From this page you can:
Home |
Search results
70 result(s) search for keyword(s) 'โรงพยาบาล. การบันทึก.'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้เกี่ยวกับการบันทึกการพยาบาลกับคุณภาพ / พรชนก ขันชะรุ / บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น - 2545
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้เกี่ยวกับการบันทึกการพยาบาลกับคุณภาพ : การบันทึกการพยาบาลของพยาบาลประจำการ ในโรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น Original title : The relationship between knowledge in nurse's : note and quality of nurse's note of registered nurses in Srinagarind hospital faculty of medicine Khon Kaen university Material Type: printed text Authors: พรชนก ขันชะรุ, Author Publisher: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น Publication Date: 2545 Pagination: ช, 94 แผ่น Layout: ตาราง Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-668-962-2 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย. บ [การบริหารการพยาบาล]]-มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2545 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบันทีกการพยาบาล
[LCSH]การบันทึกการพยาบาล -- ความรู้
[LCSH]การบันทึกการพยาบาล -- คุณภาพ
[LCSH]วิทยานิพนธ์Keywords: โรงพยาบาล.
การบันทึก.Class number: WY100 พ672 2545 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23121 ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้เกี่ยวกับการบันทึกการพยาบาลกับคุณภาพ = The relationship between knowledge in nurse's : note and quality of nurse's note of registered nurses in Srinagarind hospital faculty of medicine Khon Kaen university : การบันทึกการพยาบาลของพยาบาลประจำการ ในโรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น [printed text] / พรชนก ขันชะรุ, Author . - ขอนแก่น : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 2545 . - ช, 94 แผ่น : ตาราง ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-668-962-2 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย. บ [การบริหารการพยาบาล]]-มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2545
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบันทีกการพยาบาล
[LCSH]การบันทึกการพยาบาล -- ความรู้
[LCSH]การบันทึกการพยาบาล -- คุณภาพ
[LCSH]วิทยานิพนธ์Keywords: โรงพยาบาล.
การบันทึก.Class number: WY100 พ672 2545 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23121 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354660 WY100 พ672 2545 Thesis Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. รูปแบบการจัดการความรู้ในการพยาบาลโรคหัวใจ / เพ็ญจันทร์ แสนประสาน / คณะการจัดการ มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2557
Collection Title: SIU THE-T Title : รูปแบบการจัดการความรู้ในการพยาบาลโรคหัวใจ : ในโรงพยาบาลภาครัฐและภาคเอกชนที่มีศักยภาพสูง Original title : Model of knowledge management for cardiac nursing in the high competence public and private hospitals Material Type: printed text Authors: เพ็ญจันทร์ แสนประสาน, Author Publisher: คณะการจัดการ มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2557 Pagination: x,460 หน้า Layout: ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] มหาวิทยาลัยชินวัตร. Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]รูปแบบการจัดการความรู้ -- ดุษฎีนิพนธ์
[NLM]โรคหัวใจ, การพยาบาล
[NLM]โรคหัวใจ, การพยาบาล -- ดุษฎีนิพนธ์
[NLM]โรงพยาบาลภาครัฐศักยภาพสูง
[NLM]โรงพยาบาลภาคเอกชนศักยภาพสูงKeywords: การจัดการความรู้.
รูปแบบการจัดการความรู้.
การพยาบาลโรคหัวใจ.
โรงพยาบาลภาครัฐศักยภาพสูง.
โรงพยาบาลภาคเอกชนศักยภาพสูง.Class number: SIU THE-T SOM-DBA-2015-02 Abstract: การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณาผสมผสานวิธีการเชิงปริมาณ และเขิงคุณภาพในการพัฒนารูปแบบการจัดการความรู้การพยาบาลโรคหัใจในโรงพยาบาลภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพสูงในประเทศ เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหาและความต้องการในการจัดการความรู้การพยาบาลโรคหัวใจของโรงพยาบาลภาครัฐและเอกชน และเพื่อสร้างและยืนยันรูปแบบการจัดการความรู้การพยาบาลโรคหัวใจในโรงพยาบาลภาครัฐและภาคเอกชนที่มีศักยภาพสูง โดยมีกลุ่มตัวอย่างจำนวน 629 คน วิเคราะห์ความเชื่อถือและองค์ประกอบเชิงยืนยันด้วยโปรแกรมสมการโครงสร้าง SEM เพื่อยืนยันสมมติฐาน ซึ่งผลการศึกษา พบว่า โมเดลการวัดของตัวแปรที่ใช้ในการวิจัยสอดคล้องกับทฤษฎีตามองค์ประกอบด้าน 1. ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการความรู้มีตัวแปรแฝง คือ ผู้บริหารและเทคโนโลยีมีผลต่อกระบวนการจัดการความรู้ และการบริหารมีผลต่อผลลัพธ์การจัดความรู้ 2. โครงสร้างและปัจจัยพื้นฐานมีตัวแปรแฝง คือ วัฒนธรรม การเสริมพลัง และความร่วมมือมีผลต่อกระบวนการจัดการความรู้ 3. กระบวนการจัดการความรู้มีตัวแปรแฝง คือ การแบ่งปัน การนำความรู้ไปใช้ และการติดตามมีผลต่อผลัพธ์การจัดการความรู้ ส่วนผลการวิจัยเชิงคุณภาพ พบว่า การจัดการความรู้ทั้งภาครัฐและภาคเอกชนไม่แตกต่างกันทุกด้าน แต่มีข้อแตกต่างเพียงเล็กน้อย คือ ด้านเอกชนมีการใช้เทคโนโลยีมากกว่าบางโรงพยาบาล โรงพยาบาลภาครัฐมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในทีมระหว่างสหสาขาวิชาชีพมากกว่า Contents note: ปีการศึกษา 2557 Curricular : PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25887 SIU THE-T. รูปแบบการจัดการความรู้ในการพยาบาลโรคหัวใจ = Model of knowledge management for cardiac nursing in the high competence public and private hospitals : ในโรงพยาบาลภาครัฐและภาคเอกชนที่มีศักยภาพสูง [printed text] / เพ็ญจันทร์ แสนประสาน, Author . - [S.l.] : คณะการจัดการ มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2557 . - x,460 หน้า : ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] มหาวิทยาลัยชินวัตร.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]รูปแบบการจัดการความรู้ -- ดุษฎีนิพนธ์
[NLM]โรคหัวใจ, การพยาบาล
[NLM]โรคหัวใจ, การพยาบาล -- ดุษฎีนิพนธ์
[NLM]โรงพยาบาลภาครัฐศักยภาพสูง
[NLM]โรงพยาบาลภาคเอกชนศักยภาพสูงKeywords: การจัดการความรู้.
รูปแบบการจัดการความรู้.
การพยาบาลโรคหัวใจ.
โรงพยาบาลภาครัฐศักยภาพสูง.
โรงพยาบาลภาคเอกชนศักยภาพสูง.Class number: SIU THE-T SOM-DBA-2015-02 Abstract: การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณาผสมผสานวิธีการเชิงปริมาณ และเขิงคุณภาพในการพัฒนารูปแบบการจัดการความรู้การพยาบาลโรคหัใจในโรงพยาบาลภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพสูงในประเทศ เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหาและความต้องการในการจัดการความรู้การพยาบาลโรคหัวใจของโรงพยาบาลภาครัฐและเอกชน และเพื่อสร้างและยืนยันรูปแบบการจัดการความรู้การพยาบาลโรคหัวใจในโรงพยาบาลภาครัฐและภาคเอกชนที่มีศักยภาพสูง โดยมีกลุ่มตัวอย่างจำนวน 629 คน วิเคราะห์ความเชื่อถือและองค์ประกอบเชิงยืนยันด้วยโปรแกรมสมการโครงสร้าง SEM เพื่อยืนยันสมมติฐาน ซึ่งผลการศึกษา พบว่า โมเดลการวัดของตัวแปรที่ใช้ในการวิจัยสอดคล้องกับทฤษฎีตามองค์ประกอบด้าน 1. ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการความรู้มีตัวแปรแฝง คือ ผู้บริหารและเทคโนโลยีมีผลต่อกระบวนการจัดการความรู้ และการบริหารมีผลต่อผลลัพธ์การจัดความรู้ 2. โครงสร้างและปัจจัยพื้นฐานมีตัวแปรแฝง คือ วัฒนธรรม การเสริมพลัง และความร่วมมือมีผลต่อกระบวนการจัดการความรู้ 3. กระบวนการจัดการความรู้มีตัวแปรแฝง คือ การแบ่งปัน การนำความรู้ไปใช้ และการติดตามมีผลต่อผลัพธ์การจัดการความรู้ ส่วนผลการวิจัยเชิงคุณภาพ พบว่า การจัดการความรู้ทั้งภาครัฐและภาคเอกชนไม่แตกต่างกันทุกด้าน แต่มีข้อแตกต่างเพียงเล็กน้อย คือ ด้านเอกชนมีการใช้เทคโนโลยีมากกว่าบางโรงพยาบาล โรงพยาบาลภาครัฐมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในทีมระหว่างสหสาขาวิชาชีพมากกว่า Contents note: ปีการศึกษา 2557 Curricular : PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25887 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000550846 SIU THE-T SOM-DBA-2015-02 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000507036 SIU THE-T SOM-DBA-2015-02 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available รายงานการวิจัยเชิงปฏิบัติการ. การพัฒนารูปแบบการตรวจสอบคุณภาพการพยาบาล / สุจิตรา ขันติยานนท์ / 2552
Collection Title: รายงานการวิจัยเชิงปฏิบัติการ Title : การพัฒนารูปแบบการตรวจสอบคุณภาพการพยาบาล : ผ่านบันทึกทางการพยาบาล โรงพยาบาลสงฆ์ Material Type: printed text Authors: สุจิตรา ขันติยานนท์, Author ; นฤมล ตรีเพชรศรีอุไร, Author ; สุมาลี ยุทธวรวิทย์, (2507-), Author Publication Date: 2552 Pagination: ช, 108 หน้า Price: บริจาค General note: ได้รับการสนับสนุนจากเงินบำรุงโรงพยาบาลส่งฆ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข Languages : Thai (tha) Descriptors: [NLM]การพยาบาล -- วิจัย
[NLM]การพัฒนาคุณภาพ -- การพยาบาลKeywords: คุณภาพทางการพยาบาล.
