From this page you can:
Home |
Search results
2 result(s) search for keyword(s) 'ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ, มหาวิทยาลัยราชภัฏ, ผลสัมฤทธิ์การบริหาร'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
SIU THE-T. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์การบริหารระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารของมหาวิทยาลัยราชภัฏในประเทศไทย / อลงกรณ์ สถาปัตยานนท์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2018
Collection Title: SIU THE-T Title : ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์การบริหารระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารของมหาวิทยาลัยราชภัฏในประเทศไทย Original title : Factors Influencing the Achievement of Administration Information and Communication Technology System for the Rajabhat University in Thailand Material Type: printed text Authors: อลงกรณ์ สถาปัตยานนท์, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2018 Pagination: x, 197 p. Layout: Tables, ill. Size: 30 cm. Price: 500.00 Baht. General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-05
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารงานโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์
[LCSH]ระบบสารสนเทศ
[LCSH]เทคโนโลยีสารสนเทศKeywords: ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ,
มหาวิทยาลัยราชภัฏ,
ผลสัมฤทธิ์การบริหารAbstract: การวิจัยเรื่องปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์การบริหารระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของมหาวิทยาลัยราชภัฏในประเทศไทย มีวัตถุประสงค์การวิจัย1) เพื่อศึกษาระดับผลสัมฤทธิ์การบริหารระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของมหาวิทยาลัยราชภัฏในประเทศไทย 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์การบริหารระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของมหาวิทยาลัยราชภัฏในประเทศไทยในประเทศไทย 3) เพื่อเป็นข้อเสนอแนะแนวทางในการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของมหาวิทยาลัยราชภัฏในประเทศไทย เป็นการวิจัยเชิงผสม โดยการวิจัยเชิงปริมาณ คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างผู้บริหาร เจ้าหน้าที่ อาจารย์ผู้สอนในการตอบแบบสอบถามจำนวน 400 คน จากมหาวิทยาลัยราชภัฏในกลุ่มรัตนโกสินทร์ และกำหนดกลุ่มตัวอย่างจากสูตรของยามาเน ได้จำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่แบบสอบถาม และการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยสัมภาษณ์เชิงลึกผู้บริหาร อาจารย์ผู้สอน และเจ้าหน้าที่จากมหาวิทยาลัยราชภัฏในกลุ่มรัตนโกสินทร์ จำนวน 4 คน ผลการวิจัย พบว่า ผลสัมฤทธิ์การบริหารระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารจะมีประสิทธิภาพมีคุณภาพในการให้บริการและการบริหารได้ต้องขึ้นอยู่กับปัจจัย ดังนี้ 1) ความชัดเจนของวัตถุประสงค์และเป้าหมายของนโยบายการบริหารระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ 2) ระดับการให้ความสำคัญของการใช้งบประมาณในหน่วยงาน 3) ความสนับสนุนของผู้นำในหน่วยงาน/องค์การ 4) ความสนับสนุนจากภาครัฐ 5) การให้สิ่งจูงใจให้บุคลากรในองค์การใช้เทคโนโลยีเรื่องวัสดุอุปกรณ์และตัวเงินในการจัดหา 6) ประสิทธิภาพของการพัฒนาทรัพยากรบุคคลในองค์การ 7) ปัจจัยประสิทธิผลของการสื่อสาร 8) ความสนับสนุนจากภาคเอกชน และ 9) การให้สิ่งจูงใจให้บุคลากรในองค์การใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยทำให้มีโอกาสก้าวหน้าตามลำดับ และผลจากการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร พบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศมีความสัมพันธ์กับความชัดเจนของวัตถุประสงค์และเป้าหมาย มากที่สุด รองลงมาคือการให้ความสำคัญของการใช้งบประมาณในหน่วยงาน ความสนับสนุนของผู้นำในหน่วยงาน ความสนับสนุนจากภาครัฐ การให้สิ่งจูงใจให้บุคลากรในองค์การใช้เทคโนโลยี การจัดหาประสิทธิภาพของการพัฒนาทรัพยากรบุคคลในองค์การ ความสนับสนุนจากภาคเอกชนและประสิทธิผลของการสื่อสาร ตามลำดับ ข้อเสนอแนะในการวิจัย คือ 1) ผู้นำ/ผู้บริหารมีบทบาทสำคัญต่อการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ 2) มหาวิทยาลัยจะต้องมีแผนปฏิบัติการประจำปีที่ชัดเจนในการทำแผนแม่บททั้งระยะสั้นและระยะยาว โดยแต่ละปีต้องมีแผนงบประมาณรายปีที่ชัดเจน 3) จากผลการวิจัยเชิงปริมาณพบว่า งบประมาณมีผลต่อผลสัมฤทธิ์จึงต้องมีการจัดทำแผนงบประมาณให้พ้องกับนโยบายและต้องมีสัดส่วน 1:0.45 และ 4)จากผลการวิจัยเชิงคุณภาพ ผู้บริหารควรมีการสนับสนุนการให้นโยบายการพัฒนาด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยกรบวนการสรรหาอธิการบดีมหาวิทยาลัยควรให้มีการแสดงวิสัยทัศน์ในการกำหนดนโยบายการพัฒนาด้านเทคโนโลยีสารสนเทศด้วย Curricular : GE/MSIT/PhDT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27864 SIU THE-T. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์การบริหารระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ และการสื่อสารของมหาวิทยาลัยราชภัฏในประเทศไทย = Factors Influencing the Achievement of Administration Information and Communication Technology System for the Rajabhat University in Thailand [printed text] / อลงกรณ์ สถาปัตยานนท์, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018 . - x, 197 p. : Tables, ill. ; 30 cm.
500.00 Baht.
SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-05
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารงานโดยมุ่งผลสัมฤทธิ์
[LCSH]ระบบสารสนเทศ
[LCSH]เทคโนโลยีสารสนเทศKeywords: ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ,
มหาวิทยาลัยราชภัฏ,
ผลสัมฤทธิ์การบริหารAbstract: การวิจัยเรื่องปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์การบริหารระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของมหาวิทยาลัยราชภัฏในประเทศไทย มีวัตถุประสงค์การวิจัย1) เพื่อศึกษาระดับผลสัมฤทธิ์การบริหารระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของมหาวิทยาลัยราชภัฏในประเทศไทย 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลสัมฤทธิ์การบริหารระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของมหาวิทยาลัยราชภัฏในประเทศไทยในประเทศไทย 3) เพื่อเป็นข้อเสนอแนะแนวทางในการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของมหาวิทยาลัยราชภัฏในประเทศไทย เป็นการวิจัยเชิงผสม โดยการวิจัยเชิงปริมาณ คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างผู้บริหาร เจ้าหน้าที่ อาจารย์ผู้สอนในการตอบแบบสอบถามจำนวน 400 คน จากมหาวิทยาลัยราชภัฏในกลุ่มรัตนโกสินทร์ และกำหนดกลุ่มตัวอย่างจากสูตรของยามาเน ได้จำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่แบบสอบถาม และการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยสัมภาษณ์เชิงลึกผู้บริหาร อาจารย์ผู้สอน และเจ้าหน้าที่จากมหาวิทยาลัยราชภัฏในกลุ่มรัตนโกสินทร์ จำนวน 4 คน ผลการวิจัย พบว่า ผลสัมฤทธิ์การบริหารระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารจะมีประสิทธิภาพมีคุณภาพในการให้บริการและการบริหารได้ต้องขึ้นอยู่กับปัจจัย ดังนี้ 1) ความชัดเจนของวัตถุประสงค์และเป้าหมายของนโยบายการบริหารระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ 2) ระดับการให้ความสำคัญของการใช้งบประมาณในหน่วยงาน 3) ความสนับสนุนของผู้นำในหน่วยงาน/องค์การ 4) ความสนับสนุนจากภาครัฐ 5) การให้สิ่งจูงใจให้บุคลากรในองค์การใช้เทคโนโลยีเรื่องวัสดุอุปกรณ์และตัวเงินในการจัดหา 6) ประสิทธิภาพของการพัฒนาทรัพยากรบุคคลในองค์การ 7) ปัจจัยประสิทธิผลของการสื่อสาร 8) ความสนับสนุนจากภาคเอกชน และ 9) การให้สิ่งจูงใจให้บุคลากรในองค์การใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยทำให้มีโอกาสก้าวหน้าตามลำดับ และผลจากการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร พบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการบริหารเทคโนโลยีสารสนเทศมีความสัมพันธ์กับความชัดเจนของวัตถุประสงค์และเป้าหมาย มากที่สุด รองลงมาคือการให้ความสำคัญของการใช้งบประมาณในหน่วยงาน ความสนับสนุนของผู้นำในหน่วยงาน ความสนับสนุนจากภาครัฐ การให้สิ่งจูงใจให้บุคลากรในองค์การใช้เทคโนโลยี การจัดหาประสิทธิภาพของการพัฒนาทรัพยากรบุคคลในองค์การ ความสนับสนุนจากภาคเอกชนและประสิทธิผลของการสื่อสาร ตามลำดับ ข้อเสนอแนะในการวิจัย คือ 1) ผู้นำ/ผู้บริหารมีบทบาทสำคัญต่อการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ 2) มหาวิทยาลัยจะต้องมีแผนปฏิบัติการประจำปีที่ชัดเจนในการทำแผนแม่บททั้งระยะสั้นและระยะยาว โดยแต่ละปีต้องมีแผนงบประมาณรายปีที่ชัดเจน 3) จากผลการวิจัยเชิงปริมาณพบว่า งบประมาณมีผลต่อผลสัมฤทธิ์จึงต้องมีการจัดทำแผนงบประมาณให้พ้องกับนโยบายและต้องมีสัดส่วน 1:0.45 และ 4)จากผลการวิจัยเชิงคุณภาพ ผู้บริหารควรมีการสนับสนุนการให้นโยบายการพัฒนาด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ โดยกรบวนการสรรหาอธิการบดีมหาวิทยาลัยควรให้มีการแสดงวิสัยทัศน์ในการกำหนดนโยบายการพัฒนาด้านเทคโนโลยีสารสนเทศด้วย Curricular : GE/MSIT/PhDT Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27864 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000597888 SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-05 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000597870 SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-05 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available SIU THE-T. ผลสัมฤทธิ์การบริหารจัดการของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาล สำนักงานตำรวจแห่งชาติ / ไพทูรย์ สิทธิบุญ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2019
Collection Title: SIU THE-T Title : ผลสัมฤทธิ์การบริหารจัดการของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาล สำนักงานตำรวจแห่งชาติ Original title : Achievement Management of the Patrol Special Operation Division, Metropolitan Police Bureau, Royal Thai Police Material Type: printed text Authors: ไพทูรย์ สิทธิบุญ, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2019 Pagination: xv, 292 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-13
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ตำรวจ -- การปฏิบัติงาน Keywords: พฤติกรรมการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ,
