From this page you can:
Home |
Descriptors
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sources
ความสำเร็จในการศึกษาต่อเนื่องของผู้ป่วยติดยาเสพติดในโรงพยาบาลธัญญารักษ์ / ศิริรัตน์ ชูชีพ / โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข - 2544
Title : ความสำเร็จในการศึกษาต่อเนื่องของผู้ป่วยติดยาเสพติดในโรงพยาบาลธัญญารักษ์ : รายงานการวิจัย Material Type: printed text Authors: ศิริรัตน์ ชูชีพ, Author ; บุปผา เที่ยงพุก, Author Publisher: โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข Publication Date: 2544 Pagination: จ, 40 แผ่น Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-774-035-4 Price: บริจาค. Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การศึกษาต่อเนื่อง
[LCSH]ผู้ป่วย -- ยาเสพติด
[LCSH]ผู้ป่วย -- ยาเสพติด -- การบำบัดKeywords: การศึกษาต่อเนื่อง.
โรงพยาบาลธัญญารักษ์.
ผู้ป่วย.Class number: WM100 ศ837 2544 Abstract: งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาเหตุผลในการศึกษาต่อของผู้ป่วยที่ติดสาเสพติด และศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จในการศึกษาต่อของผู้ป่วยยาเสพติดที่ได้เข้ารับการบำบัดรักษาในโรงพยาบาลธัญญารักษ์ Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23262 ความสำเร็จในการศึกษาต่อเนื่องของผู้ป่วยติดยาเสพติดในโรงพยาบาลธัญญารักษ์ : รายงานการวิจัย [printed text] / ศิริรัตน์ ชูชีพ, Author ; บุปผา เที่ยงพุก, Author . - [S.l.] : โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข, 2544 . - จ, 40 แผ่น ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-774-035-4 : บริจาค.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การศึกษาต่อเนื่อง
[LCSH]ผู้ป่วย -- ยาเสพติด
[LCSH]ผู้ป่วย -- ยาเสพติด -- การบำบัดKeywords: การศึกษาต่อเนื่อง.
โรงพยาบาลธัญญารักษ์.
ผู้ป่วย.Class number: WM100 ศ837 2544 Abstract: งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาเหตุผลในการศึกษาต่อของผู้ป่วยที่ติดสาเสพติด และศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อความสำเร็จในการศึกษาต่อของผู้ป่วยยาเสพติดที่ได้เข้ารับการบำบัดรักษาในโรงพยาบาลธัญญารักษ์ Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23262 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000355212 WM100 ศ837 2544 Thesis Main Library Thesis Corner Available รายงานการวิจัยเรื่อง การรับรู้ต่อการบำบัดรักษาของผู้ป่วยชาวเขาที่เสพติดฝิ่น / สลินดา แวงสูงเนิน / โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข - 2544
Title : รายงานการวิจัยเรื่อง การรับรู้ต่อการบำบัดรักษาของผู้ป่วยชาวเขาที่เสพติดฝิ่น Material Type: printed text Authors: สลินดา แวงสูงเนิน, Author ; ธัญญารัตน์ ขจัดพาล, Author Publisher: โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข Publication Date: 2544 Pagination: 56 แผ่น. Layout: ตาราง. Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-774-017-6 Price: บริจาค. Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ผู้ป่วย -- ยาเสพติด -- การบำบัด
[LCSH]ฝิ่น --ไทย -- แม่ฮ่องสอน
[LCSH]พฤติกรรมการใช้สารเสพติดประเภทฝิ่น -- ไทย --แม่ฮ่องสอนKeywords: การบำบัด.
ฝิ่น.
ผู้ป่วย.
ชาวเขา.Class number: HV5840 ส873 2544 Abstract: การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพมีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาสาเหตุและปัจจัยที่ทำให้ผู้ป่วยชาวเขาเสพติดฝิ่นและศึกษาการรับรู้ต่อการบำบัดรักษาของผู้ป่วยชาวเขาที่เสพติดฝิ่นกลุ่มตัวอย่างที่ศึกกษาเป็นผู้ป่วยชาวเขาเสพติดฝิ่นที่เข้ารับการบำบัดรักษาที่ศูนย์บำบัดรักษายาเสพติดจังแม่ฮ่องสอน จำนวน 7 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึก โดยใช้แนวคำถามสัมภาษณ์ ระหว่างเดือนเมษายน-พฤษภาคม 2544
ผลการศึกษาพบว่า สาเหตุสำคัญที่ทำให้ชาวเขาเสพติดฝิ่น คือ การใช้เพื่อบรรเทาความเจ็บป่วยและอาการไม่สุขสาบ โดยได้รับการถ่ายทอดความรู้และวิธีการมาตั้งแต่อดีต เนื่องจากการเดินทางเพื่อรักษาตัวจากเจ้าหน้าที่สาธารณสุขไม่สะดวกและต้องใช้เวลาในการเดินทางมากและเชือว่าการใช้ฝิ่นเป็นยารักษาโรคไม่ก่อให้เกิดการเสพติดและไม่เป็นอันตรายต่อร่างกาย นอกจากนั้นยังพบว่า ฝิ่นมีส่วนช่วยให้ทำงานได้มากขึ้น และยังใช้จำหน่ายเป็นรายได้เพิ่มเติม ทำให้อยู่ใกล้ชิดกับฝิ่นจึงเสพฝิ่น และสาเหตุประการสุดท้ายคือ การถูกชักจูงจากเพื่อนฝูงทำให้ลอง จนติดฝิ่นในที่สุด
ส่วนการรับรู้เกี่ยวกับฝิ่น พบว่าชาวเขารับรู้เกี่ยวกับฝิ่นใน 2 ทาง คือ มองว่าฝิ่นมีประโยชน์ต่อตนเองในการรักษาโรคและช่วยให้ทำงานได้ อีกทางหนึ่งคือ รับรู้ว่าฝิ่นมีโทษทั้งต่อตนเอง ครอบครัว และสังคม การรับรู้เกี่ยวกับการบำบัดรักษาที่ศูนย์บำบัดรักษายาเสพติดจังหวัดแม่ฮ่องสอน พบว่าชาวเขามีความต้องการและตั้งใจเลิกยาเสพติดนั้นจะรับรู้ต่อการบำบัดรักษาในทางที่ดี มีความตั้งใจในการรักษา โดยให้ความร่วมมือและเห็นประโยชน์ในการทำกิจกรรมต่าง ๆ และนำไปประยุกต์ใช้กับตนเองได้ ส่วนชาวเขาที่ไม่สมัครใจมารักษา พบว่าส่วนใหญ่ถูกบังคับและกึ่งบังคับให้มารักษาตัวอยู่ที่ศูนย์ ชาวเขากลุ่มนี้จะรับรู้ต่อการบำบัดรักษาในทางทีไม่ดี เพราะคิดว่ามาอยู่ที่ศูนย์ เพื่อให้พ้นความผิดเท่านั้น และมีพฤติกรรมไม่ให้่ความร่วมมือในการทำกิจกรรมต่าง ๆ ของศูนย์ที่กำหนดให้ ประการสำคัญมีแนวโน้มเมื่อสิ้นสุดการรักษาแล้วนี้จะกลับไปเสพซ้ำอีกซึ่งส่วนใหญ่ทำให้การรักษาไม่ได้ผล ดังนั้นข้อเสนอแนะของผู้วิจัยพบว่า หากต้องการให้ชาวเขาเลิกฝิ่นได้อย่างเด็ดขาดโดยไม่กลับไปเสพซ้ำ จึงควรเริ่มจากการเตรียมตัวให้ชาวเขามีความพร้อมก่อนเข้ารับการรักษา โดยใช้วิธีต่าง ๆ นับตั้งแต่การพูดคุยให้เข้าใจประโยชน์ของการเลิกฝิ่นอย่างแท้จริง และมีการเตรียมความพร้อมก่อนกลับบ้่าน โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขทุกระดับหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรให้ความรู้ในการดูแลสุขภาพของตนเองเบื้องต้น เมื่อเกิดความเจ็บป่้วยซึ่งส่งผลให้ชาวเขากลับไปใช้ฝิ่นเพื่อรักษาความเจ็บป่วยตนเอง ทำให้เลิกเสพฝิ่นไม่ได้่Curricular : BALA/BNS/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23295 รายงานการวิจัยเรื่อง การรับรู้ต่อการบำบัดรักษาของผู้ป่วยชาวเขาที่เสพติดฝิ่น [printed text] / สลินดา แวงสูงเนิน, Author ; ธัญญารัตน์ ขจัดพาล, Author . - [S.l.] : โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข, 2544 . - 56 แผ่น. : ตาราง. ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-774-017-6 : บริจาค.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ผู้ป่วย -- ยาเสพติด -- การบำบัด
[LCSH]ฝิ่น --ไทย -- แม่ฮ่องสอน
[LCSH]พฤติกรรมการใช้สารเสพติดประเภทฝิ่น -- ไทย --แม่ฮ่องสอนKeywords: การบำบัด.