การพัฒนารูปบบการตรวจสอบ.
การพัฒนารูปแบบ.
โรงพยาบาลสงฆ์.Class number: WY105 ส753ร 2552 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27146 รายงานการวิจัยเชิงปฏิบัติการ. การพัฒนารูปแบบการตรวจสอบคุณภาพการพยาบาล : ผ่านบันทึกทางการพยาบาล โรงพยาบาลสงฆ์ [printed text] / สุจิตรา ขันติยานนท์, Author ; นฤมล ตรีเพชรศรีอุไร, Author ; สุมาลี ยุทธวรวิทย์, (2507-), Author . - 2552 . - ช, 108 หน้า.
บริจาค
ได้รับการสนับสนุนจากเงินบำรุงโรงพยาบาลส่งฆ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [NLM]การพยาบาล -- วิจัย
[NLM]การพัฒนาคุณภาพ -- การพยาบาลKeywords: คุณภาพทางการพยาบาล.
การพัฒนารูปบบการตรวจสอบ.
การพัฒนารูปแบบ.
โรงพยาบาลสงฆ์.Class number: WY105 ส753ร 2552 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27146 Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000450492 WY105 ส753ร 2552 Book Main Library Library Counter Not for loan Stress echocardiography / นิธิมา รัตนสิทธิ์ / กรุงเทพฯ : ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล - 2560
Title : Stress echocardiography Original title : การบันทึกภาพหัวใจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูงขณะเครียด Material Type: printed text Authors: นิธิมา รัตนสิทธิ์, Editor Publisher: กรุงเทพฯ : ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล Publication Date: 2560 Pagination: 452 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 26.3 ซม. ISBN (or other code): 978-6-16-279971-6 Price: 1,250.00 บาท General note: ส่วนที่ 1. ความรู้พื้นฐานของการบันทึกภาพหัวใจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูงขณะเครียด
บทที่ 1 ประวัติและวิวัฒนาการของการบันทึกภาพหัวใจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูงขณะเครียด
บทที่ 2 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับกล้ามเนื้อหัวใจและภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด
บทที่ 3 องค์ประกอบและกลไกพยาธิสรีรวิทยาการเกิดภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด
บทที่ 4 ลักษณะการตรวจพบจากการบันทึกภาพหัวใจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูงในภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด
บทที่ 5 ความรู้พื้นฐานของการบันทึกภาพหัวใจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูงขณะเครียด
บทที่ 6 การแบ่งส่วนย่อยของกล้ามเนื้อหัวใจในหัวใจห้องล่างซ้าย
ส่วนที่ 2. วิธีการบันทึกภาพหัวใจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูงขณะเครียด
บทที่ 7 การบันทึกภาพหัวใจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูงขณะออกกำลังกาย
บทที่ 8 การบันทึกภาพหัวใจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูงขณะให้ยา Dobutamine
บทที่ 9 การบันทึกภาพหัวใจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูงขณะให้ยา Dipyridamole
บทที่ 10 การบันทึกภาพหัวใจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูงขณะให้ยา Adenosine
บทที่ 11 การบันทึกภาพหัวใจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูงขณะใช้เครื่องช่วยกระตุ้นหัวใจ
บทที่ 12 การบันทึกภาพหัวใจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูงขณะเครียดเพื่อการวินิจฉัยโรคหลอดเลือดแดงโคโรนารีหดตัว
ส่วนที่ 3. การประยุกต์ใช้ทางคลินิกของการบันทึกภาพหัวใจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูงขณะเครียด
บทที่ 13 การบันทึกภาพหัวใจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูงขณะเครียดในโรคหลอดเลือดแดงโคโรนารีตีบ
บทที่ 14 การบันทึกภาพหัวใจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูงขณะเครียดในการประเมินความอยู่รอดของกล้ามเนื้อหัวใจ
บทที่ 15 การบันทึกภาพหัวใจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูงขณะเครียดในการประเมินการคลายตัวของหัวใจ
บทที่ 16 การบันทึกภาพหัวใจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูงขณะเครียดในการประเมินก่อนการผ่าตัดที่ไม่ใช่การผ่าตัดหัวใจ
บทที่ 17 การบันทึกภาพหัวใจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูงขณะเครียดในโรคกล้ามเนื้อหัวใจ
บทที่ 18 การบันทึกภาพหัวใจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูงขณะเครียดในโรคลิ้นหัวใจ
ส่วนที่ 4 ตัวอย่างภาพวีดิทัศน์และกรณีศึกษา
บทที่ 19 ตัวอย่างภาพวีดิทัศน์และกรณีศึกษา
หอสมุดปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ บริจาคจำนวน 4 เล่มLanguages : Thai (tha) Descriptors: [NLM]การบันทึกคลื่นไฟฟ้าหัวใจ Keywords: การบันทึกคลื่นไฟฟ้าหัวใจ, echocardiography Class number: WG141.5.E2 ส186 2560 Curricular : BNS/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28141 Stress echocardiography = การบันทึกภาพหัวใจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูงขณะเครียด [printed text] / นิธิมา รัตนสิทธิ์, Editor . - [S.l.] : กรุงเทพฯ : ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล, 2560 . - 452 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 26.3 ซม.
