From this page you can:
Home |
Descriptors
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sources
SIU IS-T. ปัจจัยที่มีผลต่อความผูกพันองค์การของข้าราชการตำรวจในสังกัด กองกำกับการ 2 กองบังคับการปราบปรามการกระทำความผิดเกี่ยวกับ อาชญากรรมทางเศรษฐกิจ / มุขดา ปะนิทานะโต / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU IS-T Title : ปัจจัยที่มีผลต่อความผูกพันองค์การของข้าราชการตำรวจในสังกัด กองกำกับการ 2 กองบังคับการปราบปรามการกระทำความผิดเกี่ยวกับ อาชญากรรมทางเศรษฐกิจ Original title : Factors Affecting the Organizational Commitment of Police under Division 2 Economic Crime Suppression Division Material Type: printed text Authors: มุขดา ปะนิทานะโต, Author ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name ; วรเดช จันทรศร, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: viii, 86 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-18
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]กองบังคับการปราบปรามการกระทําความผิดเกี่ยวกับอาชญากรรมทางเศรษฐกิจ -- ข้าราชการตำรวจ
[LCSH]ความผูกพันต่อองค์การKeywords: ความผูกพัน Abstract: การศึกษางานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาปัจจัยส่วนบุคคลที่มีผลต่อความผูกพันองค์การ 2) ศึกษาระดับความผูกพันต่อองค์การจำแนกตามปัจจัยลักษณะงาน ประกอบด้วย สภาพแวดล้อมภายในและสภาพแวดล้อมภายนอก การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ รวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถามจากข้าราชการตำรวจในสังกัดกองกำกับการ 2 กองบังคับการปราบปรามการกระทำความผิดเกี่ยวกับอาชญากรรมทางเศรษฐกิจ จำนวน 65 คน ใช้วิธีการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ ได้แก่ ค่าความถี่ร้อยละ ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยระหว่างกลุ่ม 2 กลุ่ม ด้วย t-test การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยรายคู่ด้วยวิธี LSD
ผลการศึกษาพบว่า 1) ปัจจัยลักษณะงานโดยรวมส่งผลต่อความผูกพันต่อองค์การในระดับมาก ด้านสภาพแวดล้อมภายในส่งผลในระดับมาก เรียงจากมากไปน้อย ได้แก่ ด้านเพื่อนร่วมงาน ด้านผู้บังคับบัญชา และด้านสวัสดิการ ตามลำดับ ด้านสภาพแวดล้อมภายนอกส่งผลในระดับมาก เรียงจากมากไปน้อย ได้แก่ ด้านแรงจูงใจภายนอก ด้านสภาพแวดล้อมในการทำงาน และด้านสถานที่ปฏิบัติงานตามลำดับ
2) อายุที่แตกต่างกัน ส่งผลให้ระดับความผูกพันต่อองค์การโดยรวมปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมภายนอกและด้านสภาพแวดล้อมในการทำงานแตกต่างกัน 3) ระดับการศึกษาที่แตกต่างกัน ส่งผลให้ระดับความผูกพันต่อองค์การด้านสภาพแวดล้อมภายใน ด้านผู้บังคับบัญชาและด้านสภาพแวดล้อมในการทำงานแตกต่างกัน และ 4) ชั้นยศที่แตกต่างกัน ส่งผลให้ระดับความผูกพันต่อองค์การด้านสภาพแวดล้อมภายในและด้านผู้บังคับบัญชาแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26528 SIU IS-T. ปัจจัยที่มีผลต่อความผูกพันองค์การของข้าราชการตำรวจในสังกัด กองกำกับการ 2 กองบังคับการปราบปรามการกระทำความผิดเกี่ยวกับ อาชญากรรมทางเศรษฐกิจ = Factors Affecting the Organizational Commitment of Police under Division 2 Economic Crime Suppression Division [printed text] / มุขดา ปะนิทานะโต, Author ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name ; วรเดช จันทรศร, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - viii, 86 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-18
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]กองบังคับการปราบปรามการกระทําความผิดเกี่ยวกับอาชญากรรมทางเศรษฐกิจ -- ข้าราชการตำรวจ
[LCSH]ความผูกพันต่อองค์การKeywords: ความผูกพัน Abstract: การศึกษางานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาปัจจัยส่วนบุคคลที่มีผลต่อความผูกพันองค์การ 2) ศึกษาระดับความผูกพันต่อองค์การจำแนกตามปัจจัยลักษณะงาน ประกอบด้วย สภาพแวดล้อมภายในและสภาพแวดล้อมภายนอก การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ รวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถามจากข้าราชการตำรวจในสังกัดกองกำกับการ 2 กองบังคับการปราบปรามการกระทำความผิดเกี่ยวกับอาชญากรรมทางเศรษฐกิจ จำนวน 65 คน ใช้วิธีการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ ได้แก่ ค่าความถี่ร้อยละ ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยระหว่างกลุ่ม 2 กลุ่ม ด้วย t-test การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยรายคู่ด้วยวิธี LSD
ผลการศึกษาพบว่า 1) ปัจจัยลักษณะงานโดยรวมส่งผลต่อความผูกพันต่อองค์การในระดับมาก ด้านสภาพแวดล้อมภายในส่งผลในระดับมาก เรียงจากมากไปน้อย ได้แก่ ด้านเพื่อนร่วมงาน ด้านผู้บังคับบัญชา และด้านสวัสดิการ ตามลำดับ ด้านสภาพแวดล้อมภายนอกส่งผลในระดับมาก เรียงจากมากไปน้อย ได้แก่ ด้านแรงจูงใจภายนอก ด้านสภาพแวดล้อมในการทำงาน และด้านสถานที่ปฏิบัติงานตามลำดับ