ฝิ่น.
ผู้ป่วย.
ชาวเขา.Class number: HV5840 ส873 2544 Abstract: การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพมีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาสาเหตุและปัจจัยที่ทำให้ผู้ป่วยชาวเขาเสพติดฝิ่นและศึกษาการรับรู้ต่อการบำบัดรักษาของผู้ป่วยชาวเขาที่เสพติดฝิ่นกลุ่มตัวอย่างที่ศึกกษาเป็นผู้ป่วยชาวเขาเสพติดฝิ่นที่เข้ารับการบำบัดรักษาที่ศูนย์บำบัดรักษายาเสพติดจังแม่ฮ่องสอน จำนวน 7 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึก โดยใช้แนวคำถามสัมภาษณ์ ระหว่างเดือนเมษายน-พฤษภาคม 2544
ผลการศึกษาพบว่า สาเหตุสำคัญที่ทำให้ชาวเขาเสพติดฝิ่น คือ การใช้เพื่อบรรเทาความเจ็บป่วยและอาการไม่สุขสาบ โดยได้รับการถ่ายทอดความรู้และวิธีการมาตั้งแต่อดีต เนื่องจากการเดินทางเพื่อรักษาตัวจากเจ้าหน้าที่สาธารณสุขไม่สะดวกและต้องใช้เวลาในการเดินทางมากและเชือว่าการใช้ฝิ่นเป็นยารักษาโรคไม่ก่อให้เกิดการเสพติดและไม่เป็นอันตรายต่อร่างกาย นอกจากนั้นยังพบว่า ฝิ่นมีส่วนช่วยให้ทำงานได้มากขึ้น และยังใช้จำหน่ายเป็นรายได้เพิ่มเติม ทำให้อยู่ใกล้ชิดกับฝิ่นจึงเสพฝิ่น และสาเหตุประการสุดท้ายคือ การถูกชักจูงจากเพื่อนฝูงทำให้ลอง จนติดฝิ่นในที่สุด
ส่วนการรับรู้เกี่ยวกับฝิ่น พบว่าชาวเขารับรู้เกี่ยวกับฝิ่นใน 2 ทาง คือ มองว่าฝิ่นมีประโยชน์ต่อตนเองในการรักษาโรคและช่วยให้ทำงานได้ อีกทางหนึ่งคือ รับรู้ว่าฝิ่นมีโทษทั้งต่อตนเอง ครอบครัว และสังคม การรับรู้เกี่ยวกับการบำบัดรักษาที่ศูนย์บำบัดรักษายาเสพติดจังหวัดแม่ฮ่องสอน พบว่าชาวเขามีความต้องการและตั้งใจเลิกยาเสพติดนั้นจะรับรู้ต่อการบำบัดรักษาในทางที่ดี มีความตั้งใจในการรักษา โดยให้ความร่วมมือและเห็นประโยชน์ในการทำกิจกรรมต่าง ๆ และนำไปประยุกต์ใช้กับตนเองได้ ส่วนชาวเขาที่ไม่สมัครใจมารักษา พบว่าส่วนใหญ่ถูกบังคับและกึ่งบังคับให้มารักษาตัวอยู่ที่ศูนย์ ชาวเขากลุ่มนี้จะรับรู้ต่อการบำบัดรักษาในทางทีไม่ดี เพราะคิดว่ามาอยู่ที่ศูนย์ เพื่อให้พ้นความผิดเท่านั้น และมีพฤติกรรมไม่ให้่ความร่วมมือในการทำกิจกรรมต่าง ๆ ของศูนย์ที่กำหนดให้ ประการสำคัญมีแนวโน้มเมื่อสิ้นสุดการรักษาแล้วนี้จะกลับไปเสพซ้ำอีกซึ่งส่วนใหญ่ทำให้การรักษาไม่ได้ผล ดังนั้นข้อเสนอแนะของผู้วิจัยพบว่า หากต้องการให้ชาวเขาเลิกฝิ่นได้อย่างเด็ดขาดโดยไม่กลับไปเสพซ้ำ จึงควรเริ่มจากการเตรียมตัวให้ชาวเขามีความพร้อมก่อนเข้ารับการรักษา โดยใช้วิธีต่าง ๆ นับตั้งแต่การพูดคุยให้เข้าใจประโยชน์ของการเลิกฝิ่นอย่างแท้จริง และมีการเตรียมความพร้อมก่อนกลับบ้่าน โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขทุกระดับหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรให้ความรู้ในการดูแลสุขภาพของตนเองเบื้องต้น เมื่อเกิดความเจ็บป่้วยซึ่งส่งผลให้ชาวเขากลับไปใช้ฝิ่นเพื่อรักษาความเจ็บป่วยตนเอง ทำให้เลิกเสพฝิ่นไม่ได้่Curricular : BALA/BNS/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23295 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000355196 THE HV5840 ส873 2544 Thesis Main Library Thesis Corner Available รายงานการวิจัยเรื่อง การรับรู้และการสนับสนุนของสมาชิกในครอบครัวให้ผู้เสพติดยาบ้า / อุไรวรรณ วงศ์พรประทีป / โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข - 2544
Title : รายงานการวิจัยเรื่อง การรับรู้และการสนับสนุนของสมาชิกในครอบครัวให้ผู้เสพติดยาบ้า : สมัครใจเข้ารับการบำบัดรักษาในโรงพยาบาลธัญญารักษ์ Material Type: printed text Authors: อุไรวรรณ วงศ์พรประทีป, Author ; อัมพร วิเศษชาติ, Author ; ราตรี หุ่นดี, Author Publisher: โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข Publication Date: 2544 Pagination: 48 แผ่น. Layout: ตารางประกอบ, แผนภูมิ Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-774-018-4 Price: บริจาค. Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ผู้ป่วย -- ยาเสพติด -- การบำบัด
[LCSH]พฤติกรรมการใช้สารเสพติดประเภทยาบ้า -- ไทย
[LCSH]ยาบ้า -- การเสพติดKeywords: ยาบ้า.
การเสพยา.
การบำบัด
การรักษา.Class number: WM270 อ949 2544 Abstract: การศึกษาครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพแบบปรากฎการณ์วิทยา โดยแบ่งการศึกษาออกเป็นการศึกษาค้นคว้าวิจัยจากเอกสารและงานวิจัย ผู้ศึกษาได้ออกแบบสอบถามให้ครอบคลุมเนื้อหา และสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการศึกษา ตลอดจนได้วิเคราะห์ข้อมูลโดยการจัดกลุ่ม และอภิปรายผลโดยการให้การพรรณาความประกอบ
ผลการศึกษาพบว่า ผู้เสพยาบ้าส่สนใหญ่ไม่ได้อาศัยอยู่บ้านเดียวกับผู้นำเข้ารัีบการบำบัดรักษา แสดงให้เห็นว่าการรับรู้ของบุคคลในครอบครัวที่มิใช่บิดา มารดา มีการแสดงออกของการรับรู้ การยอมรับในตัวผู้เสพยา และให้ความช่วยเหลือนำผู้เสพติดยาบ้าเข้ารับการบำบัดรักษาด้วยความสมัครใจดีกว่าบิดา มารดา ในกรณีที่ผู้เสพติดมีปัญหาทางด้านสัมพันธภาพในครอบครัว และการใช้สถานการณ์ที่สำคัญที่เกิดขึ้นกับตัวผู้เสพเป็นเครื่องมือในการนำไปสู่การตรวจหาสารเสพติดเพื่อยืนยันว่าผู้เสพมีการเสพยาเสพติด ทำให้ผู้เสพยายอมรับว่าเสพยาและสมาชิกในครอบครัวที่การนำผู้เสพยาบ้าสมัครใจเข้ารับการบำบัดส่วนใหญ่เป็นน้า ร้อยละ 50 และเป็นเพศหญิงร้อยละ 70
จากการศึกษาครั้งนี้ ผู้ศึุกษาได้ให้ข้อเสนอแนะว่า ควรมีการนำเอาสมาชิกในครอบครัวมาร่วมกันและเปลี่ยนแนวคิดในการที่จะะนำผู้เสพยาบ้าเข้าบำบัดรักษาด้วยความสมัครใจและช่วยประชาสัมพันธ์แก่ครอบครัวผู้เสพติดรายอื่นCurricular : BALA/BNS/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23302 รายงานการวิจัยเรื่อง การรับรู้และการสนับสนุนของสมาชิกในครอบครัวให้ผู้เสพติดยาบ้า : สมัครใจเข้ารับการบำบัดรักษาในโรงพยาบาลธัญญารักษ์ [printed text] / อุไรวรรณ วงศ์พรประทีป, Author ; อัมพร วิเศษชาติ, Author ; ราตรี หุ่นดี, Author . - [S.l.] : โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข, 2544 . - 48 แผ่น. : ตารางประกอบ, แผนภูมิ ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-774-018-4 : บริจาค.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ผู้ป่วย -- ยาเสพติด -- การบำบัด
[LCSH]พฤติกรรมการใช้สารเสพติดประเภทยาบ้า -- ไทย
[LCSH]ยาบ้า -- การเสพติดKeywords: ยาบ้า.
การเสพยา.
การบำบัด
การรักษา.Class number: WM270 อ949 2544 Abstract: การศึกษาครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพแบบปรากฎการณ์วิทยา โดยแบ่งการศึกษาออกเป็นการศึกษาค้นคว้าวิจัยจากเอกสารและงานวิจัย ผู้ศึกษาได้ออกแบบสอบถามให้ครอบคลุมเนื้อหา และสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการศึกษา ตลอดจนได้วิเคราะห์ข้อมูลโดยการจัดกลุ่ม และอภิปรายผลโดยการให้การพรรณาความประกอบ
ผลการศึกษาพบว่า ผู้เสพยาบ้าส่สนใหญ่ไม่ได้อาศัยอยู่บ้านเดียวกับผู้นำเข้ารัีบการบำบัดรักษา แสดงให้เห็นว่าการรับรู้ของบุคคลในครอบครัวที่มิใช่บิดา มารดา มีการแสดงออกของการรับรู้ การยอมรับในตัวผู้เสพยา และให้ความช่วยเหลือนำผู้เสพติดยาบ้าเข้ารับการบำบัดรักษาด้วยความสมัครใจดีกว่าบิดา มารดา ในกรณีที่ผู้เสพติดมีปัญหาทางด้านสัมพันธภาพในครอบครัว และการใช้สถานการณ์ที่สำคัญที่เกิดขึ้นกับตัวผู้เสพเป็นเครื่องมือในการนำไปสู่การตรวจหาสารเสพติดเพื่อยืนยันว่าผู้เสพมีการเสพยาเสพติด ทำให้ผู้เสพยายอมรับว่าเสพยาและสมาชิกในครอบครัวที่การนำผู้เสพยาบ้าสมัครใจเข้ารับการบำบัดส่วนใหญ่เป็นน้า ร้อยละ 50 และเป็นเพศหญิงร้อยละ 70
จากการศึกษาครั้งนี้ ผู้ศึุกษาได้ให้ข้อเสนอแนะว่า ควรมีการนำเอาสมาชิกในครอบครัวมาร่วมกันและเปลี่ยนแนวคิดในการที่จะะนำผู้เสพยาบ้าเข้าบำบัดรักษาด้วยความสมัครใจและช่วยประชาสัมพันธ์แก่ครอบครัวผู้เสพติดรายอื่นCurricular : BALA/BNS/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23302 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000355204 THE WM270 อ949 2544 Thesis Main Library Thesis Corner Available รายงานการวิจัยเรื่อง พฤติกรรมการลักลอบหนีออกจากโรงพยาบาลของผู้ป่วยติดสารเสพติดวัยรุ่นชาย / สำเนา มากแบน / โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข - 2544
Title : รายงานการวิจัยเรื่อง พฤติกรรมการลักลอบหนีออกจากโรงพยาบาลของผู้ป่วยติดสารเสพติดวัยรุ่นชาย : ในโรงพยาบาลธัญญารักษ์ Material Type: printed text Authors: สำเนา มากแบน, Author ; สมบัติ มากัน, Author Publisher: โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข Publication Date: 2544 Pagination: ก-ฉ, 64 แผ่น Layout: ตารางประกอบ. Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-774-022-2 Price: บริจาค. Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การติดยาเสพติด -- แง่จิตวิทยา
[LCSH]การติดยาเสพติด -- แง่สังคม
[LCSH]ผู้ป่วย -- ยาเสพติด -- การบำบัดKeywords: การลักลอบ.