ISBN : 978-6-16-279971-6 : 1,250.00 บาท
ส่วนที่ 1. ความรู้พื้นฐานของการบันทึกภาพหัวใจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูงขณะเครียด
บทที่ 1 ประวัติและวิวัฒนาการของการบันทึกภาพหัวใจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูงขณะเครียด
บทที่ 2 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับกล้ามเนื้อหัวใจและภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด
บทที่ 3 องค์ประกอบและกลไกพยาธิสรีรวิทยาการเกิดภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด
บทที่ 4 ลักษณะการตรวจพบจากการบันทึกภาพหัวใจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูงในภาวะกล้ามเนื้อหัวใจขาดเลือด
บทที่ 5 ความรู้พื้นฐานของการบันทึกภาพหัวใจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูงขณะเครียด
บทที่ 6 การแบ่งส่วนย่อยของกล้ามเนื้อหัวใจในหัวใจห้องล่างซ้าย
ส่วนที่ 2. วิธีการบันทึกภาพหัวใจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูงขณะเครียด
บทที่ 7 การบันทึกภาพหัวใจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูงขณะออกกำลังกาย
บทที่ 8 การบันทึกภาพหัวใจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูงขณะให้ยา Dobutamine
บทที่ 9 การบันทึกภาพหัวใจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูงขณะให้ยา Dipyridamole
บทที่ 10 การบันทึกภาพหัวใจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูงขณะให้ยา Adenosine
บทที่ 11 การบันทึกภาพหัวใจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูงขณะใช้เครื่องช่วยกระตุ้นหัวใจ
บทที่ 12 การบันทึกภาพหัวใจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูงขณะเครียดเพื่อการวินิจฉัยโรคหลอดเลือดแดงโคโรนารีหดตัว
ส่วนที่ 3. การประยุกต์ใช้ทางคลินิกของการบันทึกภาพหัวใจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูงขณะเครียด
บทที่ 13 การบันทึกภาพหัวใจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูงขณะเครียดในโรคหลอดเลือดแดงโคโรนารีตีบ
บทที่ 14 การบันทึกภาพหัวใจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูงขณะเครียดในการประเมินความอยู่รอดของกล้ามเนื้อหัวใจ
บทที่ 15 การบันทึกภาพหัวใจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูงขณะเครียดในการประเมินการคลายตัวของหัวใจ
บทที่ 16 การบันทึกภาพหัวใจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูงขณะเครียดในการประเมินก่อนการผ่าตัดที่ไม่ใช่การผ่าตัดหัวใจ
บทที่ 17 การบันทึกภาพหัวใจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูงขณะเครียดในโรคกล้ามเนื้อหัวใจ
บทที่ 18 การบันทึกภาพหัวใจด้วยคลื่นเสียงความถี่สูงขณะเครียดในโรคลิ้นหัวใจ
ส่วนที่ 4 ตัวอย่างภาพวีดิทัศน์และกรณีศึกษา
บทที่ 19 ตัวอย่างภาพวีดิทัศน์และกรณีศึกษา
หอสมุดปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ บริจาคจำนวน 4 เล่ม
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [NLM]การบันทึกคลื่นไฟฟ้าหัวใจ Keywords: การบันทึกคลื่นไฟฟ้าหัวใจ, echocardiography Class number: WG141.5.E2 ส186 2560 Curricular : BNS/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28141 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607290 WG141.5.E2 ส186 2560 c.1 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000607287 WG141.5.E2 ส186 2560 c.2 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000607288 WG141.5.E2 ส186 2560 c.3 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000607289 WG141.5.E2 ส186 2560 c.4 Book Main Library Nursing Shelf Available การจัดการเชิงระบบ: วิถีองค์รวมเพื่อการสร้างคุณค่า / สถาบันพัฒนาและรับรองระบบคุณภาพโรงพยาบาล / นนทบุรี : สถาบันพัฒนาและรับรองระบบคุณภาพโรงพยาบาล - 2548
Title : การจัดการเชิงระบบ: วิถีองค์รวมเพื่อการสร้างคุณค่า : (15-19 มีนาคม 2548) ณ. ศูนย์การประชุมอิมแพ็ค เมืองทองธานี Original title : 6th National forum on quality improvement & hospital accreditation. Material Type: printed text Authors: สถาบันพัฒนาและรับรองระบบคุณภาพโรงพยาบาล, Author Publisher: นนทบุรี : สถาบันพัฒนาและรับรองระบบคุณภาพโรงพยาบาล Publication Date: 2548 Pagination: vii, 264 หน้า. Size: 29 ซม. ISBN (or other code): 978-974-465-962-9 General note: ได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. Languages : English (eng) Descriptors: [LCSH]Hospital Accreditation
[LCSH]โรงพยาบาล -- การจัดการ
[LCSH]โรงพยาบาล -- การบริหารKeywords: โรงพยาบาล.
การบริหาร.
การจัดการ.Class number: RA971 ส842 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=22978 การจัดการเชิงระบบ: วิถีองค์รวมเพื่อการสร้างคุณค่า = 6th National forum on quality improvement & hospital accreditation. : (15-19 มีนาคม 2548) ณ. ศูนย์การประชุมอิมแพ็ค เมืองทองธานี [printed text] / สถาบันพัฒนาและรับรองระบบคุณภาพโรงพยาบาล, Author . - นนทบุรี : สถาบันพัฒนาและรับรองระบบคุณภาพโรงพยาบาล, 2548 . - vii, 264 หน้า. ; 29 ซม.
ISSN : 978-974-465-962-9
ได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) และกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข.
Languages : English (eng)
Descriptors: [LCSH]Hospital Accreditation
[LCSH]โรงพยาบาล -- การจัดการ
[LCSH]โรงพยาบาล -- การบริหารKeywords: โรงพยาบาล.
การบริหาร.
การจัดการ.Class number: RA971 ส842 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=22978 Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354082 RA971 ส842 2548 Book Main Library Library Counter Not for loan การจัดบริการสุขภาพที่สอดคล้องกับวิถีอิสลามในคลินิกฝากครรภ์ / สศิกร อุณหบัณฑิต in วารสารพยาบาลสาธารณสุข, Vol.30 No.1 (Jan-Apr) 2016 ([06/09/2016])
[article]
Title : การจัดบริการสุขภาพที่สอดคล้องกับวิถีอิสลามในคลินิกฝากครรภ์ : โรงพยาบาลชุมชน 3 จังหวัดชายแดนใต้ตามการรับรู้ของหญิงตั้งครรภ์และสามี Original title : Healthcare service based on Islamic way in the antenatal care clinic of community hospitals in the three southermost provinces as perceived by pregnant women and husbands Material Type: printed text Authors: สศิกร อุณหบัณฑิต, Author ; นงนุช บุญยัง, Author ; วิมลรัตน์ จงเจริญ, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.13-28 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสาธารณสุข > Vol.30 No.1 (Jan-Apr) 2016 [06/09/2016] . - p.13-28Keywords: การจัดบริการสุขภาพ.โรงพยาบาลชุใชน.การรับรู้ของหญิงตั้งครรภ์.การรับรู้ของสามี. Curricular : BNS Link for e-copy: http://phpn.ph.mahidol.ac.th/Journal/index.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25595 [article] การจัดบริการสุขภาพที่สอดคล้องกับวิถีอิสลามในคลินิกฝากครรภ์ = Healthcare service based on Islamic way in the antenatal care clinic of community hospitals in the three southermost provinces as perceived by pregnant women and husbands : โรงพยาบาลชุมชน 3 จังหวัดชายแดนใต้ตามการรับรู้ของหญิงตั้งครรภ์และสามี [printed text] / สศิกร อุณหบัณฑิต, Author ; นงนุช บุญยัง, Author ; วิมลรัตน์ จงเจริญ, Author . - 2016 . - p.13-28.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสาธารณสุข > Vol.30 No.1 (Jan-Apr) 2016 [06/09/2016] . - p.13-28Keywords: การจัดบริการสุขภาพ.โรงพยาบาลชุใชน.การรับรู้ของหญิงตั้งครรภ์.การรับรู้ของสามี. Curricular : BNS Link for e-copy: http://phpn.ph.mahidol.ac.th/Journal/index.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25595 การดูแลเด็กปฐมวัยในศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่คู่นมแม่ in วารสารเกื้อการุณย์, Vol.23 No.2 (Jul-Dec) 2016/59 ([05/17/2017])
