรษฐกิจและการเมืองของพรรคเพื่อไทยมีความสัมพันธ์กับผลสัมฤทธิ์การบริหารพรรคการเมืองของไทยในระดับสูงและ ปัจจัยภายในด้านบุคลากร ด้านงบประมาณ ด้านสถานที่และด้านกฎข้อบังคับของพรรคเพื่อไทยมีความสัมพันธ์กับผลสัมฤทธิ์การบริหารพรรคการเมืองของไทยในระดับสูงและโดยการหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พหุคูณ (Multiple Regression) พบว่า ปัจจัยภายในและปัจจัยภายนอกมีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์การบริหารพรรคการเมืองของไทยร้อยละ 71.20 (r2=.712)Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28026 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607430 SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-19 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available 32002000607432 SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-19 c.2 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ผลสัมฤทธิ์ของโครงการเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ กรณีศึกษา เทศบาลตำบลป่างิ้ว จังหวัดเชียงราย / เบญจวรรณ สดีคำ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2014
Collection Title: SIU IS-T Title : ผลสัมฤทธิ์ของโครงการเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ กรณีศึกษา เทศบาลตำบลป่างิ้ว จังหวัดเชียงราย Original title : Performance of the Welfare Fund for the Elderly, Pa Ngiu Subdistrict, Chiang Rai Province Material Type: printed text Authors: เบญจวรรณ สดีคำ, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; สมพร เพชรสงค์, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2014 Pagination: vii, 67 หน้า Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-08
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ผู้สูงอายุ -- ไทย
[LCSH]เบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ -- ฐานข้อมูลKeywords: ผลสัมฤทธิ์
โครงการเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุAbstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ผลสัมฤทธิ์ของโครงการต่อระดับการใช้จ่ายเงินเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ 2) ระดับการใช้จ่ายเงินจากโครงการเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุของผู้สูงอายุ กลุ่มตัวอย่างในการศึกษา คือ ผู้สูงอายุที่ได้รับเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ จากเทศบาลตำบาลป่างิ้ว จังหวัดเชียงราย โดยวิธีรับเงินสด Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26083 SIU IS-T. ผลสัมฤทธิ์ของโครงการเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ กรณีศึกษา เทศบาลตำบลป่างิ้ว จังหวัดเชียงราย = Performance of the Welfare Fund for the Elderly, Pa Ngiu Subdistrict, Chiang Rai Province [printed text] / เบญจวรรณ สดีคำ, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; สมพร เพชรสงค์, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014 . - vii, 67 หน้า : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-08
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ผู้สูงอายุ -- ไทย
[LCSH]เบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ -- ฐานข้อมูลKeywords: ผลสัมฤทธิ์
โครงการเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุAbstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ผลสัมฤทธิ์ของโครงการต่อระดับการใช้จ่ายเงินเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ 2) ระดับการใช้จ่ายเงินจากโครงการเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุของผู้สูงอายุ กลุ่มตัวอย่างในการศึกษา คือ ผู้สูงอายุที่ได้รับเบี้ยยังชีพผู้สูงอายุ จากเทศบาลตำบาลป่างิ้ว จังหวัดเชียงราย โดยวิธีรับเงินสด Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26083 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000506889 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-08 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available 32002000590032 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-08 c.2 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ความเครียด ความฉลาดทางอารมณ์ / กมลรัตน์ ทองสว่าง in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 ([08/21/2017])
[article]
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ความเครียด ความฉลาดทางอารมณ์ : กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎชัยภูมิ Original title : The relationships between the personal factors stress emotional intelligence and academic achievement of the students at faculty of nursing Chiyaphum Rajabhat University Material Type: printed text Authors: กมลรัตน์ ทองสว่าง, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.91-110 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.91-110Keywords: ความเครียด.ความฉลาดทางอารมณ์.ปัจจัยส่วนบุคคล.ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา.นักศึกษาพยาบาล มหาวิทยาลัยราชภัฎชัยภูมิ. Abstract: วัตถุประสงค์เพื่อ 1 ศึกษาระดับความเครัยดและความฉลาดทางอารมณ์ 2ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ระดับความเครียด ความฉลาดทางอารมร์ กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3 สร้างสมการในการพยากรณ์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ
กลุ่มตัวอย่าง คือ น.ศ.ชั้นปีที่ 1 และ 2 คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ ปี 2556 จำนวน 159 คน
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยมี 3 ส่วน คือ แบบสอบถามข้อมูลส่วนตัว แบบประเมินความฉลาดทางอารมณ์ และแบบวัดความเครียด สถิติที่ใช้ ได้แก่ สถิติพื้นฐาน สัมประสิทธิ์ความสัมพันธ์แบบเพียร์สัน การวิเคราะห์สมการถดถอยพหุคูณ และคัดเลือกตัวแปรเข้าสมการแบบหลายขั้นตอน
ผลการวิจัย พบว่า นักศึกษามีคะแนนระดับความเครียดอยู่ในระดับสูง มีคะแนนความฉลาดทางอารมณ์โดยรวมเฉลี่ยอยู่ในเกณฑ์ปกติชั้นปีที่ศึกษา จำนวนพี่น้อง ความเห็นใจผู้อื่น การรับผิดชอบ และความฉลาดทางอารมณ์มีความสัมพันธ์กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ความฉลาดทางอารมณ์ส่วนองค์ประกอบด้านดีในด้านการรู้จักเห็นใจผู้อื่น (X1)ชั้นปีที่ศึกษา (X2) และจำนวนพี่น้อง (X3) สามารถร่วมกันพยากรณ์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎชัยภูมิ และได้สมการคือ Y=0.97+0.06X1-0.217X2+0.132X
ผลการศึกษาครั้งนี้สามารถนำไปเป็นข้อมูลพื้นฐานในการวางแผนการให้คำปรึกษาสำหรับนักศึกษาที่มีปัญหาเกี่ยวกับเรื่องสุขภาพจิตของคณะพยาบาลศาสตร์ เพื่อส่งผลต่อสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ดีของนักศึกษาLink for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27217 [article] ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ความเครียด ความฉลาดทางอารมณ์ = The relationships between the personal factors stress emotional intelligence and academic achievement of the students at faculty of nursing Chiyaphum Rajabhat University : กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎชัยภูมิ [printed text] / กมลรัตน์ ทองสว่าง, Author . - 2017 . - p.91-110.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.91-110Keywords: ความเครียด.ความฉลาดทางอารมณ์.ปัจจัยส่วนบุคคล.ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา.นักศึกษาพยาบาล มหาวิทยาลัยราชภัฎชัยภูมิ. Abstract: วัตถุประสงค์เพื่อ 1 ศึกษาระดับความเครัยดและความฉลาดทางอารมณ์ 2ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ระดับความเครียด ความฉลาดทางอารมร์ กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3 สร้างสมการในการพยากรณ์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ
กลุ่มตัวอย่าง คือ น.ศ.ชั้นปีที่ 1 และ 2 คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ ปี 2556 จำนวน 159 คน
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยมี 3 ส่วน คือ แบบสอบถามข้อมูลส่วนตัว แบบประเมินความฉลาดทางอารมณ์ และแบบวัดความเครียด สถิติที่ใช้ ได้แก่ สถิติพื้นฐาน สัมประสิทธิ์ความสัมพันธ์แบบเพียร์สัน การวิเคราะห์สมการถดถอยพหุคูณ และคัดเลือกตัวแปรเข้าสมการแบบหลายขั้นตอน
ผลการวิจัย พบว่า นักศึกษามีคะแนนระดับความเครียดอยู่ในระดับสูง มีคะแนนความฉลาดทางอารมณ์โดยรวมเฉลี่ยอยู่ในเกณฑ์ปกติชั้นปีที่ศึกษา จำนวนพี่น้อง ความเห็นใจผู้อื่น การรับผิดชอบ และความฉลาดทางอารมณ์มีความสัมพันธ์กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ความฉลาดทางอารมณ์ส่วนองค์ประกอบด้านดีในด้านการรู้จักเห็นใจผู้อื่น (X1)ชั้นปีที่ศึกษา (X2) และจำนวนพี่น้อง (X3) สามารถร่วมกันพยากรณ์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎชัยภูมิ และได้สมการคือ Y=0.97+0.06X1-0.217X2+0.132X
ผลการศึกษาครั้งนี้สามารถนำไปเป็นข้อมูลพื้นฐานในการวางแผนการให้คำปรึกษาสำหรับนักศึกษาที่มีปัญหาเกี่ยวกับเรื่องสุขภาพจิตของคณะพยาบาลศาสตร์ เพื่อส่งผลต่อสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ดีของนักศึกษาLink for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27217 ผลการใช้วิธีการสอนแบบแบ่งกลุ่มที่เน้นผลลัพธ์ (STAD) ในรายวิชาสถิติประยุกต์ต่อพัฒนาการผู้เรียนและทักษะการทำงานเป็นทีม / อารีย์วรรณ อ่วมตานี in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 ([05/23/2017])
[article]
Title : ผลการใช้วิธีการสอนแบบแบ่งกลุ่มที่เน้นผลลัพธ์ (STAD) ในรายวิชาสถิติประยุกต์ต่อพัฒนาการผู้เรียนและทักษะการทำงานเป็นทีม : ของนิสิตหลักสูตรพยาบาลศาสตร์มหาบัณฑิต Original title : Effect of using student team achievement division (STAD) in applied statistics course on learning achievement and team work skill of Master's degree students in nursing science Material Type: printed text Authors: อารีย์วรรณ อ่วมตานี, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.176-185 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 [05/23/2017] . - p.176-185Keywords: ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน.ทักษะการทำงานเป็นทีม.การสอนแบบแบ่งกลุ่มที่เน้นผลสัมฤทธิ์. Abstract: เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และทักษะการทำงานเป็นทีมในรายวิชาสถิติประยุกต์ ใช้วิธีการสอนแบบแบ่งกลุ่มที่เน้นผลสัมฤทธิ์ (STAD) กลุ่ม ตย. นักศึกษาพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จำนวน 34 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลองหลังได้รับการสอนแบบแบ่งกลุ่มที่เน้นผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กับกลุ่มทดลองหลังได้รับการสอนแบบแบ่งกลุ่มที่เน้นผลสัมฤทธิ์มีคะแนนทักษะการทำงานเป็นทีม
ผลการวิจัย พบว่า
กลุ่มทดลองหลังได้รับการสอนแบบแบ่งกลุ่มที่เน้นผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (คะแนนพัฒนาการของผู้เรียนดีกว่ากลุ่มควบคุมที่ได้รับการสอนแบบปกติ.