การหนี.
ผู้ติดยา.Class number: WM270 ส825 2544 Abstract: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึุกษา ปัจจัยหรือเงื่อนไข และวิธีการลักลอบหนีออกจากโรงพยาบาลของผู้ป่วยติดสารเสพติดวันรุ่นชายในโรงพยาบาลธัญญารักษ์ วิธีการศึกษาใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยวิธีการสัมภาษณ์เชิงลึก ผู้ให้ข้อมูลหลักคือ ผู้ป่วยติดสารเสพติดวัยุรุ่นชายที่เคยบำบัดรักษาในโรงพยาบาลธัญญารักษ์ และถูกให้ออกจากโรงพยาบาล เนื่องจากฝ่าฝืนกฎระเบียบของโรงพยาบาลโดยการลักลอบหนีออกจากโรงพยาบาล จำนวน 10 คน ผลการศึกษามีดังนี้
เงื่อนไขในการลักลอบหนีออกจากโรงพยาบาล เพื่อต้องการไปนำบุหรี่/ยาเส้นเข้ามาในโรงพยาบาล ซึ่งนโยบายในการบำบัดรักษาผู้ป่วยติดสารเสพติดของโรงพยาบาลธัญญารักษ์นอกจากให้ผู้ป่วยสามารถเลิกเสพสารเสพติดได้แล้ว ยังต้องการให้ผู้ป่วยเลิกสูบบุหรี่ด้วย แต่ผู้ป่วยที่ติดสารเสพติดส่วนใหญ่จะติดบุหรีด้วย ซึ่งการสูบบุหรีส่วนมากมาจากความเคยชิน ทำให้ยากต่อการละเลิก เมื่อผู้ป่วยมีความต้องการอยากสูบบุหรีมากจนไม่สามารถทนต่ออาการนั้นได้ จึงตัดสินใจลักลอบหนีออกจากโรงพยาบาล และต้องได้รับการยอมรับจากเพื่อน
วิธีการลักลอบหนีออกจากโรงพยาบาล จะทำเป็นกระบวนการและเป็นจั้นตอน 3 ขั้นตอน คือ
ขั้นที่ 1 ขั้นเตรียมการ เริ่มจากการหาผู้ที่จะทำการลักลอบหนีโดยเป็นผู้ที่มีความรู้สึกอยากสูบบุหรีมาก หรือผู้ที่เคยทำการลักลอบหนีออกได้สำเร็จ ผู้ทำหน้าที่รวบรวมสิ่งของอุปโภค บริโภค เพื่อนำไปแลกเปลี่ยนเป็นยาเส้น ผู้ที่ทำการลักลอบจะเตรียมตัวโดยการเตรียมเสื้อผ้าสำหรับแลกเปลี่ยนและศึกษาเส้นทางที่จะลักลอบหนี มีการวางแผน เพื่อไม่ให้เจ้าหน้าที่สงสัย
ขั้นที่ 2 เป็นขั้นดำเนินการ จะเลือกเวลาที่ปลอดภัยมากที่สุด เป็นเวลาที่เจ้าหน้าที่ปฎิบัติงานน้อย ผู้ป่วยจะทำการลักลอบทั้งในเวลากลางวัน และกลางคืน โดยการปืนกำแพงโรงพยาบาลออกไปซื้อหรือแลกเปลี่ยนบุหรี/ยาเส้น ที่ร้านค้าบริเวณอพาร์ทเม้นต์หลังโรงพยาบาลและจะกลับเข้ามาในโรงพยาบาลในช่องทางเดียวกับช่องทางที่ออก
ขั้นที่ 3 เป็นขั้นการจำหน่าย เืมื่อได้บุหรี/ยาเส้นมาแล้วจะแจกจ่ายให้กับผู้ที่ฝากสิ่งของไปแลกและนำมาแบ่งปันกันสูบ มีบางคนจะจำหน่ายให่กับผู้ป่วยอื่นต่อในราคาที่สูง
แนวทางการแก้ไข โดยการปรับเปลี่ยนกฎของโรงพยาบาล พัฒนาพืั้นที่บริเวณโดยรอบโรงพยาบาล จัดให้มีป้อมยามพร้อมเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยปฎิบัติหน้าที่บริเวณด้านหลังหอผู้ป่วยอย่างน้อย 1 จุด และปฎิบัติการพยาบาลผู้ป่วยด้วยความเข้าใจ และเห็นอกเห็นใจ สอดส่อง ระมัดระวังผู้ที่มีพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการลักลอบหนีออกจากโรงพยาบาลCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23294 รายงานการวิจัยเรื่อง พฤติกรรมการลักลอบหนีออกจากโรงพยาบาลของผู้ป่วยติดสารเสพติดวัยรุ่นชาย : ในโรงพยาบาลธัญญารักษ์ [printed text] / สำเนา มากแบน, Author ; สมบัติ มากัน, Author . - [S.l.] : โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข, 2544 . - ก-ฉ, 64 แผ่น : ตารางประกอบ. ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-774-022-2 : บริจาค.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การติดยาเสพติด -- แง่จิตวิทยา
[LCSH]การติดยาเสพติด -- แง่สังคม
[LCSH]ผู้ป่วย -- ยาเสพติด -- การบำบัดKeywords: การลักลอบ.
การหนี.