2) อายุที่แตกต่างกัน ส่งผลให้ระดับความผูกพันต่อองค์การโดยรวมปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมภายนอกและด้านสภาพแวดล้อมในการทำงานแตกต่างกัน 3) ระดับการศึกษาที่แตกต่างกัน ส่งผลให้ระดับความผูกพันต่อองค์การด้านสภาพแวดล้อมภายใน ด้านผู้บังคับบัญชาและด้านสภาพแวดล้อมในการทำงานแตกต่างกัน และ 4) ชั้นยศที่แตกต่างกัน ส่งผลให้ระดับความผูกพันต่อองค์การด้านสภาพแวดล้อมภายในและด้านผู้บังคับบัญชาแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26528 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000591717 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-18 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000591725 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-18 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ปัจจัยที่มีผลต่อความผูกพันในการปฏิบัติงานของบุคลากร องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี / พรรณิรัตน์ จิตนุ่ม / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2014
Collection Title: SIU IS-T Title : ปัจจัยที่มีผลต่อความผูกพันในการปฏิบัติงานของบุคลากร องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี Original title : Factors Affecting Commitment in Personnel Performance in Surat Thani Provincial Administrative Organization Material Type: printed text Authors: พรรณิรัตน์ จิตนุ่ม, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; สมพร เพชรสงค์, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2014 Pagination: ix, 74 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-30
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ความผูกพันต่อองค์การ
[LCSH]องค์การบริหารส่วนจังหวัด -- สุราษฎร์ธานี
[LCSH]เจ้าหน้าที่ -- การปฏิบัติงานKeywords: ความผูกพันในการปฏิบัติงาน Abstract: การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับปัจจัยที่มีผลต่อความผูกพันในการปฏิบัติงานเปรียบเทียบระดับปัจจัยที่มีผลต่อความผูกพันในการปฏิบัติงาน จำแนกตามสถานภาพส่วนบุคลและศึกษาปัญหา ข้อเสนอแนะ และแนวทางการสร้างความผูกพันต่อองค์กรของบุคลากร องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี โดยใช้แบบสอบถามเก็บรวบรวมข้อมูลจากข้าราชการลูกจ้างและพนักงานจ้าง สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี จำนวน 167 คน Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26482 SIU IS-T. ปัจจัยที่มีผลต่อความผูกพันในการปฏิบัติงานของบุคลากร องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี = Factors Affecting Commitment in Personnel Performance in Surat Thani Provincial Administrative Organization [printed text] / พรรณิรัตน์ จิตนุ่ม, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; สมพร เพชรสงค์, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014 . - ix, 74 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-30
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ความผูกพันต่อองค์การ
[LCSH]องค์การบริหารส่วนจังหวัด -- สุราษฎร์ธานี
[LCSH]เจ้าหน้าที่ -- การปฏิบัติงานKeywords: ความผูกพันในการปฏิบัติงาน Abstract: การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับปัจจัยที่มีผลต่อความผูกพันในการปฏิบัติงานเปรียบเทียบระดับปัจจัยที่มีผลต่อความผูกพันในการปฏิบัติงาน จำแนกตามสถานภาพส่วนบุคลและศึกษาปัญหา ข้อเสนอแนะ และแนวทางการสร้างความผูกพันต่อองค์กรของบุคลากร องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี โดยใช้แบบสอบถามเก็บรวบรวมข้อมูลจากข้าราชการลูกจ้างและพนักงานจ้าง สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี จำนวน 167 คน Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26482 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000591519 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-30 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000591527 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-30 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available ความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถในการเผชิญและฟันฝ่าอุปสรรค ความผูกพันในวิชาชีพกับความสำเร็จในวิชาชีพของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลสังกัดกรมการแพทย์ เขตกรุงเทพมหานคร / พัฒราภรณ์ กล้าหาญ / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2550
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถในการเผชิญและฟันฝ่าอุปสรรค ความผูกพันในวิชาชีพกับความสำเร็จในวิชาชีพของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลสังกัดกรมการแพทย์ เขตกรุงเทพมหานคร Original title : Relationships between adversity quotient, career commitment, and career success of staff nurses, hospitals under the jurisdiction of the department of medical services, Bangkok Metropolis Material Type: printed text Authors: พัฒราภรณ์ กล้าหาญ, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2550 Pagination: ก-ฎ,131 แผ่น Layout: ตารางประกอบ Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]]-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2550. Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ความผูกพันต่อองค์การ
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพ
[LCSH]โรงพยาบาลสังกัดกรมการแพทย์Keywords: อุปสรรค.