ผลสัมฤทธิ์การบริหารจัดการของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษAbstract: การศึกษาวิจัยเรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อการศึกษาวิจัย 1) เพื่อศึกษาพฤติกรรมการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ และ ผลสัมฤทธิ์การบริหารของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ 2) เพื่อศึกษาอิทธิพลระหว่างพฤติกรรมการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ และผลสัมฤทธิ์การบริหาร ที่มีผลต่อผลสัมฤทธิ์การบริหารจัดการของ กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ 3) เพื่อศึกษาสภาพปัญหา และอุปสรรค รวมถึงแนวทางในการบริหารจัดการที่จะช่วยให้การปฏิบัติงานบรรลุผลสัมฤทธิ์ในการบริหารจัดการของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ วิธีการวิจัย ผู้วิจัยใช้ แบบผสมผสาน (Mixed Methods Research) ดำเนินการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) ก่อนและตามด้วยการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) เครื่องมือในการวิจัย เชิงปริมาณ ใช้แบบสอบถาม จำนวน 306 ชุด และการวิจัยเชิงคุณภาพ ใช้วิธีสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง สถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ สถิติพรรณนา (Descriptive Statistics) สถิติอนุมาน (Inferential Statistics) การวิเคราะห์ข้อมูล เชิงสหสัมพันธ์ (Correlation Analysis) โดยกำหนดนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05 และ การวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ (Multiple Regression Analysis) ใช้เทคนิคการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน (Stepwise Multiple Regression) โดยกำหนดให้ระดับนัยสำคัญทางสถิติไว้ที่ .05 การตรวจวัดเครื่องมือการวิจัย การวิจัยเชิงปริมาณ ผู้วิจัยดำเนินการหาค่าความเที่ยงตรง (Validity) ของแบบสอบถามด้วยวิธีหาค่า Index of Item Objective Congruence : IOC โดยให้อาจารย์ที่ปรึกษาและผู้เชี่ยวชาญ รวม 5 คน เป็นผู้ตรวจแบบสอบถาม (Face Validity) เพื่อให้มีความเที่ยงตรงตามเนื้อหา จากนั้นนำแบบสอบถามที่ได้รับจากการหาค่า IOC มาทำการปรับปรุงแก้ไขวัดค่า IOC ได้ ระหว่าง 0.6-1.00 เพื่อให้งานวิจัยมีความน่าเชื่อถือ ผู้วิจัยได้นำแบบสอบถามที่ได้ปรับแก้ไขแล้วไปทดสอบ (Pre-Test) กับกลุ่มตำรวจกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ ซึ่งใกล้เคียงกับกลุ่มตัวอย่างจริง จำนวน 30 คน เพื่อหาค่าความเชื่อมั่น (Reliability) ด้วยวิธีการหาค่าสัมประสิทธิ์อัลฟ่าของครอนบาค (Cronbach ,Alpha Coefficient) เพื่อให้ได้ค่าไม่น้อยกว่า 0.70 จึงจะมีความเหมาะสมในการนำไปเก็บข้อมูล (สุจิตรา บุญยรัตพันธุ์, 2546, น. 135-141) (วันชัย จึงวิบูลย์สถิต, 2560, น. 104) และ (จีรวัฏฐ์ บุญวัฒนาภรณ์, 2556, น. 142) ผลการทดสอบ ด้านพฤติกรรมการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจสังกัดกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ ได้ค่า 0.965 และผลสัมฤทธิ์การบริหารจัดการของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ ที่มีผลต่อพฤติกรรมการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ ได้ค่า 0.995
ผลการวิจัยพบว่า
1) ด้านพฤติกรรมการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ และ ผลสัมฤทธิ์การบริหารของกองบังคับการ สายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ ตามวัตถุประสงค์ข้อ 1 โดยรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก (x ̅ = 3.489, S.D. = 0.809) ซึ่งประกอบด้วย ด้านทัศนคติในการปฏิบัติงาน (x ̅ = 3.598, S.D. = 0.809) ด้านความเข้มแข็งในการปฏิบัติงาน (x ̅ = 3.526, S.D. = 0.832) ด้านการปฏิบัติงานมุ่งสู่สากล (x ̅ = 3.493, S.D. = 0.826) และด้านความเป็นตำรวจมืออาชีพ (x ̅ = 3.341, S.D. = 0.726) 2) ด้านอิทธิพลระหว่างพฤติกรรมการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ และผลสัมฤทธิ์การบริหาร ที่มีผลต่อผลสัมฤทธิ์การบริหารจัดการของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ ตามวัตถุประสงค์ข้อ 2 โดยรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก (x ̅ = 3.508, S.D. = 0.789) ประกอบด้วย ด้านวัฒนธรรมองค์การ มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุดอยู่ในระดับมาก (x ̅ = 3.554, S.D. = 0.744) ด้านภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง (x ̅ = 3.530, S.D. = 0.804) ด้านลักษณะองค์การ (x ̅ = 3.517, S.D. = 0.812) ด้านธรรมาภิบาล (x ̅ = 3.505, S.D. = 0.806) และด้านทรัพยากรบริหาร (x ̅ = 3.438, S.D. = 0.825) 3) สภาพปัญหา และอุปสรรค รวมถึงแนวทางในการบริหารจัดการที่จะช่วยให้การปฏิบัติงานบรรลุผลสัมฤทธิ์ในการบริหารจัดการของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ ตามวัตถุประสงค์ ข้อที่ 3 พบว่า ด้านพฤติกรรมการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจและ ผลสัมฤทธิ์การบริหารของ กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ ด้านความเป็นตำรวจมืออาชีพ เป็นพฤติกรรมการปฏิบัติงานที่เป็นปัญหา อุปสรรค และส่งผลต่อสัมฤทธิ์การบริหารจัดการของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ ในระดับมาก รองลงมาตามลำดับ คือ ด้านการปฏิบัติงานมุ่งสู่สากลในระดับปานกลาง ด้านความเข้มแข็งในการปฏิบัติงานในระดับน้อย และด้านทัศนคติในการปฏิบัติงานในระดับน้อยที่สุด ด้านอิทธิพลระหว่างพฤติกรรมการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ และผลสัมฤทธิ์การบริหารที่มีผลต่อผลสัมฤทธิ์การบริหารจัดการของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ ด้านทรัพยากรบริหารเป็นปัญหา อุปสรรค และส่งผลต่อพฤติกรรมการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ ในระดับมากที่สุด รองลงมาตามลำดับ คือ ด้านธรรมาภิบาลในระดับมาก ด้านลักษณะองศ์การในระดับปานกลาง ด้านภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงในระดับน้อย และด้านวัฒนธรรมองศ์การในระดับน้อยที่สุด
ผลการทดสอบสมมติฐาน โดยวิเคราะห์แบบถดถอยพหุคูณ พบว่า 1) ด้านการสร้างขวัญและกำลังใจให้ตำรวจ ด้านทัศนคติในการปฏิบัติงาน ด้านการพัฒนาเครื่องมือในการปฏิบัติงาน และด้านการพัฒนาระบบการปฏิบัติงาน มีอิทธิพลต่อปัจจัยด้านวัฒนธรรมองค์การโดยรวม 2) ด้านการสร้างขวัญและกำลังใจให้ตำรวจ ด้านทัศนคติในการปฏิบัติงาน ด้านการพัฒนาสมรรถนะของตำรวจ และด้านการพัฒนาองค์ความรู้ให้ตำรวจ มีอิทธิพลต่อปัจจัยด้านลักษณะองค์การโดยรวม 3) ด้านการสร้างขวัญและกำลังใจให้ตำรวจ ด้านทัศนคติในการปฏิบัติงาน ด้านการพัฒนาสมรรถนะของตำรวจ ด้านการพัฒนาเครื่องมือในการปฏิบัติงาน และด้านการพัฒนาระบบการปฏิบัติงาน มีอิทธิพลต่อปัจจัยด้านทรัพยากรการบริหารโดยรวม 4)ด้านการสร้างขวัญและกำลังใจให้ตำรวจ ด้านการพัฒนาสมรรถนะของตำรวจ ด้านการพัฒนาเครื่องมือในการปฏิบัติงาน และด้านทัศนคติในการปฏิบัติงาน มีอิทธิพลต่อปัจจัยด้านภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงโดยรวม 5)ด้านการสร้างขวัญและกำลังใจให้ตำรวจ ด้านทัศนคติในการปฏิบัติงาน ด้านการพัฒนาสมรรถนะของตำรวจ และด้านการพัฒนาเครื่องมือในการปฏิบัติงาน มีอิทธิพลต่อปัจจัยด้านหลักธรรมาภิบาลโดยรวมCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28023 SIU THE-T. ผลสัมฤทธิ์การบริหารจัดการของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาล สำนักงานตำรวจแห่งชาติ = Achievement Management of the Patrol Special Operation Division, Metropolitan Police Bureau, Royal Thai Police [printed text] / ไพทูรย์ สิทธิบุญ, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019 . - xv, 292 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-13
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ตำรวจ -- การปฏิบัติงาน Keywords: พฤติกรรมการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ,