ผู้ติดยา.Class number: WM270 ส825 2544 Abstract: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึุกษา ปัจจัยหรือเงื่อนไข และวิธีการลักลอบหนีออกจากโรงพยาบาลของผู้ป่วยติดสารเสพติดวันรุ่นชายในโรงพยาบาลธัญญารักษ์ วิธีการศึกษาใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยวิธีการสัมภาษณ์เชิงลึก ผู้ให้ข้อมูลหลักคือ ผู้ป่วยติดสารเสพติดวัยุรุ่นชายที่เคยบำบัดรักษาในโรงพยาบาลธัญญารักษ์ และถูกให้ออกจากโรงพยาบาล เนื่องจากฝ่าฝืนกฎระเบียบของโรงพยาบาลโดยการลักลอบหนีออกจากโรงพยาบาล จำนวน 10 คน ผลการศึกษามีดังนี้
เงื่อนไขในการลักลอบหนีออกจากโรงพยาบาล เพื่อต้องการไปนำบุหรี่/ยาเส้นเข้ามาในโรงพยาบาล ซึ่งนโยบายในการบำบัดรักษาผู้ป่วยติดสารเสพติดของโรงพยาบาลธัญญารักษ์นอกจากให้ผู้ป่วยสามารถเลิกเสพสารเสพติดได้แล้ว ยังต้องการให้ผู้ป่วยเลิกสูบบุหรี่ด้วย แต่ผู้ป่วยที่ติดสารเสพติดส่วนใหญ่จะติดบุหรีด้วย ซึ่งการสูบบุหรีส่วนมากมาจากความเคยชิน ทำให้ยากต่อการละเลิก เมื่อผู้ป่วยมีความต้องการอยากสูบบุหรีมากจนไม่สามารถทนต่ออาการนั้นได้ จึงตัดสินใจลักลอบหนีออกจากโรงพยาบาล และต้องได้รับการยอมรับจากเพื่อน
วิธีการลักลอบหนีออกจากโรงพยาบาล จะทำเป็นกระบวนการและเป็นจั้นตอน 3 ขั้นตอน คือ
ขั้นที่ 1 ขั้นเตรียมการ เริ่มจากการหาผู้ที่จะทำการลักลอบหนีโดยเป็นผู้ที่มีความรู้สึกอยากสูบบุหรีมาก หรือผู้ที่เคยทำการลักลอบหนีออกได้สำเร็จ ผู้ทำหน้าที่รวบรวมสิ่งของอุปโภค บริโภค เพื่อนำไปแลกเปลี่ยนเป็นยาเส้น ผู้ที่ทำการลักลอบจะเตรียมตัวโดยการเตรียมเสื้อผ้าสำหรับแลกเปลี่ยนและศึกษาเส้นทางที่จะลักลอบหนี มีการวางแผน เพื่อไม่ให้เจ้าหน้าที่สงสัย
ขั้นที่ 2 เป็นขั้นดำเนินการ จะเลือกเวลาที่ปลอดภัยมากที่สุด เป็นเวลาที่เจ้าหน้าที่ปฎิบัติงานน้อย ผู้ป่วยจะทำการลักลอบทั้งในเวลากลางวัน และกลางคืน โดยการปืนกำแพงโรงพยาบาลออกไปซื้อหรือแลกเปลี่ยนบุหรี/ยาเส้น ที่ร้านค้าบริเวณอพาร์ทเม้นต์หลังโรงพยาบาลและจะกลับเข้ามาในโรงพยาบาลในช่องทางเดียวกับช่องทางที่ออก
ขั้นที่ 3 เป็นขั้นการจำหน่าย เืมื่อได้บุหรี/ยาเส้นมาแล้วจะแจกจ่ายให้กับผู้ที่ฝากสิ่งของไปแลกและนำมาแบ่งปันกันสูบ มีบางคนจะจำหน่ายให่กับผู้ป่วยอื่นต่อในราคาที่สูง
แนวทางการแก้ไข โดยการปรับเปลี่ยนกฎของโรงพยาบาล พัฒนาพืั้นที่บริเวณโดยรอบโรงพยาบาล จัดให้มีป้อมยามพร้อมเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยปฎิบัติหน้าที่บริเวณด้านหลังหอผู้ป่วยอย่างน้อย 1 จุด และปฎิบัติการพยาบาลผู้ป่วยด้วยความเข้าใจ และเห็นอกเห็นใจ สอดส่อง ระมัดระวังผู้ที่มีพฤติกรรมที่เสี่ยงต่อการลักลอบหนีออกจากโรงพยาบาลCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23294 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354959 THE WM270 ส825 2544 Thesis Main Library Thesis Corner Available รายงานการวิจัยเรื่องการปฎิเสธการเข้ารับการบำบัดรักษาในระยะฟื้นฟูสมรรถภาพของ / สู่ไนหย๊ะ ยศดำ / โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข - 2544
Title : รายงานการวิจัยเรื่องการปฎิเสธการเข้ารับการบำบัดรักษาในระยะฟื้นฟูสมรรถภาพของ : ผู้ป่วยใช้สารเสพติด ศูนย์บำบัดรักษายาเสพติด จังหวัดสงขลา Material Type: printed text Authors: สู่ไนหย๊ะ ยศดำ, Author ; จันจิรา รอดสงค์, Author Publisher: โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข Publication Date: 2544 Pagination: 48 แผ่น Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-774-021-4 Price: บริจาค. Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การติดยาเสพติด -- แง่จิตวิทยา
[LCSH]การติดยาเสพติด -- แง่สังคม
[LCSH]ผู้ป่วย -- ยาเสพติด -- การบำบัดKeywords: การบำบัด.
ยาเสพติด.
สารเสพติด.Class number: WM270 ส819 2544 Abstract: การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ เพื่อศึกษาปัจจัยหรือเงื่อนไขของการไม่เข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพของผู้ป่วยใช้สารเสพติดชาย โดยศึกษาในกลุ่มผู้ติดที่เข้าบำบัดรักษาในตึกถอนพิษยา 2 และตึกถอนพิษยาพิเศษ ของศูนย์บำบัดรักษายาเสพติดจังหวัดสงขลา ที่ได้ผ่านการรักษาขั้นถอนพิษยาครบ 21 วัน ผลการศึกษาพบว่า
ปัจจัยหรือเงื่อนไขที่เป็นสาเหตุของการปฎิเสธการเข้ารับการบำบัดรักษาในระยะฟื้นฟูสมรรถภาพของผู้ป่วยมี 4 ปัจจัย ด้วยกันคือ ปัจจัยจากเหตุผลของการตัดสินใจเข้ารับการบำบัดรักษา ซึ่งผู้ป่วยบางรายตัดสินใจเข้ามารับการบำบัดรักษาโดยต้องการให้พ่อ แม่สบายใจ หรือถูกพ่อแม่ และสถานศึกษาบังคับมา แต่บางรายมาโดยความสมัครใจรักษาปัจจัยต่อไปเป็นปัจจัยการดำเนินชีวิตระหว่างการบำบัดรักษาในตึกถอนพิษยา โดยผู้ป่วยต้องมีการปรับเปลี่ยนตัวเองทั้งในด้านร่างกาย ความเป็นอยู่ ความสัมพันธ์กับเพื่อนและเจ้าหน้าที่ ความรู้สึกต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้นระหว่างการรักษา ซึ่งถ้าไม่สามารถปรัีบเปลี่ยนตัวเองให้เป็นไปตามกฎระเบียบก็จะทำให้ผู้ป่วยลาออกกลับบ้านปฎิเสธที่จะรักษาต่อ ปัจจัยจากข้อมูลเกี่ยวกับการบำบัดรักษาในระยะฟื้นฟูสมรรถภาพ จึงทำให้ผู้ป่วยปฎิเสธการเข้ารับการบำบัดในระยะฟื้นฟูสมรรถภาพ และปัจจัยหลักคือ ความจำเป็นที่ต้องกลับไปดูแลครอบครัว และกลับไปเรียนหนังสือ สิ่งที่ผู้ป่วยกล่าวมาเป็นสาเหตุทำให้ผู้ป่วยลาออกกลับบ้าน ปฎิเสธที่จะรักษาในระยะฟื้นฟูสมรรถภาพ ซึ่งในบางครั้งปัจจัยเหล่านี้เป็นเพียงปัจจัยเล็ก ๆ แต่ผู้ป่วยต้องการอิสระ ไปไหนมาไหนสะดวก ไม่มีกฎเกณฑ์บังคับต้องการไปเที่ยวกับเพื่อน ๆ อยู่ที่บ้าน สิ่งเหล่านี้มักจะตามมาเมื่อผู้ป่วยลาออกกลับบ้าน และการที่ผู้ป่วยจะเข้ารับการบำบัดรักษาต่อหรือไม่ก็ไม่ได้อยู่ที่ตัวผู้ป่วยอย่างเดียว ยังมีสิ่งแวดล้อมหลาย ๆ อย่างที่จำเป็น เช่น เจ้าหน้าที่ เพื่อน สถานที่ พ่อแม่ สิ่งต่าง ๆ เหล่านี้ก็เป็นสาเหตุที่ทำให้ผู้ป่วยปฎิเสธการเข้ารับการบำบัดรักษาในระยพฟื้นฟูมากขึ้น สามารถยือเวลาการใช้ยาเสพติดของผู้ป่วย และลดการกลับไปเสพซ้ำได้มากยิ่งขึ้นCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23293 รายงานการวิจัยเรื่องการปฎิเสธการเข้ารับการบำบัดรักษาในระยะฟื้นฟูสมรรถภาพของ : ผู้ป่วยใช้สารเสพติด ศูนย์บำบัดรักษายาเสพติด จังหวัดสงขลา [printed text] / สู่ไนหย๊ะ ยศดำ, Author ; จันจิรา รอดสงค์, Author . - [S.l.] : โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข, 2544 . - 48 แผ่น ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-774-021-4 : บริจาค.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การติดยาเสพติด -- แง่จิตวิทยา
[LCSH]การติดยาเสพติด -- แง่สังคม
[LCSH]ผู้ป่วย -- ยาเสพติด -- การบำบัดKeywords: การบำบัด.