[article]
Title : การดูแลเด็กปฐมวัยในศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่คู่นมแม่ : ของโรงพยาบาลในสังกัดกรุงเทพมหานคร Original title : Early childchood caring in the child care centers in the hospitals of Bangkok metropolitana administration Material Type: printed text Publication Date: 2017 Article on page: p.51-68 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.23 No.2 (Jul-Dec) 2016/59 [05/17/2017] . - p.51-68Keywords: การดูแลเด็ก.เด็กปฐมวัย.ศูนย์เด็กเล็ก.โรงพยาบาลในสังกัดกรุงเทพมหานคร. Abstract: เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ เพื่อศึกษาการดูแลเด็กปฐมวัยในศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่คู่นมแม่ โรงพยาบาลในสังกัดกรุงเทพมหานคร ใช้วิธีการคัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจง จำนวน 26 คน โดยเป็นพยาบาลวิชาชีพ และพี่เลี้ยงเด็กประจำศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่คู่นมแม่...ทีปฎิบัติงานประจำอย่่างน้อย 6 เดือน หรือตั้งแต่ศูนย์ ฯ เปิดดำเนินกาารและยังคงปฏิบัติงานระหว่างที่ทำการศึกษา จำนวน 9 คน และ 17 คน เก็บรวบรวมข้อมูลเดือนธันวาคม 2558 ถึง มิถุนายน 2559 ใช้วิธีการสนทนากลุ่ม การสัมภาษณ์เชิงลึก การสังเกต การศึกษาจากเอกสาร การบันทีึกข้อมูลภาคสนาม การบันทึกเทป การบันทึกภาพ ทำการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหา
ผลการวิจัย พบว่า การดูแลเด็กปฐมใัยวนศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่คู่นมแม่... มี 6 ลักษณะ คือ 1)การดูแลเด็กที่มีิิอายุแรกเกิด - 3 ปี 2)เป็นสวัสดิดการให้บุคลากรในสังกัดกรุงเทพมหานครให้สามารถทำงานได้อย่างสบายใจ และเกิดความรักผูกพันในครอบครัว 3) เน้นการเลี้ยงลูด้วยนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือน และหลังอายุ 6 เดือน 4) เป็นการเตรียมความพร้อมให้เด็กทั้งร่างกาย จิตใจและสังคม ก่อนเข้าเรียน 5) เป็นการดูแลเหมือนครอบครัว รักเหมือนลูกแต่ทำยิ่งกว่าลูก และ6) ดูแลตามมาตรฐานของศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่คู่นมแม่ของสำนักการแพทย์ 6 ด้าน คือ ด้านการส่งเสริมสุขภาพ ส่งเสริมการพัฒนาเด็ก ด้านการบริการอาหารสะอาดปลอดภัย สิ่งแวดล้อมสะอาดปลอดภัย บุคลากรและด้านการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง ปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน มี 3 ประเด็น คือ ด้านนโยบายระเบียบก่ารและเอกสารที่มีความแตกต่างกัน ด้านโครงสร้างทางกายภาพของศูนย์เด็กเล็ก ที่บาดอุปกรณ์ที่จำเป็น การแบ่งพื้นที่ยังไม่เป็นสัดส่วน และบุลากรมีไม่เพียงพอ
Link for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26731 [article] การดูแลเด็กปฐมวัยในศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่คู่นมแม่ = Early childchood caring in the child care centers in the hospitals of Bangkok metropolitana administration : ของโรงพยาบาลในสังกัดกรุงเทพมหานคร [printed text] . - 2017 . - p.51-68.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.23 No.2 (Jul-Dec) 2016/59 [05/17/2017] . - p.51-68Keywords: การดูแลเด็ก.เด็กปฐมวัย.ศูนย์เด็กเล็ก.โรงพยาบาลในสังกัดกรุงเทพมหานคร. Abstract: เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ เพื่อศึกษาการดูแลเด็กปฐมวัยในศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่คู่นมแม่ โรงพยาบาลในสังกัดกรุงเทพมหานคร ใช้วิธีการคัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจง จำนวน 26 คน โดยเป็นพยาบาลวิชาชีพ และพี่เลี้ยงเด็กประจำศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่คู่นมแม่...ทีปฎิบัติงานประจำอย่่างน้อย 6 เดือน หรือตั้งแต่ศูนย์ ฯ เปิดดำเนินกาารและยังคงปฏิบัติงานระหว่างที่ทำการศึกษา จำนวน 9 คน และ 17 คน เก็บรวบรวมข้อมูลเดือนธันวาคม 2558 ถึง มิถุนายน 2559 ใช้วิธีการสนทนากลุ่ม การสัมภาษณ์เชิงลึก การสังเกต การศึกษาจากเอกสาร การบันทีึกข้อมูลภาคสนาม การบันทึกเทป การบันทึกภาพ ทำการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหา
ผลการวิจัย พบว่า การดูแลเด็กปฐมใัยวนศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่คู่นมแม่... มี 6 ลักษณะ คือ 1)การดูแลเด็กที่มีิิอายุแรกเกิด - 3 ปี 2)เป็นสวัสดิดการให้บุคลากรในสังกัดกรุงเทพมหานครให้สามารถทำงานได้อย่างสบายใจ และเกิดความรักผูกพันในครอบครัว 3) เน้นการเลี้ยงลูด้วยนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือน และหลังอายุ 6 เดือน 4) เป็นการเตรียมความพร้อมให้เด็กทั้งร่างกาย จิตใจและสังคม ก่อนเข้าเรียน 5) เป็นการดูแลเหมือนครอบครัว รักเหมือนลูกแต่ทำยิ่งกว่าลูก และ6) ดูแลตามมาตรฐานของศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่คู่นมแม่ของสำนักการแพทย์ 6 ด้าน คือ ด้านการส่งเสริมสุขภาพ ส่งเสริมการพัฒนาเด็ก ด้านการบริการอาหารสะอาดปลอดภัย สิ่งแวดล้อมสะอาดปลอดภัย บุคลากรและด้านการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง ปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน มี 3 ประเด็น คือ ด้านนโยบายระเบียบก่ารและเอกสารที่มีความแตกต่างกัน ด้านโครงสร้างทางกายภาพของศูนย์เด็กเล็ก ที่บาดอุปกรณ์ที่จำเป็น การแบ่งพื้นที่ยังไม่เป็นสัดส่วน และบุลากรมีไม่เพียงพอ
Link for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26731 การติดตามผลการจัดระบบบริการส่งเสริมพัฒนาการเด็กแรกเกิด - 5 ปี / พรพิมล ธีรนันทน์ in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, Vol.29 No.3 (Sep-Dec) 2015 ([06/20/2016])
[article]
Title : การติดตามผลการจัดระบบบริการส่งเสริมพัฒนาการเด็กแรกเกิด - 5 ปี : ที่มีปัญหาพัฒนาการในโรงพยาบาลชุมชน ปีงบบประมาณ 2557 Material Type: printed text Authors: พรพิมล ธีรนันทน์, Author ; นิรมัย อุ้มรักษา, Author ; รัชดาวรรณ์ แดงสุข, Author ; ธัญหทัย จันทะโยธา, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.28-41 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.29 No.3 (Sep-Dec) 2015 [06/20/2016] . - p.28-41Keywords: การจัดระบบบริการ.การส่งเสริมพัฒนาการเด็กแรกเกิด.การส่งเสริมพัฒนาการเด็กอายุ-ห้าปี.โรงพยาบาลชุมชน. Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25550 [article] การติดตามผลการจัดระบบบริการส่งเสริมพัฒนาการเด็กแรกเกิด - 5 ปี : ที่มีปัญหาพัฒนาการในโรงพยาบาลชุมชน ปีงบบประมาณ 2557 [printed text] / พรพิมล ธีรนันทน์, Author ; นิรมัย อุ้มรักษา, Author ; รัชดาวรรณ์ แดงสุข, Author ; ธัญหทัย จันทะโยธา, Author . - 2016 . - p.28-41.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)การปฏิบัติบทบาทของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชน / อุษนันท์ อินทมาศน์, / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2546
Title : การปฏิบัติบทบาทของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชน Original title : Role performance of professional nurse in community hospital Material Type: printed text Authors: อุษนันท์ อินทมาศน์, (2518-), Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2546 Pagination: ก-ฌ, 117 แผ่น Layout: ตาราง Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-175-780-3 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]].--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2546 Languages : English (eng) Descriptors: [LCSH]บทบาทที่คาดหวัง
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพ
[LCSH]วิชาชีพพยาบาล
[LCSH]โรงพยาบาลชุมชนKeywords: พยาบาลวิชาชีพ.
โรงพยาบาลชุมชน.
บทบาท.