ความผูกพันในวิิชาชีพ.
พยาบาลวิชาชีพ.Class number: WY100 พ631 2550 Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถในการเผชิญและฟันฝ่าอุปสรรค ความผูกพันในวิชาชีพกับความสำเร็จในวิชาชีพของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลสังกัดกรมการแพทย์ กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลประจำการที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลสังกัดกรมการแพทย์ เขตกรุงเทพมหานครจำนวน 368 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบประเมินความสามารถในการเผชิญและฟันฝ่าอุปสรรค แบบสอบถามความผูกพันในวิชาชีพและแบบสอบถามความสำเร็จในวิชาชีพ วิเคราะห์หาค่าความเที่ยงของแบบสอบถาม โดยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาคได้. 80, .95 และ.85 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สันและค่าสัมประสิทธิ์ถดถอย ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ความสำเร็จในวิชาชีพและความผูกพันในวิชาชีพของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลสังกัดกรมการแพทย์ เขตกรุงเทพมหานครอยู่ในระดับสูง ( X = 3. 52, SD = .49 และ X = 3. 94, SD = .53 ตามลำดับ ) 2. ความสามารถในการเผชิญและฟันฝ่าอุปสรรคของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลสังกัดกรมการแพทย์ เขตกรุงเทพมหานครอยู่ในอยู่ในระดับปานกลาง ( X= 131. 25, SD = 13.44) 3. ความผูกพันในวิชาชีพ และความสามารถในการเผชิญและฟันฝ่าอุปสรรคมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความสำเร็จในวิชาชีพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ( r =.46 และ .14 ตามลำดับ ) 4. ความผูกพันในวิชาชีพสามารถพยากรณ์ความสำเร็จในวิชาชีพของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลสังกัดกรมการแพทย์ เขตกรุงเทพมหานครได้ร้อยละ 20.7(R2= .207) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สร้างสมการในรูปคะแนนมาตรฐานได้ดังนี้ ความสำเร็จในวิชาชีพ = 0.455 ความผูกพันในวิชาชีพ Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23220 ความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถในการเผชิญและฟันฝ่าอุปสรรค ความผูกพันในวิชาชีพกับความสำเร็จในวิชาชีพของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลสังกัดกรมการแพทย์ เขตกรุงเทพมหานคร = Relationships between adversity quotient, career commitment, and career success of staff nurses, hospitals under the jurisdiction of the department of medical services, Bangkok Metropolis [printed text] / พัฒราภรณ์ กล้าหาญ, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550 . - ก-ฎ,131 แผ่น : ตารางประกอบ ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]]-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2550.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ความผูกพันต่อองค์การ
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพ
[LCSH]โรงพยาบาลสังกัดกรมการแพทย์Keywords: อุปสรรค.
ความผูกพันในวิิชาชีพ.
พยาบาลวิชาชีพ.Class number: WY100 พ631 2550 Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถในการเผชิญและฟันฝ่าอุปสรรค ความผูกพันในวิชาชีพกับความสำเร็จในวิชาชีพของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลสังกัดกรมการแพทย์ กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลประจำการที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลสังกัดกรมการแพทย์ เขตกรุงเทพมหานครจำนวน 368 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบประเมินความสามารถในการเผชิญและฟันฝ่าอุปสรรค แบบสอบถามความผูกพันในวิชาชีพและแบบสอบถามความสำเร็จในวิชาชีพ วิเคราะห์หาค่าความเที่ยงของแบบสอบถาม โดยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาคได้. 80, .95 และ.85 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สันและค่าสัมประสิทธิ์ถดถอย ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ความสำเร็จในวิชาชีพและความผูกพันในวิชาชีพของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลสังกัดกรมการแพทย์ เขตกรุงเทพมหานครอยู่ในระดับสูง ( X = 3. 52, SD = .49 และ X = 3. 94, SD = .53 ตามลำดับ ) 2. ความสามารถในการเผชิญและฟันฝ่าอุปสรรคของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลสังกัดกรมการแพทย์ เขตกรุงเทพมหานครอยู่ในอยู่ในระดับปานกลาง ( X= 131. 25, SD = 13.44) 3. ความผูกพันในวิชาชีพ และความสามารถในการเผชิญและฟันฝ่าอุปสรรคมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความสำเร็จในวิชาชีพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ( r =.46 และ .14 ตามลำดับ ) 4. ความผูกพันในวิชาชีพสามารถพยากรณ์ความสำเร็จในวิชาชีพของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลสังกัดกรมการแพทย์ เขตกรุงเทพมหานครได้ร้อยละ 20.7(R2= .207) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สร้างสมการในรูปคะแนนมาตรฐานได้ดังนี้ ความสำเร็จในวิชาชีพ = 0.455 ความผูกพันในวิชาชีพ Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23220 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354926 WY100 พ631 2550 Thesis Main Library Thesis Corner Available ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ความผูกพันต่อองค์การ การมีส่วนร่วมในงานของบุคลากร กับคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร / ขนิษฐา ไตรย์ปักษ์ / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2548
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ความผูกพันต่อองค์การ การมีส่วนร่วมในงานของบุคลากร กับคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร Original title : Relationships between personal factors, organizational commitment, employee involvement, and quality of work life of staff nurses in hospitals under the jurisdiction of the Department of Medical Services, Bangkok Metropolitan Adminstration Material Type: printed text Authors: ขนิษฐา ไตรย์ปักษ์, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2548 Pagination: ก-ฎ, 131 แผ่น Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-173-515-4 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม. [การบริหารการพยาบาล]] - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2548 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ความผูกพันต่อองค์การ
[LCSH]คุณภาพชีวิตการทำงาน
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพ
[LCSH]โรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์Keywords: องค์การ.
พยาบาลวิชาชีพ.
คุณภาพชีวิต.Class number: WY125 ข158 2548 Abstract: ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ความผูกพันต่อองค์การ การมีส่วนร่วมในงานของบุคลากร กับคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำการ และปัจจัยที่สามารถร่วมกันพยากรณ์คุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำการ กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร จำนวน 403 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เป็นแบบสอบถามประกอบด้วยแบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามความผูกพันต่อองค์การ แบบสอบถามการมีส่วนร่วมในงานของบุคลากร และแบบสอบถามคุณภาพชีวิตการทำงาน ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา และหาค่าความเที่ยงของเครื่องมือโดยใช้สูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบราคได้ค่าเท่ากับ .87, .92 และ .89 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติการแจกแจงความถี่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์การจรณ์ ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียรสัน และวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. คุณภาพชีวิตการทำงาน การมีส่วนร่วมในงานของบุคลากรของพยาบาลประจำการ อยู่ในระดับสูงและความผูกพันต่อองค์การของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลสังกัดสำนักแพทย์ กรุงเทพมหานคร อยู่ในระดับปานกลาง 2. ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ ระดับการศึกษาและประสบการณ์การปฏิบัติงาน ไม่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำ 3. ความผูกพันต่อองค์การ มีความสัมพันธ์ทางบวกกับคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำการ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = 0.67 ) 4. การมีส่วนร่วมในงานของบุคลากร มีความสัมพันธ์ทางบวกกับคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำการ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ( r = 0.75) 5. ตัวแปรที่ร่วมกันพยากรณ์คุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำการ ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 คือ การมีส่วนร่วมในงานของบุคลากรและความผูกพันต่อองค์การ โดยสามารถร่วมกันพยากรณ์คุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำการได้ 61.5% (R[superscript 2] = .615) สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนมาตรฐานมีดังนี้ คุณภาพชีวิตการทำงาน = 0.549 การมีส่วนร่วมในงานของบุคลากร + 0.303 ความผูกพันต่อองค์การ Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23136 ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ความผูกพันต่อองค์การ การมีส่วนร่วมในงานของบุคลากร กับคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร = Relationships between personal factors, organizational commitment, employee involvement, and quality of work life of staff nurses in hospitals under the jurisdiction of the Department of Medical Services, Bangkok Metropolitan Adminstration [printed text] / ขนิษฐา ไตรย์ปักษ์, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548 . - ก-ฎ, 131 แผ่น : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-173-515-4 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม. [การบริหารการพยาบาล]] - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2548
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ความผูกพันต่อองค์การ
[LCSH]คุณภาพชีวิตการทำงาน
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพ
[LCSH]โรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์Keywords: องค์การ.
พยาบาลวิชาชีพ.