ยาเสพติด.
สารเสพติด.Class number: WM270 ส819 2544 Abstract: การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ เพื่อศึกษาปัจจัยหรือเงื่อนไขของการไม่เข้ารับการฟื้นฟูสมรรถภาพของผู้ป่วยใช้สารเสพติดชาย โดยศึกษาในกลุ่มผู้ติดที่เข้าบำบัดรักษาในตึกถอนพิษยา 2 และตึกถอนพิษยาพิเศษ ของศูนย์บำบัดรักษายาเสพติดจังหวัดสงขลา ที่ได้ผ่านการรักษาขั้นถอนพิษยาครบ 21 วัน ผลการศึกษาพบว่า
ปัจจัยหรือเงื่อนไขที่เป็นสาเหตุของการปฎิเสธการเข้ารับการบำบัดรักษาในระยะฟื้นฟูสมรรถภาพของผู้ป่วยมี 4 ปัจจัย ด้วยกันคือ ปัจจัยจากเหตุผลของการตัดสินใจเข้ารับการบำบัดรักษา ซึ่งผู้ป่วยบางรายตัดสินใจเข้ามารับการบำบัดรักษาโดยต้องการให้พ่อ แม่สบายใจ หรือถูกพ่อแม่ และสถานศึกษาบังคับมา แต่บางรายมาโดยความสมัครใจรักษาปัจจัยต่อไปเป็นปัจจัยการดำเนินชีวิตระหว่างการบำบัดรักษาในตึกถอนพิษยา โดยผู้ป่วยต้องมีการปรับเปลี่ยนตัวเองทั้งในด้านร่างกาย ความเป็นอยู่ ความสัมพันธ์กับเพื่อนและเจ้าหน้าที่ ความรู้สึกต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้นระหว่างการรักษา ซึ่งถ้าไม่สามารถปรัีบเปลี่ยนตัวเองให้เป็นไปตามกฎระเบียบก็จะทำให้ผู้ป่วยลาออกกลับบ้านปฎิเสธที่จะรักษาต่อ ปัจจัยจากข้อมูลเกี่ยวกับการบำบัดรักษาในระยะฟื้นฟูสมรรถภาพ จึงทำให้ผู้ป่วยปฎิเสธการเข้ารับการบำบัดในระยะฟื้นฟูสมรรถภาพ และปัจจัยหลักคือ ความจำเป็นที่ต้องกลับไปดูแลครอบครัว และกลับไปเรียนหนังสือ สิ่งที่ผู้ป่วยกล่าวมาเป็นสาเหตุทำให้ผู้ป่วยลาออกกลับบ้าน ปฎิเสธที่จะรักษาในระยะฟื้นฟูสมรรถภาพ ซึ่งในบางครั้งปัจจัยเหล่านี้เป็นเพียงปัจจัยเล็ก ๆ แต่ผู้ป่วยต้องการอิสระ ไปไหนมาไหนสะดวก ไม่มีกฎเกณฑ์บังคับต้องการไปเที่ยวกับเพื่อน ๆ อยู่ที่บ้าน สิ่งเหล่านี้มักจะตามมาเมื่อผู้ป่วยลาออกกลับบ้าน และการที่ผู้ป่วยจะเข้ารับการบำบัดรักษาต่อหรือไม่ก็ไม่ได้อยู่ที่ตัวผู้ป่วยอย่างเดียว ยังมีสิ่งแวดล้อมหลาย ๆ อย่างที่จำเป็น เช่น เจ้าหน้าที่ เพื่อน สถานที่ พ่อแม่ สิ่งต่าง ๆ เหล่านี้ก็เป็นสาเหตุที่ทำให้ผู้ป่วยปฎิเสธการเข้ารับการบำบัดรักษาในระยพฟื้นฟูมากขึ้น สามารถยือเวลาการใช้ยาเสพติดของผู้ป่วย และลดการกลับไปเสพซ้ำได้มากยิ่งขึ้นCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23293 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354850 THE WM270 ส819 2544 Book Main Library General Shelf Available รายงานการวิจัียเรื่อง เงื่อนไขของการกลับไปเสพซ้ำของผู้ป่วยวัยรุ่นชายที่ใช้ยาเสพติด / กรวิภา บุญสอาด / โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข - 2544
Title : รายงานการวิจัียเรื่อง เงื่อนไขของการกลับไปเสพซ้ำของผู้ป่วยวัยรุ่นชายที่ใช้ยาเสพติด Material Type: printed text Authors: กรวิภา บุญสอาด, Author ; ปราณี ศิริภูธร, Author Publisher: โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข Publication Date: 2544 Pagination: ก-ค, 44 หน้า Layout: ตารางประกอบ Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-774-016-8 Price: บริจาค. Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ผู้ป่วย -- ยาเสพติด -- การบำบัด
[LCSH]พฤติกรรมการใช้สารเสพติด -- ไทย -- วัยรุ่นชาย
[LCSH]ยาเสพติดกับเยาวชนKeywords: ยาเสพติด.
การเสพซ้ำ.