หน้าที่.Class number: WY100 อ948 2546 Abstract: การวิจัยเชิงคุณภาพนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสบการณ์การปฏิบัติบทบาทของพยาบาลวิชาชีพ และศึกษาเงื่อนไขหรือปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติบทบาทของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชน โดยศึกษาในโรงพยาบาลชุมชน ขนาด 30 เตียง ในเขตภาคเหนือตอนล่าง จำนวน 1 แห่ง ใช้วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (Indepth interview) จากพยาบาลวิชาชีพที่มีประสบการณ์การปฏิบัติงาน 3 ปี ขึ้นไป จำนวน 16 คน แล้ววิเคราะห์เนื้อหาจากข้อมูลที่ได้ ผลการศึกษาพบว่า พยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชนมีการปฏิบัติบทบาทด้านการบริการสุขภาพประกอบด้วยบทบาทด้านการปฏิบัติการพยาบาล บทบาทด้านการบริหารจัดการ และบทบาทด้านวิชาการ ซึ่ง พยาบาลวิชาชีพมีการปฏิบัติหน้าที่เกินขอบเขตในเรื่องการรักษาโรค โดยพยาบาลวิชาชีพได้ให้บริการรักษานอกเวลาราชการแก่ผู้รับบริการที่เจ็บป่วยเล็กน้อยถึงรุนแรง การปฏิบัติบทบาทเกินขอบเขตทำให้พยาบาลวิชาชีพมีความคับข้องใจและไม่มั่นใจในการทำงานพยาบาลวิชาชีพรับรู้บทบาทหน้าที่ของตนและต้องการให้งานการพยาบาลเป็นไปตามขอบเขตที่กำหนด แต่ด้วยความจำเป็นด้านบุคลากร ทำให้พยาบาลวิชาชีพต้องปฏิบัติหน้าที่ด้านการรักษาต่อไป ในการปฏิบัติบทบาทด้านการบริหารงานพบว่า พยาบาลวิชาชีพมีบทบาทเป็นผู้นำในการบริหารงาน มีส่วนร่วมหรือเป็นผู้ประสานงานด้านการบริหาร และการบริหารงานในโครงการเฉพาะกิจ ภาระงานที่มีปริมาณมากเกินขีดความสามารถ ประกอบกับเวลาที่จำกัดทำให้พยาบาลวิชาชีพรู้สึกไม่มีเวลาในการพักผ่อน อีกทั้งการได้รับมอบหมายงานที่ไม่มีความสนใจ ทำให้ไม่มีความกระตือรือร้นในการปฏิบัติงาน การทำงานไม่ครบถ้วนสมบูรณ์และขาดประสิทธิภาพ อนึ่งภาระงานที่เหมาะสมจะเป็นการท้าทายความสามารถและก่อให้เกิดการพัฒนาความสามารถได้ ทางด้านการปฏิบัติบทบาทด้านวิชาการพบว่า พยาบาลวิชาชีพรับรู้ว่าตนปฏิบัติบทบาทด้านวิชาการแก่ผู้รับบริการอย่างสม่ำเสมอ โดยเฉพาะการให้ความรู้เป็นรายบุคคลแก่ผู้รับบริการในแผนกที่ตนปฏิบัติงานอยู่ แต่การปฏิบัติบทบาทด้านวิชาการในหน่วยงานมีน้อย เนื่องจากนโยบายด้านวิชาการของหน่วยงานไม่ชัดเจน ขาดการสนับสนุนให้มีการพัฒนาตนเอง ซึ่งพยาบาลวิชาชีพมีความต้องการพัฒนาตนเองอยู่เสมอและพยายามที่จะแสวงหาโอกาสการพัฒนาด้วยตนเอง แม้ว่าพยาบาลวิชาชีพจะมีความคับข้องใจที่ต้องปฏิบัติบทบาทเกินขอบเขตหน้าที่ แต่ก็จำเป็นต้องปฏิบัติ โดยมีมุมมองในเชิงบวกว่าเป็นเพราะหน่วยงานขาดแคลนบุคลากร อีกทั้งต้องการให้หน่วยงานเป็นที่ยอมรับของผู้รับบริการ พยาบาลวิชาชีพต้องการพัฒนาศักยภาพของตน เกี่ยวกับความรู้และทักษะด้านเวชปฏิบัติเพื่อนำมาใช้ในการปฏิบัติงานด้านการรักษา นอกจากนี้ได้เสนอแนะว่าการปฏิบัติงานด้านการรักษาโรค ควรมีการมอบหมายงานและกำหนดขอบเขตเป็นลายลักษณ์อักษร มีการควบคุมดูแลโดยแพทย์อย่างใกล้ชิดเพื่อไม่ให้เกิดข้อผิดพลาดในการปฏิบัติงาน Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23174 การปฏิบัติบทบาทของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชน = Role performance of professional nurse in community hospital [printed text] / อุษนันท์ อินทมาศน์, (2518-), Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546 . - ก-ฌ, 117 แผ่น : ตาราง ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-175-780-3 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]].--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2546
Languages : English (eng)
Descriptors: [LCSH]บทบาทที่คาดหวัง
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพ
[LCSH]วิชาชีพพยาบาล
[LCSH]โรงพยาบาลชุมชนKeywords: พยาบาลวิชาชีพ.
โรงพยาบาลชุมชน.
บทบาท.
หน้าที่.Class number: WY100 อ948 2546 Abstract: การวิจัยเชิงคุณภาพนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสบการณ์การปฏิบัติบทบาทของพยาบาลวิชาชีพ และศึกษาเงื่อนไขหรือปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติบทบาทของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชน โดยศึกษาในโรงพยาบาลชุมชน ขนาด 30 เตียง ในเขตภาคเหนือตอนล่าง จำนวน 1 แห่ง ใช้วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (Indepth interview) จากพยาบาลวิชาชีพที่มีประสบการณ์การปฏิบัติงาน 3 ปี ขึ้นไป จำนวน 16 คน แล้ววิเคราะห์เนื้อหาจากข้อมูลที่ได้ ผลการศึกษาพบว่า พยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชนมีการปฏิบัติบทบาทด้านการบริการสุขภาพประกอบด้วยบทบาทด้านการปฏิบัติการพยาบาล บทบาทด้านการบริหารจัดการ และบทบาทด้านวิชาการ ซึ่ง พยาบาลวิชาชีพมีการปฏิบัติหน้าที่เกินขอบเขตในเรื่องการรักษาโรค โดยพยาบาลวิชาชีพได้ให้บริการรักษานอกเวลาราชการแก่ผู้รับบริการที่เจ็บป่วยเล็กน้อยถึงรุนแรง การปฏิบัติบทบาทเกินขอบเขตทำให้พยาบาลวิชาชีพมีความคับข้องใจและไม่มั่นใจในการทำงานพยาบาลวิชาชีพรับรู้บทบาทหน้าที่ของตนและต้องการให้งานการพยาบาลเป็นไปตามขอบเขตที่กำหนด แต่ด้วยความจำเป็นด้านบุคลากร ทำให้พยาบาลวิชาชีพต้องปฏิบัติหน้าที่ด้านการรักษาต่อไป ในการปฏิบัติบทบาทด้านการบริหารงานพบว่า พยาบาลวิชาชีพมีบทบาทเป็นผู้นำในการบริหารงาน มีส่วนร่วมหรือเป็นผู้ประสานงานด้านการบริหาร และการบริหารงานในโครงการเฉพาะกิจ ภาระงานที่มีปริมาณมากเกินขีดความสามารถ ประกอบกับเวลาที่จำกัดทำให้พยาบาลวิชาชีพรู้สึกไม่มีเวลาในการพักผ่อน อีกทั้งการได้รับมอบหมายงานที่ไม่มีความสนใจ ทำให้ไม่มีความกระตือรือร้นในการปฏิบัติงาน การทำงานไม่ครบถ้วนสมบูรณ์และขาดประสิทธิภาพ อนึ่งภาระงานที่เหมาะสมจะเป็นการท้าทายความสามารถและก่อให้เกิดการพัฒนาความสามารถได้ ทางด้านการปฏิบัติบทบาทด้านวิชาการพบว่า พยาบาลวิชาชีพรับรู้ว่าตนปฏิบัติบทบาทด้านวิชาการแก่ผู้รับบริการอย่างสม่ำเสมอ โดยเฉพาะการให้ความรู้เป็นรายบุคคลแก่ผู้รับบริการในแผนกที่ตนปฏิบัติงานอยู่ แต่การปฏิบัติบทบาทด้านวิชาการในหน่วยงานมีน้อย เนื่องจากนโยบายด้านวิชาการของหน่วยงานไม่ชัดเจน ขาดการสนับสนุนให้มีการพัฒนาตนเอง ซึ่งพยาบาลวิชาชีพมีความต้องการพัฒนาตนเองอยู่เสมอและพยายามที่จะแสวงหาโอกาสการพัฒนาด้วยตนเอง แม้ว่าพยาบาลวิชาชีพจะมีความคับข้องใจที่ต้องปฏิบัติบทบาทเกินขอบเขตหน้าที่ แต่ก็จำเป็นต้องปฏิบัติ โดยมีมุมมองในเชิงบวกว่าเป็นเพราะหน่วยงานขาดแคลนบุคลากร อีกทั้งต้องการให้หน่วยงานเป็นที่ยอมรับของผู้รับบริการ พยาบาลวิชาชีพต้องการพัฒนาศักยภาพของตน เกี่ยวกับความรู้และทักษะด้านเวชปฏิบัติเพื่อนำมาใช้ในการปฏิบัติงานด้านการรักษา นอกจากนี้ได้เสนอแนะว่าการปฏิบัติงานด้านการรักษาโรค ควรมีการมอบหมายงานและกำหนดขอบเขตเป็นลายลักษณ์อักษร มีการควบคุมดูแลโดยแพทย์อย่างใกล้ชิดเพื่อไม่ให้เกิดข้อผิดพลาดในการปฏิบัติงาน Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23174 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000355493 WY100 อ948 2546 Thesis Main Library Thesis Corner Available การประเมินประสิทธิผลของโปรแกรมการดูแลผู้ป่วยหลือดเลือดสมอง / สุปรีดา มั่นคง in วารสารพยาบาลสาธารณสุข, Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 ([02/08/2017])
[article]
Title : การประเมินประสิทธิผลของโปรแกรมการดูแลผู้ป่วยหลือดเลือดสมอง : และญาติผู้ดูแลในระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้าน Material Type: printed text Authors: สุปรีดา มั่นคง, Author ; ยุพาพิน ศิรโพธิ์งาม, Author ; สิริรัตน์ ลีลาจรัส, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.84-101 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสาธารณสุข > Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 [02/08/2017] . - p.84-101Keywords: ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง.ญาติผู้ดูแลผู้ป่วย.การดูแลระยะเปลี่ยนผ่าน.โรงพยาบาล. Abstract: เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง เพื่อศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง และญาติผู้ดูแลในระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้าน โดยการใช้การดูแลระยะเปลี่ยนผ่านตามแนวคิดของเนเลอร์ เป็นกรอบแนวคิดการวิจัย.