คุณภาพชีวิต.Class number: WY125 ข158 2548 Abstract: ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ความผูกพันต่อองค์การ การมีส่วนร่วมในงานของบุคลากร กับคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำการ และปัจจัยที่สามารถร่วมกันพยากรณ์คุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำการ กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลสังกัดสำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร จำนวน 403 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เป็นแบบสอบถามประกอบด้วยแบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามความผูกพันต่อองค์การ แบบสอบถามการมีส่วนร่วมในงานของบุคลากร และแบบสอบถามคุณภาพชีวิตการทำงาน ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา และหาค่าความเที่ยงของเครื่องมือโดยใช้สูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบราคได้ค่าเท่ากับ .87, .92 และ .89 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติการแจกแจงความถี่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์การจรณ์ ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียรสัน และวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. คุณภาพชีวิตการทำงาน การมีส่วนร่วมในงานของบุคลากรของพยาบาลประจำการ อยู่ในระดับสูงและความผูกพันต่อองค์การของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลสังกัดสำนักแพทย์ กรุงเทพมหานคร อยู่ในระดับปานกลาง 2. ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ ระดับการศึกษาและประสบการณ์การปฏิบัติงาน ไม่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำ 3. ความผูกพันต่อองค์การ มีความสัมพันธ์ทางบวกกับคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำการ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = 0.67 ) 4. การมีส่วนร่วมในงานของบุคลากร มีความสัมพันธ์ทางบวกกับคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำการ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ( r = 0.75) 5. ตัวแปรที่ร่วมกันพยากรณ์คุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำการ ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 คือ การมีส่วนร่วมในงานของบุคลากรและความผูกพันต่อองค์การ โดยสามารถร่วมกันพยากรณ์คุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลประจำการได้ 61.5% (R[superscript 2] = .615) สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนมาตรฐานมีดังนี้ คุณภาพชีวิตการทำงาน = 0.549 การมีส่วนร่วมในงานของบุคลากร + 0.303 ความผูกพันต่อองค์การ Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23136 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354439 WY125 ข158 2548 Thesis Main Library Thesis Corner Available ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล พลังวิชาชีพพยาบาล ความเชื่ออำนาจภายในตนกับความผูกพันในวิชาชีพของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลทั่วไป / สุนีย์รัตน์ บุญศิลป์, / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2546
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล พลังวิชาชีพพยาบาล ความเชื่ออำนาจภายในตนกับความผูกพันในวิชาชีพของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลทั่วไป Original title : Relationships between personal factors, nursing career vitality, internal locus of control, and career commitment of professional nurses, general hospitals Material Type: printed text Authors: สุนีย์รัตน์ บุญศิลป์, (2520-), Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2546 Pagination: ก-ฎ, 98 แผ่น Layout: ตาราง Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-174-443-9 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม. การบริหารการพยาบาล]]. --จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2546 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ความผูกพันต่อองค์การ
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพ
[LCSH]วิชาชีพพยาบาล -- ทัศนคติKeywords: พยาบาลวืชาชีพ.
วิืชาชีพพยาบาล.
ความผูกพัน.Class number: WY100 ส845 2546 Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล พลังวิชาชีพพยาบาล ความเชื่ออำนาจภายในตน กับความผูกพันในวิชาชีพของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลทั่วไป กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลทั่วไปจำนวน 389 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามจำนวน 1 ชุด แบ่งเป็น 4 ตอน คือ แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามพลังวิชาชีพพยาบาล แบบสอบถามความเชื่ออำนาจภายในตนและแบบสอบถามความผูกพันในวิชาชีพ ตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาและหาค่าความเที่ยงของแบบสอบถามโดยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาคได้ .83, .86 และ .85 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การแจกแจงความถี่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์การจรณ์ และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ความผูกพันในวิชาชีพของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลทั่วไปอยู่ในระดับมาก ([Mean] = 3.71 S.D. = .43) 2. พลังวิชาชีพพยาบาลและความเชื่ออำนาจภายในตนของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลทั่วไปอยู่ในระดับมาก ([Mean] = 3.53 S.D. = .40, [Mean] = 3.95 S.D. = .37 ตามลำดับ) 3. ปัจจัยส่วนบุคคลได้แก่ อายุและประสบการณ์การทำงานมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความผูกพันในวิชาชีพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05 (r = .13 และ .12 ตามลำดับ) แต่ระดับการศึกษาและสถานภาพสมรสไม่มีความสัมพันธ์กับความผูกพันในวิชาชีพของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลทั่วไป 4. พลังวิชาชีพพยาบาล และความเชื่ออำนาจภายในตนมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความผูกพันในวิชาชีพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = .50 และ .61 ตามลำดับ) Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23173 ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล พลังวิชาชีพพยาบาล ความเชื่ออำนาจภายในตนกับความผูกพันในวิชาชีพของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลทั่วไป = Relationships between personal factors, nursing career vitality, internal locus of control, and career commitment of professional nurses, general hospitals [printed text] / สุนีย์รัตน์ บุญศิลป์, (2520-), Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546 . - ก-ฎ, 98 แผ่น : ตาราง ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-174-443-9 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม. การบริหารการพยาบาล]]. --จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2546
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ความผูกพันต่อองค์การ
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพ
[LCSH]วิชาชีพพยาบาล -- ทัศนคติKeywords: พยาบาลวืชาชีพ.
วิืชาชีพพยาบาล.