ผลสัมฤทธิ์การบริหารจัดการของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษAbstract: การศึกษาวิจัยเรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อการศึกษาวิจัย 1) เพื่อศึกษาพฤติกรรมการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ และ ผลสัมฤทธิ์การบริหารของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ 2) เพื่อศึกษาอิทธิพลระหว่างพฤติกรรมการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ และผลสัมฤทธิ์การบริหาร ที่มีผลต่อผลสัมฤทธิ์การบริหารจัดการของ กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ 3) เพื่อศึกษาสภาพปัญหา และอุปสรรค รวมถึงแนวทางในการบริหารจัดการที่จะช่วยให้การปฏิบัติงานบรรลุผลสัมฤทธิ์ในการบริหารจัดการของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ วิธีการวิจัย ผู้วิจัยใช้ แบบผสมผสาน (Mixed Methods Research) ดำเนินการวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) ก่อนและตามด้วยการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) เครื่องมือในการวิจัย เชิงปริมาณ ใช้แบบสอบถาม จำนวน 306 ชุด และการวิจัยเชิงคุณภาพ ใช้วิธีสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง สถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ สถิติพรรณนา (Descriptive Statistics) สถิติอนุมาน (Inferential Statistics) การวิเคราะห์ข้อมูล เชิงสหสัมพันธ์ (Correlation Analysis) โดยกำหนดนัยสำคัญ ทางสถิติที่ระดับ .05 และ การวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ (Multiple Regression Analysis) ใช้เทคนิคการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน (Stepwise Multiple Regression) โดยกำหนดให้ระดับนัยสำคัญทางสถิติไว้ที่ .05 การตรวจวัดเครื่องมือการวิจัย การวิจัยเชิงปริมาณ ผู้วิจัยดำเนินการหาค่าความเที่ยงตรง (Validity) ของแบบสอบถามด้วยวิธีหาค่า Index of Item Objective Congruence : IOC โดยให้อาจารย์ที่ปรึกษาและผู้เชี่ยวชาญ รวม 5 คน เป็นผู้ตรวจแบบสอบถาม (Face Validity) เพื่อให้มีความเที่ยงตรงตามเนื้อหา จากนั้นนำแบบสอบถามที่ได้รับจากการหาค่า IOC มาทำการปรับปรุงแก้ไขวัดค่า IOC ได้ ระหว่าง 0.6-1.00 เพื่อให้งานวิจัยมีความน่าเชื่อถือ ผู้วิจัยได้นำแบบสอบถามที่ได้ปรับแก้ไขแล้วไปทดสอบ (Pre-Test) กับกลุ่มตำรวจกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ ซึ่งใกล้เคียงกับกลุ่มตัวอย่างจริง จำนวน 30 คน เพื่อหาค่าความเชื่อมั่น (Reliability) ด้วยวิธีการหาค่าสัมประสิทธิ์อัลฟ่าของครอนบาค (Cronbach ,Alpha Coefficient) เพื่อให้ได้ค่าไม่น้อยกว่า 0.70 จึงจะมีความเหมาะสมในการนำไปเก็บข้อมูล (สุจิตรา บุญยรัตพันธุ์, 2546, น. 135-141) (วันชัย จึงวิบูลย์สถิต, 2560, น. 104) และ (จีรวัฏฐ์ บุญวัฒนาภรณ์, 2556, น. 142) ผลการทดสอบ ด้านพฤติกรรมการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจสังกัดกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ ได้ค่า 0.965 และผลสัมฤทธิ์การบริหารจัดการของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ ที่มีผลต่อพฤติกรรมการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ ได้ค่า 0.995
ผลการวิจัยพบว่า
1) ด้านพฤติกรรมการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ และ ผลสัมฤทธิ์การบริหารของกองบังคับการ สายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ ตามวัตถุประสงค์ข้อ 1 โดยรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก (x ̅ = 3.489, S.D. = 0.809) ซึ่งประกอบด้วย ด้านทัศนคติในการปฏิบัติงาน (x ̅ = 3.598, S.D. = 0.809) ด้านความเข้มแข็งในการปฏิบัติงาน (x ̅ = 3.526, S.D. = 0.832) ด้านการปฏิบัติงานมุ่งสู่สากล (x ̅ = 3.493, S.D. = 0.826) และด้านความเป็นตำรวจมืออาชีพ (x ̅ = 3.341, S.D. = 