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ คือ กลุ่มผู้ป่วย และญาติผู้ดูแลตามเกณฑ์ แบ่งเป็นกลุ่มควบคุม 34 คู่ และกลุ่มทดลอง 40 คู่
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ
1)โปรแกรมการดูแลผู้ป่วยโรคหลือดเลือดสมองและญาติผู้ดูแลในระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้าน
2)แบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ป่วยและญาติผู้ดูแล
3)แบบประเมินความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน
4)แบบประเมินความพร้อมของญาติผู้ดูแล
5)แบบประเมินภาวะแทรกซ้อนของผู้ป่วย
6)แบบประเมินความมั่นใจในการดูแล
7)แบบประเมินความเครียดของญาติผู้ดูแล
8)แบบประเมินคุณภาพชีวิตของญาติผู้ดูแล
และ 9)แบบประเมินความพึงพอใจของผู้ป่วยและฐาติผู้ดูแล
ผลการศึกษา พบว่า ระยะ 1เ ดือน-3 เดือน หลังจำหน่าย ค่าเฉี่ยคะแนนความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวันของผู้ป่วย ความพร้อมของญาติผู้ดูแล และความพึงพอใจของผู้ป่วยและญาติผู้ดูแลในกลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และในระยะ 3 เดือนหลังจำหน่าย พบว่า ค่าเฉลี่ยคะแนนการปรับตัวและคุณภาพชีวิตของญาติผู้ดูแลในกลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
การศึกษาครั้งนี้ พบว่า โปรแกรมดังกล่าวสามารถนำไปปรับใช้กับการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองเสื่อมและญาติผู้ดูแลในระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้านได้Link for e-copy: http://phpn.ph.mahidol.ac.th/Journal/index.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26872 [article] การประเมินประสิทธิผลของโปรแกรมการดูแลผู้ป่วยหลือดเลือดสมอง : และญาติผู้ดูแลในระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้าน [printed text] / สุปรีดา มั่นคง, Author ; ยุพาพิน ศิรโพธิ์งาม, Author ; สิริรัตน์ ลีลาจรัส, Author . - 2017 . - p.84-101.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสาธารณสุข > Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 [02/08/2017] . - p.84-101Keywords: ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง.ญาติผู้ดูแลผู้ป่วย.การดูแลระยะเปลี่ยนผ่าน.โรงพยาบาล. Abstract: เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง เพื่อศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง และญาติผู้ดูแลในระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้าน โดยการใช้การดูแลระยะเปลี่ยนผ่านตามแนวคิดของเนเลอร์ เป็นกรอบแนวคิดการวิจัย.
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ คือ กลุ่มผู้ป่วย และญาติผู้ดูแลตามเกณฑ์ แบ่งเป็นกลุ่มควบคุม 34 คู่ และกลุ่มทดลอง 40 คู่
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ
1)โปรแกรมการดูแลผู้ป่วยโรคหลือดเลือดสมองและญาติผู้ดูแลในระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้าน
2)แบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ป่วยและญาติผู้ดูแล
3)แบบประเมินความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน
4)แบบประเมินความพร้อมของญาติผู้ดูแล
5)แบบประเมินภาวะแทรกซ้อนของผู้ป่วย
6)แบบประเมินความมั่นใจในการดูแล
7)แบบประเมินความเครียดของญาติผู้ดูแล
8)แบบประเมินคุณภาพชีวิตของญาติผู้ดูแล
และ 9)แบบประเมินความพึงพอใจของผู้ป่วยและฐาติผู้ดูแล
ผลการศึกษา พบว่า ระยะ 1เ ดือน-3 เดือน หลังจำหน่าย ค่าเฉี่ยคะแนนความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวันของผู้ป่วย ความพร้อมของญาติผู้ดูแล และความพึงพอใจของผู้ป่วยและญาติผู้ดูแลในกลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และในระยะ 3 เดือนหลังจำหน่าย พบว่า ค่าเฉลี่ยคะแนนการปรับตัวและคุณภาพชีวิตของญาติผู้ดูแลในกลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
การศึกษาครั้งนี้ พบว่า โปรแกรมดังกล่าวสามารถนำไปปรับใช้กับการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองเสื่อมและญาติผู้ดูแลในระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้านได้Link for e-copy: http://phpn.ph.mahidol.ac.th/Journal/index.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26872 การพัฒนาตนเองของหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลชุมชน / ชูชีพ มีศิริ, / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2546
Title : การพัฒนาตนเองของหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลชุมชน Original title : Self development of head nurses, community hospitals Material Type: printed text Authors: ชูชีพ มีศิริ, (2508-), Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2546 Pagination: ก-ฌ, 141 แผ่น Layout: ตาราง Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-174-370-6 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม. [การบริหารการพยาบาล]] - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2546 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การพัฒนาตนเอง
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย
[LCSH]วิทยานิพนธ์
[LCSH]โรงพยาบาลชุมชนKeywords: การพัฒนาตนเอง.
โรงพยาบาลชุมชน.
หัวหน้าหอผู้ป่วย.Class number: WY18 ช212 2546 Abstract: ศึกษาความหมายและประสบการณ์การพัฒนาตนเองของหัวหน้าหอผู้ป่วย ผู้ให้ข้อมูลเป็นพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในตำแหน่งหัวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาลชุมชนสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดแห่งหนึ่งในเขตภาคกลาง ที่มีประสบการณ์การทำงานในตำแหน่งหัวหน้าหอผู้ป่วยตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไป จำนวน 19 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยวิธีการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกและการบันทึกเทป วิเคราะห์ข้อมูลตามวิธีการของ Colaizzi ผลการศึกษาพบว่า หัวหน้าหอผู้ป่วยให้ความหมายของการพัฒนาตนเองว่า เป็นการปรับปรุงตนเองให้ดีขึ้นในด้านความรู้และทักษะในการบริหารจัดการ ควบคู่ไปกับมีความรู้ความชำนาญในการปฏิบัติการพยาบาล เพื่อให้ได้รับการยอมรับจากผู้บังคับบัญชาและผู้ใต้บังคับบัญชา อีกประการคือเป็นความปรารถนาที่จะเรียนรู้อยู่เสมอ ทั้งนี้เพราะวิทยาการต่างๆ เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ความปรารถนาภายในตนเป็นแรงจูงใจให้ต้องพัฒนาตนเอง เพื่อให้สามารถปรับตัวตอบสนองต่อระบบบริการสุขภาพ ส่วนประสบการณ์การพัฒนาตนเองของหัวหน้าหอผู้ป่วยพบว่า การพัฒนาจะเริ่มจากการมีแรงผลักดันหลังได้รับตำแหน่งหัวหน้าหอผู้ป่วย ซึ่งประกอบไปด้วยความรู้สึกรับผิดชอบต่อตำแหน่งตามบทบาทหน้าที่ ความรู้สึกที่ต้องรู้มากกว่าผู้ใต้บังคับบัญชา ความต้องการเป็นแบบอย่างพยาบาลที่ดีในด้านการปฏิบัติการพยาบาล การต้องทำหน้าที่สอนและนิเทศบุคลากรในทีมสุขภาพ ประการสำคัญคือ ความรู้สึกขาดความพร้อมที่จะทำหน้าที่เป็นหัวหน้าหอผู้ป่วย เป็นแรงผลักดันที่ทำให้มีความพยายามที่จะพัฒนาตนเอง ทั้งนี้โดยได้รับการสนับสนุนการพัฒนาตนเองจากหน่วยงานต้นสังกัดและครอบครัว นอกจากนี้ผลการศึกษาพบว่า วิธีการพัฒนาตนเองของหัวหน้าหอผู้ป่วยประกอบไปด้วย การพัฒนาด้านความรู้โดยใช้วิธีการแสวงหาความรู้ที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ การพัฒนาด้านจิตใจโดยการสำรวจตนเอง การควบคุมอารมณ์และการลดความเครียด และการพัฒนาร่างกายโดยการบริหารร่างกาย การดูแลสุขภาพและการเลือกบริโภคอาหาร ประการสำคัญผลการศึกษาชี้ให้เห็นว่าหัวหน้าหอผู้ป่วยรู้สึกว่า ได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานและผู้บังคับบัญชาในการพัฒนาตนเองน้อย ดังนั้นเพื่อให้หัวหน้าหอผู้ป่วยมีความมั่นใจและมีทักษะในการบริหารจัดการ จึงควรมีการเตรียมความพร้อมให้ก่อนได้รับการแต่งตั้งเป็นหัวหน้าหอผู้ป่วย Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23125 การพัฒนาตนเองของหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลชุมชน = Self development of head nurses, community hospitals [printed text] / ชูชีพ มีศิริ, (2508-), Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546 . - ก-ฌ, 141 แผ่น : ตาราง ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-174-370-6 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม. [การบริหารการพยาบาล]] - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2546
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การพัฒนาตนเอง
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย
[LCSH]วิทยานิพนธ์
[LCSH]โรงพยาบาลชุมชนKeywords: การพัฒนาตนเอง.