ความผูกพัน.Class number: WY100 ส845 2546 Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล พลังวิชาชีพพยาบาล ความเชื่ออำนาจภายในตน กับความผูกพันในวิชาชีพของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลทั่วไป กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลทั่วไปจำนวน 389 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามจำนวน 1 ชุด แบ่งเป็น 4 ตอน คือ แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามพลังวิชาชีพพยาบาล แบบสอบถามความเชื่ออำนาจภายในตนและแบบสอบถามความผูกพันในวิชาชีพ ตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาและหาค่าความเที่ยงของแบบสอบถามโดยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาคได้ .83, .86 และ .85 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การแจกแจงความถี่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์การจรณ์ และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ความผูกพันในวิชาชีพของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลทั่วไปอยู่ในระดับมาก ([Mean] = 3.71 S.D. = .43) 2. พลังวิชาชีพพยาบาลและความเชื่ออำนาจภายในตนของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลทั่วไปอยู่ในระดับมาก ([Mean] = 3.53 S.D. = .40, [Mean] = 3.95 S.D. = .37 ตามลำดับ) 3. ปัจจัยส่วนบุคคลได้แก่ อายุและประสบการณ์การทำงานมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความผูกพันในวิชาชีพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05 (r = .13 และ .12 ตามลำดับ) แต่ระดับการศึกษาและสถานภาพสมรสไม่มีความสัมพันธ์กับความผูกพันในวิชาชีพของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลทั่วไป 4. พลังวิชาชีพพยาบาล และความเชื่ออำนาจภายในตนมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความผูกพันในวิชาชีพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = .50 และ .61 ตามลำดับ) Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23173 ความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมเชิงสร้างสรรค์ ความไว้วางใจในองค์การกับผลการดำเนินงานของกลุ่มงานการพยาบาล ตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลศูนย์ที่ผ่านการประเมินและรับรองคุณภาพโรงพยาบ่าล / อารีย์ คำนวนศักดิ์ / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2545
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมเชิงสร้างสรรค์ ความไว้วางใจในองค์การกับผลการดำเนินงานของกลุ่มงานการพยาบาล ตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลศูนย์ที่ผ่านการประเมินและรับรองคุณภาพโรงพยาบ่าล Original title : Relationships between constructive culture organizational trust and performance of nursing department as recieved by professional nurse at accredited regional hospitals and medical centers Material Type: printed text Authors: อารีย์ คำนวนศักดิ์, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2545 Pagination: ก-ญ, 124 แผ่น Layout: ตารางประกอบ Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-179-810-5 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์. (พย. ม (การบริการการพยาบาล)).-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารคุณภาพโดยรวม
[LCSH]ความผูกพันต่อองค์การ
[LCSH]พยาบาลประจำการ
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพ
[LCSH]วัฒนธรรมองค์การ
[LCSH]โรงพยาบาล -- การรับรองคุณภาพKeywords: พยาบาลวิชาชีพ
ความผูกผันต่อองค์การ.
การบริหารคุณภาพโดยรวม.Class number: WY125 อ927 2545 Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับผลการดำเนินงานของกลุ่มพยาบาล ความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมเชิงสร้างสรรค์ ความไว้วางใจองค์การ กับผลการดำเนินงานของกลุ่มงานการพยาบาลตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลศูนย์ที่ผ่านการประเิมินและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลกลุ่มตัวอย่าง คือ พยาบาลประจำการจำนวน 287 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งขั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบสอบถามวัฒนธรรมเชิงสร้างสรรค์ของกลุ่มงานการพยาบาล แบบสอบถามความไว้วางใจในองค์การและแบบสอบถามผลการดำเนินงานของกลุ่มงานการพยาบาล ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาและวิเคราะห์ค่าความเที่ยงของแบบสอบถามเท่ากับ .092 .94 และ.96 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติวิเคราะห์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัีน และการวิเคราะห์ถดถอยแบบเข้าทีละตัว
ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
1. ค่าเฉลี่ยผลการดำเนินงานของกลุ่มงานการพยาบาลโรงพยาบาลศูนย์ที่ผ่านการประเมินและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลอยู่ในระดับสูง (ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.91)
2. ความไว้วางใจในองค์การมีความสัมพันธ์ทางบวกกับผลการดำเนินงานของกลุ่มงานการพยาบาลโรงพยาบาลศูนย์ที่ผ่านการประเิมินและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลอยู่ในระดับปานกลาง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r=.625 p<.01)
3. วัฒนธรรมเชิงสร้่างสรรค์มีความสัมพนะ์ทางบวกกับผลการดำเนินงานของกลุ่มการพยาบาลโรงพยาบาลศูนย์ที่ผ่านการประเมินและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลอยู่ในระดับปานกลาง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r=.606 p<.01)
4. ตัวแปรที่สามารถพยากรณ์ผลการดำเนินงานของกลุ่มงานการพยาบาลโรงพยาบาลศูนย์ที่ผ่านการประเมินและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลได้แก่ ความไว้วางใจองค์การ และวัฒนธรรมเชิงสร้างสรรค์ซึ่งสมารถร่วมกันพยากรณ์ ผลการดำเนินงานของกลุ่มงานการพยาบาลได้ร้อยละ 43.50 (R ยกกำลังสอง = .435 p<.05) โดยสมการพยากรณ์ผลการดำเนินงานของกลุ่มงานการพยาบาลในรูปคะแนนมาตรฐานCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23363 ความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมเชิงสร้างสรรค์ ความไว้วางใจในองค์การกับผลการดำเนินงานของกลุ่มงานการพยาบาล ตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลศูนย์ที่ผ่านการประเมินและรับรองคุณภาพโรงพยาบ่าล = Relationships between constructive culture organizational trust and performance of nursing department as recieved by professional nurse at accredited regional hospitals and medical centers [printed text] / อารีย์ คำนวนศักดิ์, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545 . - ก-ญ, 124 แผ่น : ตารางประกอบ ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-179-810-5 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์. (พย. ม (การบริการการพยาบาล)).-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารคุณภาพโดยรวม
[LCSH]ความผูกพันต่อองค์การ
[LCSH]พยาบาลประจำการ
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพ
[LCSH]วัฒนธรรมองค์การ
[LCSH]โรงพยาบาล -- การรับรองคุณภาพKeywords: พยาบาลวิชาชีพ
ความผูกผันต่อองค์การ.