วัยรุ่นชาย.Class number: HV5840 ก177 2544 Abstract: การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์ต้องการศึกษาเงื่อนไขของการกลับไปเสพซ้ำของผู้ป่วยวัยรุ่นชายที่ มีอายุ 15-25 ปี ใช้ยาเสพติดและความสัมพันธ์ภายในครอบครัว ฐาติ เพื่อน สังคมและสิ่งแวดล้อม กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยที่เข้ารับการบำบัดรักษายาเสพติดซ้ำในขั้นถอนพิษยาที่ศูนย์บำบัดรักษายาเสพติด ตึกสามัญ I สามัญ II และตึกพิเศศ จังหวัดขอนแก่น จำนวน 18 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึุก ใช้แบบสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง ร่วมกับการบันทึกเสียง วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหามาและหาความสัมพันธ์ของเเนื้อหา
ผลการวิจัยพบว่า ผู้ป่วยวัยรุ่นชายกลับไปเสพซ้ำ มีสาเหตุมาจากมีการติดในฤทธิ์ของยาเสพติด โดยให้เหตุผลว่าเสพแล้วสบายใจ ติดใจในรสชาด หลับสบาย เสพแล้วไม่ง่วง มีเวลาว่างการดำเนินชีวิตซึ่งส่วนใหญ่ยังคิดว่ายาเสพติดให้คุณและประโยชน์กับตนเองมาก และพบว่าความสัีมพันธ์ภายในครอบครัว ไม่มีส่วนผลักดันให้วัยรุ่นอยากเลิกเนื่องจากครอบครัวแตกแยกบิดา มารดา มีลูกใหม่ ไม่มีเวลาให้กับบุตร บิดา มารดาลำเอียง รักลูกไม่เท่ากัน น้อยใจ ขาดกำลังใจ บุคลิกภาพของ pt และความต้องการของผู้ป่วย จึงทำให้วัยรุ่นกลับไปเสพซ้ำ
Curricular : BALA/BNS/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23298 รายงานการวิจัียเรื่อง เงื่อนไขของการกลับไปเสพซ้ำของผู้ป่วยวัยรุ่นชายที่ใช้ยาเสพติด [printed text] / กรวิภา บุญสอาด, Author ; ปราณี ศิริภูธร, Author . - [S.l.] : โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข, 2544 . - ก-ค, 44 หน้า : ตารางประกอบ ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-774-016-8 : บริจาค.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ผู้ป่วย -- ยาเสพติด -- การบำบัด
[LCSH]พฤติกรรมการใช้สารเสพติด -- ไทย -- วัยรุ่นชาย
[LCSH]ยาเสพติดกับเยาวชนKeywords: ยาเสพติด.
การเสพซ้ำ.
วัยรุ่นชาย.Class number: HV5840 ก177 2544 Abstract: การศึกษาครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์ต้องการศึกษาเงื่อนไขของการกลับไปเสพซ้ำของผู้ป่วยวัยรุ่นชายที่ มีอายุ 15-25 ปี ใช้ยาเสพติดและความสัมพันธ์ภายในครอบครัว ฐาติ เพื่อน สังคมและสิ่งแวดล้อม กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยที่เข้ารับการบำบัดรักษายาเสพติดซ้ำในขั้นถอนพิษยาที่ศูนย์บำบัดรักษายาเสพติด ตึกสามัญ I สามัญ II และตึกพิเศศ จังหวัดขอนแก่น จำนวน 18 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึุก ใช้แบบสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง ร่วมกับการบันทึกเสียง วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหามาและหาความสัมพันธ์ของเเนื้อหา
ผลการวิจัยพบว่า ผู้ป่วยวัยรุ่นชายกลับไปเสพซ้ำ มีสาเหตุมาจากมีการติดในฤทธิ์ของยาเสพติด โดยให้เหตุผลว่าเสพแล้วสบายใจ ติดใจในรสชาด หลับสบาย เสพแล้วไม่ง่วง มีเวลาว่างการดำเนินชีวิตซึ่งส่วนใหญ่ยังคิดว่ายาเสพติดให้คุณและประโยชน์กับตนเองมาก และพบว่าความสัีมพันธ์ภายในครอบครัว ไม่มีส่วนผลักดันให้วัยรุ่นอยากเลิกเนื่องจากครอบครัวแตกแยกบิดา มารดา มีลูกใหม่ ไม่มีเวลาให้กับบุตร บิดา มารดาลำเอียง รักลูกไม่เท่ากัน น้อยใจ ขาดกำลังใจ บุคลิกภาพของ pt และความต้องการของผู้ป่วย จึงทำให้วัยรุ่นกลับไปเสพซ้ำ
Curricular : BALA/BNS/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23298 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000355220 THE HV5840 ก177 2544 Thesis Main Library Thesis Corner Available เหตุผลของการเปลี่ยนจาการเสพเฮดรอีนเป็นยาบ้าในผู้ป่วยเสพติด / วัชรี มีศิลป์ / โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข - 2544
Title : เหตุผลของการเปลี่ยนจาการเสพเฮดรอีนเป็นยาบ้าในผู้ป่วยเสพติด : รายงานการวิจัย Material Type: printed text Authors: วัชรี มีศิลป์, Author ; ลัดดา ขอบทอง, Author Publisher: โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข Publication Date: 2544 Pagination: ค, 51 แผ่น Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-773-998-4 Price: บริจาค Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ผู้ป่วย -- ยาเสพติด
[LCSH]ผู้ป่วย -- ยาเสพติด -- การบำบัด
[LCSH]ยาบ้า
[LCSH]เฮโรอีน
[LCSH]โรงพยาบาลธัญญารักษ์Keywords: เฮโรอีน.
ผู้ป่วย.
ยาบ้า.Class number: WM100 ว712 2544 Abstract: เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ เพื่อศึกษาการรับรู้เกี่ยวกับเฮโรอีน ยาบ้า และเหตุผลการเปลี่ยนจากการเสพเฮโรอีนมาเป็นยาบ้า โดยศึกษาในกลุ่มผู้ติดเสพติดที่เข้ารับการบำบัดรักษาในโรงพยาบาลธัญญารักษ์ด้วยการติดยาบ้า และมีประวัติการเสพติดเฮโรอีนมาก่อนจำนวนทั้งสิ้น 14 คน การเก็บข้อมูลเป็นการเก็บข้อมูลเชิงลึก ตั้งแต่วันที่ 18 เมษายน - 17 พฤษภาคม 2544 ผลการศึกษาพบว่า ผู้เสพติดรับรู้เกี่ยวกับเฮโรอีนใน 2 ลักษณะคือ รู้ประโยชน์ของเฮโรอีนว่าเป็นสารแห่งความสุข และลดความเจ็บป่วย และรู้เกี่ยวกับโทษของเฮโรอีนว่าทำให้สุขภาพทรุดโทรม มีความทุกข์ทรมานมากเมื่อขาดเฮดรอีน มีพฤติกรรมเปลี่ยนแปลงในทางลบ ทำลายอนาคต และมีความรู้สึกทางเพศลดลง ส่วนการรับรู้เกี่ยวกับยาบ้ามี 2 ลักษณะ เช่นกันคือ รับรู้เกี่ยวกับประโยชน์ของยาบ้าว่า เป็นสารกระตุ้นประสาทที่ทำให้ร่างกายกระชุ่มกระชวย กล้าคิดกล้าทำ เป็นยาที่ทดแืทนเฮโรอีน ลดความเจ็บป่วยทางกาย และทำให้มีความต้องการทางเพศมากขึ้น ส่วนโทษของยาบ้า พบว่าทำให้บุคลิกกภาพเปลี่ยนไปในทางลงคือ ก้าวร้าวและหยาบคายมากขึ้น สุขภาพเสื่อมโทรมจากการขาดสารอาหาร หรือรับประทานอาหารไม่เป็นเวลา