โรงพยาบาลชุมชน.
หัวหน้าหอผู้ป่วย.Class number: WY18 ช212 2546 Abstract: ศึกษาความหมายและประสบการณ์การพัฒนาตนเองของหัวหน้าหอผู้ป่วย ผู้ให้ข้อมูลเป็นพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในตำแหน่งหัวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาลชุมชนสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดแห่งหนึ่งในเขตภาคกลาง ที่มีประสบการณ์การทำงานในตำแหน่งหัวหน้าหอผู้ป่วยตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไป จำนวน 19 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยวิธีการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกและการบันทึกเทป วิเคราะห์ข้อมูลตามวิธีการของ Colaizzi ผลการศึกษาพบว่า หัวหน้าหอผู้ป่วยให้ความหมายของการพัฒนาตนเองว่า เป็นการปรับปรุงตนเองให้ดีขึ้นในด้านความรู้และทักษะในการบริหารจัดการ ควบคู่ไปกับมีความรู้ความชำนาญในการปฏิบัติการพยาบาล เพื่อให้ได้รับการยอมรับจากผู้บังคับบัญชาและผู้ใต้บังคับบัญชา อีกประการคือเป็นความปรารถนาที่จะเรียนรู้อยู่เสมอ ทั้งนี้เพราะวิทยาการต่างๆ เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ความปรารถนาภายในตนเป็นแรงจูงใจให้ต้องพัฒนาตนเอง เพื่อให้สามารถปรับตัวตอบสนองต่อระบบบริการสุขภาพ ส่วนประสบการณ์การพัฒนาตนเองของหัวหน้าหอผู้ป่วยพบว่า การพัฒนาจะเริ่มจากการมีแรงผลักดันหลังได้รับตำแหน่งหัวหน้าหอผู้ป่วย ซึ่งประกอบไปด้วยความรู้สึกรับผิดชอบต่อตำแหน่งตามบทบาทหน้าที่ ความรู้สึกที่ต้องรู้มากกว่าผู้ใต้บังคับบัญชา ความต้องการเป็นแบบอย่างพยาบาลที่ดีในด้านการปฏิบัติการพยาบาล การต้องทำหน้าที่สอนและนิเทศบุคลากรในทีมสุขภาพ ประการสำคัญคือ ความรู้สึกขาดความพร้อมที่จะทำหน้าที่เป็นหัวหน้าหอผู้ป่วย เป็นแรงผลักดันที่ทำให้มีความพยายามที่จะพัฒนาตนเอง ทั้งนี้โดยได้รับการสนับสนุนการพัฒนาตนเองจากหน่วยงานต้นสังกัดและครอบครัว นอกจากนี้ผลการศึกษาพบว่า วิธีการพัฒนาตนเองของหัวหน้าหอผู้ป่วยประกอบไปด้วย การพัฒนาด้านความรู้โดยใช้วิธีการแสวงหาความรู้ที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ การพัฒนาด้านจิตใจโดยการสำรวจตนเอง การควบคุมอารมณ์และการลดความเครียด และการพัฒนาร่างกายโดยการบริหารร่างกาย การดูแลสุขภาพและการเลือกบริโภคอาหาร ประการสำคัญผลการศึกษาชี้ให้เห็นว่าหัวหน้าหอผู้ป่วยรู้สึกว่า ได้รับการสนับสนุนจากหน่วยงานและผู้บังคับบัญชาในการพัฒนาตนเองน้อย ดังนั้นเพื่อให้หัวหน้าหอผู้ป่วยมีความมั่นใจและมีทักษะในการบริหารจัดการ จึงควรมีการเตรียมความพร้อมให้ก่อนได้รับการแต่งตั้งเป็นหัวหน้าหอผู้ป่วย Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23125 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354405 WY18 ช212 2546 Book Main Library General Shelf Available การพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกู่จาน / ธนาฒย์ อามาตย์มูลศรี in วารสารเกื้อการุณย์, Vol.23 No.2 (Jul-Dec) 2016/59 ([05/17/2017])
[article]
Title : การพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกู่จาน : อำเภอเขื่อนคำแก้ว จังหวัดยโสธร Original title : The Development of a diabetic care system in Kuchan health prontiond hospital, kharm khuean Kaeo district Yasathon province Material Type: printed text Authors: ธนาฒย์ อามาตย์มูลศรี, Author ; ชูศักดิ์ นิธิเกตุกุล, Author ; อุดมศักดิ์ มหาวีรวัฒน์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.69-85 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.23 No.2 (Jul-Dec) 2016/59 [05/17/2017] . - p.69-85Keywords: โรคเบาหวานชนิดที่ 2.ระบบการดูแลผู้ป่วย.โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพจังหวัดยโสธร Abstract: เป็นการวิจัยเชิงปฎิบัติการ เพื่อพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบาลกู่จาน อำเภอคำเขื่อนแก้ว จังหวัดยโสธร กลุ่มตัวอย่างจำนวน 47 คน ใช้แนวคิดการมีส่วนร่วมของชุมชนในการบริหารจัดการ พร้อมประยุกต์ใช้แนวคิดการเสริมสร้างพลังอำนาจมาดำเนินการศึกษา เก็บข้อมูลโดยใใช้แบบสอบถามเชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ วิเคราะหฺ์ข้อมูลเชิงปริมาณโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ฯ ผลการวิจัย พบว่า กระบวนการพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ของโรงพยาบาล ฯ มีขั้นตอน คือ 1) ศึกษาข้อมูลพื้นฐานและบริบทของพื้ันที่ 2) ประเมินความรู้ การปฏิบัติการมีส่วนร่วม ก่อนการดำเนินงาน 3) ประชุมภาคีเครือข่ายผู้เกี่ยวขอ้ง 4) ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการโดยใช้แนวคิดการมีส่วนร่วม 5) ดำเนินกิจกรรมตามแผนปฏิบัติการ 6) นิเทศติดตามผล โดยการสังเกต สัมภาษณ์ 7) ประเมินความรู้การปฏิบัติการมีส่วนร่วม 8) จัดเวทีถอดบทเรียนแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 9)สรุปปัจจัยแห่งความสำเร็จ 10) สรุปปัญหาอุปสรรค ข้อเสนอแนะแนวทางการแก้ไขปัญหาซึ่งมีึความคิดรวบยอด คือ ความรู้เป็นเอกภาพ การมีส่วนร่วมของชุมชน สุขภาพที่ดี การให้กำลังใจ เครือข่าย Link for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26733 [article] การพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกู่จาน = The Development of a diabetic care system in Kuchan health prontiond hospital, kharm khuean Kaeo district Yasathon province : อำเภอเขื่อนคำแก้ว จังหวัดยโสธร [printed text] / ธนาฒย์ อามาตย์มูลศรี, Author ; ชูศักดิ์ นิธิเกตุกุล, Author ; อุดมศักดิ์ มหาวีรวัฒน์, Author . - 2017 . - p.69-85.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.23 No.2 (Jul-Dec) 2016/59 [05/17/2017] . - p.69-85Keywords: โรคเบาหวานชนิดที่ 2.ระบบการดูแลผู้ป่วย.โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพจังหวัดยโสธร Abstract: เป็นการวิจัยเชิงปฎิบัติการ เพื่อพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบาลกู่จาน อำเภอคำเขื่อนแก้ว จังหวัดยโสธร กลุ่มตัวอย่างจำนวน 47 คน ใช้แนวคิดการมีส่วนร่วมของชุมชนในการบริหารจัดการ พร้อมประยุกต์ใช้แนวคิดการเสริมสร้างพลังอำนาจมาดำเนินการศึกษา เก็บข้อมูลโดยใใช้แบบสอบถามเชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ วิเคราะหฺ์ข้อมูลเชิงปริมาณโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ฯ ผลการวิจัย พบว่า กระบวนการพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ของโรงพยาบาล ฯ มีขั้นตอน คือ 1) ศึกษาข้อมูลพื้นฐานและบริบทของพื้ันที่ 2) ประเมินความรู้ การปฏิบัติการมีส่วนร่วม ก่อนการดำเนินงาน 3) ประชุมภาคีเครือข่ายผู้เกี่ยวขอ้ง 4) ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการโดยใช้แนวคิดการมีส่วนร่วม 5) ดำเนินกิจกรรมตามแผนปฏิบัติการ 6) นิเทศติดตามผล โดยการสังเกต สัมภาษณ์ 7) ประเมินความรู้การปฏิบัติการมีส่วนร่วม 8) จัดเวทีถอดบทเรียนแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 9)สรุปปัจจัยแห่งความสำเร็จ 10) สรุปปัญหาอุปสรรค ข้อเสนอแนะแนวทางการแก้ไขปัญหาซึ่งมีึความคิดรวบยอด คือ ความรู้เป็นเอกภาพ การมีส่วนร่วมของชุมชน สุขภาพที่ดี การให้กำลังใจ เครือข่าย Link for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26733 การพัฒนารุปแบบการดูแลผู้ป่วยโรคจิตเภทในโรงพยาบาลสวนสราญรมย์ / จลี เจริญสรรค์ in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, Vol.29 No.3 (Sep-Dec) 2015 ([06/20/2016])