0.726) 2) ด้านอิทธิพลระหว่างพฤติกรรมการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ และผลสัมฤทธิ์การบริหาร ที่มีผลต่อผลสัมฤทธิ์การบริหารจัดการของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ ตามวัตถุประสงค์ข้อ 2 โดยรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก (x ̅ = 3.508, S.D. = 0.789) ประกอบด้วย ด้านวัฒนธรรมองค์การ มีค่าเฉลี่ยสูงที่สุดอยู่ในระดับมาก (x ̅ = 3.554, S.D. = 0.744) ด้านภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง (x ̅ = 3.530, S.D. = 0.804) ด้านลักษณะองค์การ (x ̅ = 3.517, S.D. = 0.812) ด้านธรรมาภิบาล (x ̅ = 3.505, S.D. = 0.806) และด้านทรัพยากรบริหาร (x ̅ = 3.438, S.D. = 0.825) 3) สภาพปัญหา และอุปสรรค รวมถึงแนวทางในการบริหารจัดการที่จะช่วยให้การปฏิบัติงานบรรลุผลสัมฤทธิ์ในการบริหารจัดการของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ ตามวัตถุประสงค์ ข้อที่ 3 พบว่า ด้านพฤติกรรมการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจและ ผลสัมฤทธิ์การบริหารของ กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ ด้านความเป็นตำรวจมืออาชีพ เป็นพฤติกรรมการปฏิบัติงานที่เป็นปัญหา อุปสรรค และส่งผลต่อสัมฤทธิ์การบริหารจัดการของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ ในระดับมาก รองลงมาตามลำดับ คือ ด้านการปฏิบัติงานมุ่งสู่สากลในระดับปานกลาง ด้านความเข้มแข็งในการปฏิบัติงานในระดับน้อย และด้านทัศนคติในการปฏิบัติงานในระดับน้อยที่สุด ด้านอิทธิพลระหว่างพฤติกรรมการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ และผลสัมฤทธิ์การบริหารที่มีผลต่อผลสัมฤทธิ์การบริหารจัดการของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ ด้านทรัพยากรบริหารเป็นปัญหา อุปสรรค และส่งผลต่อพฤติกรรมการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ ในระดับมากที่สุด รองลงมาตามลำดับ คือ ด้านธรรมาภิบาลในระดับมาก ด้านลักษณะองศ์การในระดับปานกลาง ด้านภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงในระดับน้อย และด้านวัฒนธรรมองศ์การในระดับน้อยที่สุด
ผลการทดสอบสมมติฐาน โดยวิเคราะห์แบบถดถอยพหุคูณ พบว่า 1) ด้านการสร้างขวัญและกำลังใจให้ตำรวจ ด้านทัศนคติในการปฏิบัติงาน ด้านการพัฒนาเครื่องมือในการปฏิบัติงาน และด้านการพัฒนาระบบการปฏิบัติงาน มีอิทธิพลต่อปัจจัยด้านวัฒนธรรมองค์การโดยรวม 2) ด้านการสร้างขวัญและกำลังใจให้ตำรวจ ด้านทัศนคติในการปฏิบัติงาน ด้านการพัฒนาสมรรถนะของตำรวจ และด้านการพัฒนาองค์ความรู้ให้ตำรวจ มีอิทธิพลต่อปัจจัยด้านลักษณะองค์การโดยรวม 3) ด้านการสร้างขวัญและกำลังใจให้ตำรวจ ด้านทัศนคติในการปฏิบัติงาน ด้านการพัฒนาสมรรถนะของตำรวจ ด้านการพัฒนาเครื่องมือในการปฏิบัติงาน และด้านการพัฒนาระบบการปฏิบัติงาน มีอิทธิพลต่อปัจจัยด้านทรัพยากรการบริหารโดยรวม 4)ด้านการสร้างขวัญและกำลังใจให้ตำรวจ ด้านการพัฒนาสมรรถนะของตำรวจ ด้านการพัฒนาเครื่องมือในการปฏิบัติงาน และด้านทัศนคติในการปฏิบัติงาน มีอิทธิพลต่อปัจจัยด้านภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงโดยรวม 5)ด้านการสร้างขวัญและกำลังใจให้ตำรวจ ด้านทัศนคติในการปฏิบัติงาน ด้านการพัฒนาสมรรถนะของตำรวจ และด้านการพัฒนาเครื่องมือในการปฏิบัติงาน มีอิทธิพลต่อปัจจัยด้านหลักธรรมาภิบาลโดยรวมCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28023 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607424 SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-13 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000607437 SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-13 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available