การบริหารคุณภาพโดยรวม.Class number: WY125 อ927 2545 Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับผลการดำเนินงานของกลุ่มพยาบาล ความสัมพันธ์ระหว่างวัฒนธรรมเชิงสร้างสรรค์ ความไว้วางใจองค์การ กับผลการดำเนินงานของกลุ่มงานการพยาบาลตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลศูนย์ที่ผ่านการประเิมินและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลกลุ่มตัวอย่าง คือ พยาบาลประจำการจำนวน 287 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งขั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบสอบถามวัฒนธรรมเชิงสร้างสรรค์ของกลุ่มงานการพยาบาล แบบสอบถามความไว้วางใจในองค์การและแบบสอบถามผลการดำเนินงานของกลุ่มงานการพยาบาล ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาและวิเคราะห์ค่าความเที่ยงของแบบสอบถามเท่ากับ .092 .94 และ.96 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติวิเคราะห์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัีน และการวิเคราะห์ถดถอยแบบเข้าทีละตัว
ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
1. ค่าเฉลี่ยผลการดำเนินงานของกลุ่มงานการพยาบาลโรงพยาบาลศูนย์ที่ผ่านการประเมินและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลอยู่ในระดับสูง (ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.91)
2. ความไว้วางใจในองค์การมีความสัมพันธ์ทางบวกกับผลการดำเนินงานของกลุ่มงานการพยาบาลโรงพยาบาลศูนย์ที่ผ่านการประเิมินและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลอยู่ในระดับปานกลาง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r=.625 p<.01)
3. วัฒนธรรมเชิงสร้่างสรรค์มีความสัมพนะ์ทางบวกกับผลการดำเนินงานของกลุ่มการพยาบาลโรงพยาบาลศูนย์ที่ผ่านการประเมินและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลอยู่ในระดับปานกลาง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (r=.606 p<.01)
4. ตัวแปรที่สามารถพยากรณ์ผลการดำเนินงานของกลุ่มงานการพยาบาลโรงพยาบาลศูนย์ที่ผ่านการประเมินและรับรองคุณภาพโรงพยาบาลได้แก่ ความไว้วางใจองค์การ และวัฒนธรรมเชิงสร้างสรรค์ซึ่งสมารถร่วมกันพยากรณ์ ผลการดำเนินงานของกลุ่มงานการพยาบาลได้ร้อยละ 43.50 (R ยกกำลังสอง = .435 p<.05) โดยสมการพยากรณ์ผลการดำเนินงานของกลุ่มงานการพยาบาลในรูปคะแนนมาตรฐานCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23363 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000357010 THE WY125 อ927 2545 Thesis Main Library Thesis Corner Available ความสัีมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ความไว้วางใจหัวหน้าหอผู้ป่วย ความพึงพอใจในงานกับความยึดมั่นผูกพัน / รัมภาพรรณ ประมวลทรัพย์ / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2549
Title : ความสัีมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ความไว้วางใจหัวหน้าหอผู้ป่วย ความพึงพอใจในงานกับความยึดมั่นผูกพัน : ต่อองค์การของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลศูนย์ Original title : Relationships between personal factors trust in head nurses job satisfaction and organization commitment regional hospital and medical centers Material Type: printed text Authors: รัมภาพรรณ ประมวลทรัพย์, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2549 Pagination: ก-ฎ, 176 แผ่น Layout: ตารางประกอบ, แผนภูมิ Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์. (พย. ม (การบริหารการพยาบาล)). -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ความผูกพันต่อองค์การ
[LCSH]พยาบาลประจำการ
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วยKeywords: พยาบาลประจำการ.