[article]
Title : การพัฒนารุปแบบการดูแลผู้ป่วยโรคจิตเภทในโรงพยาบาลสวนสราญรมย์ Original title : The development of schizophrenia care model in saunsaranrom psychiatric hospital Material Type: printed text Authors: จลี เจริญสรรค์, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.85-98 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.29 No.3 (Sep-Dec) 2015 [06/20/2016] . - p.85-98Keywords: การพัฒนารูปแบบการดูแลผู้ป่วย.โรคจิตเภท.ผู้ป่วยโรคจิตเภท.โรงพยาบาลสวนสราญรมย์. Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25554 [article] การพัฒนารุปแบบการดูแลผู้ป่วยโรคจิตเภทในโรงพยาบาลสวนสราญรมย์ = The development of schizophrenia care model in saunsaranrom psychiatric hospital [printed text] / จลี เจริญสรรค์, Author . - 2016 . - p.85-98.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)การพัฒนาแนวปฏิบัติทางการพยาบาลหญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับยาออกซิโทซิน หรือเร่งคลอดโรงพยาบาลมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น / สุภาพร จันภูงาน in วารสารพยาบาลศาสตร์และสุขภาพ, Vol.38 No.4 (Oct-Dec) 2015 ([05/18/2016])
[article]
Title : การพัฒนาแนวปฏิบัติทางการพยาบาลหญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับยาออกซิโทซิน หรือเร่งคลอดโรงพยาบาลมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น Material Type: printed text Authors: สุภาพร จันภูงาน, Author ; สมพร วัฒนนุกูลเกียรติ, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.56-67 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลศาสตร์และสุขภาพ > Vol.38 No.4 (Oct-Dec) 2015 [05/18/2016] . - p.56-67Keywords: การพยาบาลหญิงตั้งครรภ์.ยาออกซิโทซิน.โรงพยาบาลมัญจารี.จังหวัดขอนแก่น. Link for e-copy: http://antispam.kmutt.ac.th/index.php.nah/index Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25608 [article] การพัฒนาแนวปฏิบัติทางการพยาบาลหญิงตั้งครรภ์ที่ได้รับยาออกซิโทซิน หรือเร่งคลอดโรงพยาบาลมัญจาคีรี จังหวัดขอนแก่น [printed text] / สุภาพร จันภูงาน, Author ; สมพร วัฒนนุกูลเกียรติ, Author . - 2016 . - p.56-67.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)การพัฒนาแบบบันทึกการพยาบาลผ่าตัด โรงพยาบาลตรังรวมแพทย์ / กมลทิพย์ วัดโคก / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2554
Title : การพัฒนาแบบบันทึกการพยาบาลผ่าตัด โรงพยาบาลตรังรวมแพทย์ Original title : The developement of perioperative nursing record, Trangruampat Hospital Material Type: printed text Authors: กมลทิพย์ วัดโคก, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2554 Pagination: ก-ญ, 124 แผ่น Layout: ตาราง Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]]-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2554 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]Perioperative Care -- methods.
[LCSH]บันทึกการพยาบาล
[LCSH]พยาบาลห้องผ่าตัด
[LCSH]ศัลยกรรม
[LCSH]แบบบันทึกการพยาบาลKeywords: โรงพยาบาลตรังรวมแพทย์.
ศัลยกรรม.
Operating Room Technicians.Class number: WY162 ก167 2554 Abstract: การวิจัยกึ่งทดลองนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแบบบันทึกการพยาบาลผ่าตัดและศึกษาประสิทธิภาพของการพยาบาลผ่าตัดตามการรับรู้ของพยาบาล โรงพยาบาลตรังรวมแพทย์ก่อนและหลังการใช้แบบบันทึกการพยาบาลผ่าตัดกลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในห้องผ่าตัด ห้องพักฟื้น และหอผู้ป่วยศัลยกรรมของโรงพยาบาลตรังรวมแพทย์ จำนวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แผนการอบรม แบบบันทึกการพยาบาลผ่าตัด คู่มือการใช้แบบบันทึกการพยาบาลผ่าตัด แบบกำกับการทดลอง และแบบสอบถามประสิทธิภาพของแบบบันทึกการพยาบาลผ่าตัดที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น เครื่องมือทั้งหมดผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ และทดสอบหาค่าความเที่ยงของแบบสอบถามด้วยค่าสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาคได้เท่ากับ 0.97 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบด้วยสถิติค่าที (Dependent t-test) ผลการวิจัยพบว่า 1.แบบบันทึกการพยาบาลผ่าตัด โรงพยาบาลตรังรวมแพทย์ ประกอบด้วยโครงสร้าง 3 ส่วนคือ ส่วนที่ 1 แบบบันทึกการพยาบาลระยะก่อนผ่าตัด ส่วนที่ 2 แบบบันทึกการพยาบาลระยะผ่าตัด และส่วนที่ 3 แบบบันทึกการพยาบาลระยะหลังผ่าตัด 2.ประสิทธิภาพของแบบบันทึกการพยาบาลผ่าตัดตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลตรังรวมแพทย์ หลังการใช้แบบบันทึกการพยาบาลผ่าตัดโดยใช้กระบวนการพยาบาล สูงกว่าก่อนการใช้แบบบันทึกการพยาบาลผ่าตัดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23187 การพัฒนาแบบบันทึกการพยาบาลผ่าตัด โรงพยาบาลตรังรวมแพทย์ = The developement of perioperative nursing record, Trangruampat Hospital [printed text] / กมลทิพย์ วัดโคก, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554 . - ก-ญ, 124 แผ่น : ตาราง ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]]-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2554
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]Perioperative Care -- methods.
[LCSH]บันทึกการพยาบาล
[LCSH]พยาบาลห้องผ่าตัด
[LCSH]ศัลยกรรม
[LCSH]แบบบันทึกการพยาบาลKeywords: โรงพยาบาลตรังรวมแพทย์.
ศัลยกรรม.
Operating Room Technicians.Class number: WY162 ก167 2554 Abstract: การวิจัยกึ่งทดลองนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแบบบันทึกการพยาบาลผ่าตัดและศึกษาประสิทธิภาพของการพยาบาลผ่าตัดตามการรับรู้ของพยาบาล โรงพยาบาลตรังรวมแพทย์ก่อนและหลังการใช้แบบบันทึกการพยาบาลผ่าตัดกลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในห้องผ่าตัด ห้องพักฟื้น และหอผู้ป่วยศัลยกรรมของโรงพยาบาลตรังรวมแพทย์ จำนวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แผนการอบรม แบบบันทึกการพยาบาลผ่าตัด คู่มือการใช้แบบบันทึกการพยาบาลผ่าตัด แบบกำกับการทดลอง และแบบสอบถามประสิทธิภาพของแบบบันทึกการพยาบาลผ่าตัดที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น เครื่องมือทั้งหมดผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ และทดสอบหาค่าความเที่ยงของแบบสอบถามด้วยค่าสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาคได้เท่ากับ 0.97 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบด้วยสถิติค่าที (Dependent t-test) ผลการวิจัยพบว่า 1.แบบบันทึกการพยาบาลผ่าตัด โรงพยาบาลตรังรวมแพทย์ ประกอบด้วยโครงสร้าง 3 ส่วนคือ ส่วนที่ 1 แบบบันทึกการพยาบาลระยะก่อนผ่าตัด ส่วนที่ 2 แบบบันทึกการพยาบาลระยะผ่าตัด และส่วนที่ 3 แบบบันทึกการพยาบาลระยะหลังผ่าตัด 2.ประสิทธิภาพของแบบบันทึกการพยาบาลผ่าตัดตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลตรังรวมแพทย์ หลังการใช้แบบบันทึกการพยาบาลผ่าตัดโดยใช้กระบวนการพยาบาล สูงกว่าก่อนการใช้แบบบันทึกการพยาบาลผ่าตัดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23187 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354694 WY162 ก167 2554 Thesis Main Library Thesis Corner Available