กลุ่มทดลองหลังได้รับการสอนแบบแบ่งกลุ่มที่เน้นผลสัมฤทธิ์มีคะแนนทักษะการทำงานเป็นทีม ดีกว่ากลุ่มควบคุมที่ได้รับการสอนแบบปกติ
ข้อเสนอแนะ จากการวิจัยชี้ให้เห็นว่า การสอนแบบแบ่งกลุ่มที่เน้นผลสัมฤทธิ์สามารถเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (คะแนนพัฒนาการของผู้เรียน) และทักษะการทำงานเป็นทีมได้ดีกว่าการเรียนแบบปกติ จึงควรนำรูปแบบการสอนแบบแบ่งกลุ่มที่เน้นผลสัมฤทธิ์ไปประยุกต์ใช้ในรายวิชาอื่น ๆ
Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26753 [article] ผลการใช้วิธีการสอนแบบแบ่งกลุ่มที่เน้นผลลัพธ์ (STAD) ในรายวิชาสถิติประยุกต์ต่อพัฒนาการผู้เรียนและทักษะการทำงานเป็นทีม = Effect of using student team achievement division (STAD) in applied statistics course on learning achievement and team work skill of Master's degree students in nursing science : ของนิสิตหลักสูตรพยาบาลศาสตร์มหาบัณฑิต [printed text] / อารีย์วรรณ อ่วมตานี, Author . - 2017 . - p.176-185.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 [05/23/2017] . - p.176-185Keywords: ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน.ทักษะการทำงานเป็นทีม.การสอนแบบแบ่งกลุ่มที่เน้นผลสัมฤทธิ์. Abstract: เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง เพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และทักษะการทำงานเป็นทีมในรายวิชาสถิติประยุกต์ ใช้วิธีการสอนแบบแบ่งกลุ่มที่เน้นผลสัมฤทธิ์ (STAD) กลุ่ม ตย. นักศึกษาพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จำนวน 34 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลองหลังได้รับการสอนแบบแบ่งกลุ่มที่เน้นผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน กับกลุ่มทดลองหลังได้รับการสอนแบบแบ่งกลุ่มที่เน้นผลสัมฤทธิ์มีคะแนนทักษะการทำงานเป็นทีม
ผลการวิจัย พบว่า
กลุ่มทดลองหลังได้รับการสอนแบบแบ่งกลุ่มที่เน้นผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (คะแนนพัฒนาการของผู้เรียนดีกว่ากลุ่มควบคุมที่ได้รับการสอนแบบปกติ.
กลุ่มทดลองหลังได้รับการสอนแบบแบ่งกลุ่มที่เน้นผลสัมฤทธิ์มีคะแนนทักษะการทำงานเป็นทีม ดีกว่ากลุ่มควบคุมที่ได้รับการสอนแบบปกติ
ข้อเสนอแนะ จากการวิจัยชี้ให้เห็นว่า การสอนแบบแบ่งกลุ่มที่เน้นผลสัมฤทธิ์สามารถเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน (คะแนนพัฒนาการของผู้เรียน) และทักษะการทำงานเป็นทีมได้ดีกว่าการเรียนแบบปกติ จึงควรนำรูปแบบการสอนแบบแบ่งกลุ่มที่เน้นผลสัมฤทธิ์ไปประยุกต์ใช้ในรายวิชาอื่น ๆ
Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26753