หัวหน้าหอผู้ป่วย.
ความผูกพันต่อองค์การ.Class number: WY125 ร716 2549 Abstract: การวิจัยครั้งนี้่มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ความไว้วางใจในหัวหน้าหอผู้ป่วย ความพึงพอใจในงาน กับความยึดมั่นผูกผันต่อองค์การของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลศูนย์ กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลประจำการที่ปฎิบัติงานในโรงพยาบาลศูนย์ จำนวน 380 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมุลส่วนบุคคล แบบสอบถามความพึงพอใจในงาน และแบบสอบถามความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลประจำการ ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา และหาค่าความเที่ยงโดยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาคได้ .93 .95 และ.96 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูล โดยกาีรแจกแจงความถี่ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสถิติไคสแควร์ ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุุคูณแบบขั้นตอน
ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
1. ค่าเฉลี่ยความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การ ความไว้วางใจในหัวหน้าหอผู้ป่วย ความพึงพอใจในงานพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลศูนย์ อยู่ในระดับปานกลาง (ค่าเฉลี่ย = 4.00 3.86 3.90 ตามลำดับ)
2. ประสบการณ์ในการทำงานมีความสัมพันธ์ กับความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลศูนย์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001
3. ความไว้วางใจในหัวหน้าหอผู้ป่วย มีความสัมพันธ์ทางบวกระดับปานกลาง กับความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การ ของพยาบาลประจำการ (r=.467) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001
4. ความพึงพอใจในงานมีความสัมพันธ์ทางบวกระดับปานกลาง กับความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลประจำการ (r=.672) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001
5. ตัวแปรที่ร่วมกันพยากรณ์ ความยึดมั่ยผูกพันต่อองค์การ ของพยาบาลประจำการได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 คือ ความพึงพอใจในงานของพยาบาลประจำการ และประสบการณ์ในการทำงาน สามารถอธิบายความแปรปรวนของความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การ ของพยาบาลประจำการได้ร้อยละ 46.3 (R ยกกำลังสอง = .463 )
Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23332 ความสัีมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ความไว้วางใจหัวหน้าหอผู้ป่วย ความพึงพอใจในงานกับความยึดมั่นผูกพัน = Relationships between personal factors trust in head nurses job satisfaction and organization commitment regional hospital and medical centers : ต่อองค์การของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลศูนย์ [printed text] / รัมภาพรรณ ประมวลทรัพย์, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549 . - ก-ฎ, 176 แผ่น : ตารางประกอบ, แผนภูมิ ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์. (พย. ม (การบริหารการพยาบาล)). -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ความผูกพันต่อองค์การ
[LCSH]พยาบาลประจำการ
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วยKeywords: พยาบาลประจำการ.
หัวหน้าหอผู้ป่วย.
ความผูกพันต่อองค์การ.Class number: WY125 ร716 2549 Abstract: การวิจัยครั้งนี้่มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ความไว้วางใจในหัวหน้าหอผู้ป่วย ความพึงพอใจในงาน กับความยึดมั่นผูกผันต่อองค์การของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลศูนย์ กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลประจำการที่ปฎิบัติงานในโรงพยาบาลศูนย์ จำนวน 380 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมุลส่วนบุคคล แบบสอบถามความพึงพอใจในงาน และแบบสอบถามความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลประจำการ ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา และหาค่าความเที่ยงโดยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาคได้ .93 .95 และ.96 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูล โดยกาีรแจกแจงความถี่ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสถิติไคสแควร์ ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุุคูณแบบขั้นตอน
ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
1. ค่าเฉลี่ยความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การ ความไว้วางใจในหัวหน้าหอผู้ป่วย ความพึงพอใจในงานพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลศูนย์ อยู่ในระดับปานกลาง (ค่าเฉลี่ย = 4.00 3.86 3.90 ตามลำดับ)
2. ประสบการณ์ในการทำงานมีความสัมพันธ์ กับความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลศูนย์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001
3. ความไว้วางใจในหัวหน้าหอผู้ป่วย มีความสัมพันธ์ทางบวกระดับปานกลาง กับความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การ ของพยาบาลประจำการ (r=.467) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001
4. ความพึงพอใจในงานมีความสัมพันธ์ทางบวกระดับปานกลาง กับความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลประจำการ (r=.672) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001
5. ตัวแปรที่ร่วมกันพยากรณ์ ความยึดมั่ยผูกพันต่อองค์การ ของพยาบาลประจำการได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 คือ ความพึงพอใจในงานของพยาบาลประจำการ และประสบการณ์ในการทำงาน สามารถอธิบายความแปรปรวนของความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การ ของพยาบาลประจำการได้ร้อยละ 46.3 (R ยกกำลังสอง = .463 )
Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23332 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000357242 THE WY125 ร716 2549 Thesis Main Library Thesis Corner Available