ส่วนเหตุผลของการหันมาเสพยาบ้า คือ ในระยะเริ่มต้นเสพเกิดจากคำแนะนำจากกลุ่มเพือ่น และต้องการทดลอง ในระยะต่อมาผู้เสพติดตัดสินใจเสพยาบ้าด้วยเหตุผลที่ว่าเฮโรอีนหายากและแพงกว่ายาบ้า สามารถทดแทนอาการขาดเฮโรอีนได้ มีความพึงพอมจต่อฤทธิ์ของยาบ้า หาซื้อได้ง่าย เลิกเสพง่าย ต้องการการยอมรับจากกลุ่มเพื่อนที่เสพติด จากสมาชิกในครอบครัวว่ายาบ้ามีความรุนแรงน้อยกว่าเฮโรอีน และการได้รับการกระตุ้นจากสื่อโฆษณาต่าง ๆ
ข้อเสนอแนะ ด้านการป้องกัน เนื่องจากยาบ้ามีการวางขายกันมาก แม้ในที่สาธารณะ เช่น ตลาดนัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรเข้าไปกวดขันในสถานที่ต่าง ๆ ให้มากขึ้น ให้ความรู้ที่ถูกต้องเกี่ยวกับยาบ้าแก่เยาวชน และประชาชนทั่วไป ด้านสื่อ ควรระมัดระวังในการให้ข้อมูลทางสื่อโฆษณาต่าง ๆ ให้มากขึ้นเนื่องจากการเสนอภาพยาบ้า หรือยาสเพติดในการจับกุมเอเยนต์ หรือผู้ขายอย่างชัดเจนเป็นการกระตุ้น หรือยั่วยุให้ผู้เสพติด หรือผู้เคยเสพมีความต้องการในการเสพได้ ในสถานบำบัดรักษายาเสพติดควรเน้นการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้เสพติดในทางบวก วิธีการที่ถูกต้องในการสร้างความสุขให้ตนเองและมีระบบการส่งต่อ รวมทั้งส่งเสริมสนับสนุนให้มีการอบรมหลักสูตรทางจิตเวชแก่บุคลากรต่าง ๆ เพิ่มขึ้นCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23264 เหตุผลของการเปลี่ยนจาการเสพเฮดรอีนเป็นยาบ้าในผู้ป่วยเสพติด : รายงานการวิจัย [printed text] / วัชรี มีศิลป์, Author ; ลัดดา ขอบทอง, Author . - [S.l.] : โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข, 2544 . - ค, 51 แผ่น ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-773-998-4 : บริจาค
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ผู้ป่วย -- ยาเสพติด
[LCSH]ผู้ป่วย -- ยาเสพติด -- การบำบัด
[LCSH]ยาบ้า
[LCSH]เฮโรอีน
[LCSH]โรงพยาบาลธัญญารักษ์Keywords: เฮโรอีน.
ผู้ป่วย.
ยาบ้า.Class number: WM100 ว712 2544 Abstract: เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ เพื่อศึกษาการรับรู้เกี่ยวกับเฮโรอีน ยาบ้า และเหตุผลการเปลี่ยนจากการเสพเฮโรอีนมาเป็นยาบ้า โดยศึกษาในกลุ่มผู้ติดเสพติดที่เข้ารับการบำบัดรักษาในโรงพยาบาลธัญญารักษ์ด้วยการติดยาบ้า และมีประวัติการเสพติดเฮโรอีนมาก่อนจำนวนทั้งสิ้น 14 คน การเก็บข้อมูลเป็นการเก็บข้อมูลเชิงลึก ตั้งแต่วันที่ 18 เมษายน - 17 พฤษภาคม 2544 ผลการศึกษาพบว่า ผู้เสพติดรับรู้เกี่ยวกับเฮโรอีนใน 2 ลักษณะคือ รู้ประโยชน์ของเฮโรอีนว่าเป็นสารแห่งความสุข และลดความเจ็บป่วย และรู้เกี่ยวกับโทษของเฮโรอีนว่าทำให้สุขภาพทรุดโทรม มีความทุกข์ทรมานมากเมื่อขาดเฮดรอีน มีพฤติกรรมเปลี่ยนแปลงในทางลบ ทำลายอนาคต และมีความรู้สึกทางเพศลดลง ส่วนการรับรู้เกี่ยวกับยาบ้ามี 2 ลักษณะ เช่นกันคือ รับรู้เกี่ยวกับประโยชน์ของยาบ้าว่า เป็นสารกระตุ้นประสาทที่ทำให้ร่างกายกระชุ่มกระชวย กล้าคิดกล้าทำ เป็นยาที่ทดแืทนเฮโรอีน ลดความเจ็บป่วยทางกาย และทำให้มีความต้องการทางเพศมากขึ้น ส่วนโทษของยาบ้า พบว่าทำให้บุคลิกกภาพเปลี่ยนไปในทางลงคือ ก้าวร้าวและหยาบคายมากขึ้น สุขภาพเสื่อมโทรมจากการขาดสารอาหาร หรือรับประทานอาหารไม่เป็นเวลา
ส่วนเหตุผลของการหันมาเสพยาบ้า คือ ในระยะเริ่มต้นเสพเกิดจากคำแนะนำจากกลุ่มเพือ่น และต้องการทดลอง ในระยะต่อมาผู้เสพติดตัดสินใจเสพยาบ้าด้วยเหตุผลที่ว่าเฮโรอีนหายากและแพงกว่ายาบ้า สามารถทดแทนอาการขาดเฮโรอีนได้ มีความพึงพอมจต่อฤทธิ์ของยาบ้า หาซื้อได้ง่าย เลิกเสพง่าย ต้องการการยอมรับจากกลุ่มเพื่อนที่เสพติด จากสมาชิกในครอบครัวว่ายาบ้ามีความรุนแรงน้อยกว่าเฮโรอีน และการได้รับการกระตุ้นจากสื่อโฆษณาต่าง ๆ
ข้อเสนอแนะ ด้านการป้องกัน เนื่องจากยาบ้ามีการวางขายกันมาก แม้ในที่สาธารณะ เช่น ตลาดนัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรเข้าไปกวดขันในสถานที่ต่าง ๆ ให้มากขึ้น ให้ความรู้ที่ถูกต้องเกี่ยวกับยาบ้าแก่เยาวชน และประชาชนทั่วไป ด้านสื่อ ควรระมัดระวังในการให้ข้อมูลทางสื่อโฆษณาต่าง ๆ ให้มากขึ้นเนื่องจากการเสนอภาพยาบ้า หรือยาสเพติดในการจับกุมเอเยนต์ หรือผู้ขายอย่างชัดเจนเป็นการกระตุ้น หรือยั่วยุให้ผู้เสพติด หรือผู้เคยเสพมีความต้องการในการเสพได้ ในสถานบำบัดรักษายาเสพติดควรเน้นการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้เสพติดในทางบวก วิธีการที่ถูกต้องในการสร้างความสุขให้ตนเองและมีระบบการส่งต่อ รวมทั้งส่งเสริมสนับสนุนให้มีการอบรมหลักสูตรทางจิตเวชแก่บุคลากรต่าง ๆ เพิ่มขึ้นCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23264 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000355170 THE WM100 ว712 2544 Thesis Main Library Thesis Corner Available