From this page you can:
Home |
Search results
93 result(s) search for keyword(s) 'สุขภาพ. การท่องเที่ยว. การพัฒนา. นักท่องเที่ยวต่างชาติ.'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
การพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ สำหรับนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ / นวิญญา วโรทัย / ปทุมธานี : มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2563
Title : การพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ สำหรับนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ Original title : Development wellness tourism for foreign tourism in Bangkok Thailand Material Type: printed text Authors: นวิญญา วโรทัย, Author Publisher: ปทุมธานี : มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2563 Pagination: vii, 175 หน้า Layout: ภาพประกอบ Size: 25 ซม. Price: 500.00 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ท่องเที่ยว -- การพัฒนา
[LCSH]นักท่องเที่ยวต่างชาติ
[LCSH]สุขภาพ -- การท่องเที่ยวKeywords: สุขภาพ.
การท่องเที่ยว.
การพัฒนา.
นักท่องเที่ยวต่างชาติ.Class number: SIU THE-T: SOM-DBA-2020-09 Abstract: วัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาปัจจัยภายนอก ปัจจัยการท่องเที่ยว มีอิทธิพลส่งผลต่อการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงส่งเสริมสุขภาพสำหรับนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติในเขตกรุงเทพมหานคร เครื่องมือที่ใช้ประกอบด้วย แบบสอบถาม และความคิเหฌนของนักท่องเที่ยวที่เป็นหลุ่มตัวอย่างจำนวน 400 ราย ทำการวิเคราะห์สมการการถดถอยขนิดหลายตัวแปร และทำการสัมภาษณ์เชิงลึก โดยผู้เชี่ยวชาญ 9 คน ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์ ด้านการส่งเสริมการตลาด ด้านบุคคล ด้านกระบวนการ ด้านนโยบายรัฐ ด้านการส่งเสริมการตลาดของ ททท. ด้านความปลอดภัย ด้านสิ่งแวดล้อม ด้านคงาสมดึงดูดใจ ด้านการเข้าถึงแหล่งท่องเที่ยว ด้านความสำราญจากการท่องเที่ยว ด้านองค์ประกอบของการบริการ มีอิทธิพลส่งผลต่อการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงส่งเสริมสุขภาพสำหรับนักท่องเที่ยวต่างชาติในเขตกรุงเทพมหานคร ในทิศทางเดี่ยวกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ีระดับ 0.05 เและกำหนดการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงส่งเสริมสุขภาพสำหรับนักท่องเที่ยวชาววต่างขาติ ในเขตกรุงเทพมหานคร ทั้งนี้เกิดจากการวางแผนการตลาดร่วมกัน จะเป็นแรงผลักดันการทำงานในภาพกว้าง และจะได้ทำงานไม่ซ้ำซ้อน การพัฒนาสินค้า และบริการ ผู้ประกอบการการท่องเที่ยวได้เสนอ ให้การพัฒนาสินค้า และบริการให้ศึกษาพฤติกรรมนักท่องเที่ยวเป็นหลัก
Curricular : DPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28361 การพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ สำหรับนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ = Development wellness tourism for foreign tourism in Bangkok Thailand [printed text] / นวิญญา วโรทัย, Author . - [S.l.] : ปทุมธานี : มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2563 . - vii, 175 หน้า : ภาพประกอบ ; 25 ซม.
500.00
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ท่องเที่ยว -- การพัฒนา
[LCSH]นักท่องเที่ยวต่างชาติ
[LCSH]สุขภาพ -- การท่องเที่ยวKeywords: สุขภาพ.
การท่องเที่ยว.
การพัฒนา.
นักท่องเที่ยวต่างชาติ.Class number: SIU THE-T: SOM-DBA-2020-09 Abstract: วัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาปัจจัยภายนอก ปัจจัยการท่องเที่ยว มีอิทธิพลส่งผลต่อการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงส่งเสริมสุขภาพสำหรับนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติในเขตกรุงเทพมหานคร เครื่องมือที่ใช้ประกอบด้วย แบบสอบถาม และความคิเหฌนของนักท่องเที่ยวที่เป็นหลุ่มตัวอย่างจำนวน 400 ราย ทำการวิเคราะห์สมการการถดถอยขนิดหลายตัวแปร และทำการสัมภาษณ์เชิงลึก โดยผู้เชี่ยวชาญ 9 คน ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์ ด้านการส่งเสริมการตลาด ด้านบุคคล ด้านกระบวนการ ด้านนโยบายรัฐ ด้านการส่งเสริมการตลาดของ ททท. ด้านความปลอดภัย ด้านสิ่งแวดล้อม ด้านคงาสมดึงดูดใจ ด้านการเข้าถึงแหล่งท่องเที่ยว ด้านความสำราญจากการท่องเที่ยว ด้านองค์ประกอบของการบริการ มีอิทธิพลส่งผลต่อการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงส่งเสริมสุขภาพสำหรับนักท่องเที่ยวต่างชาติในเขตกรุงเทพมหานคร ในทิศทางเดี่ยวกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ีระดับ 0.05 เและกำหนดการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงส่งเสริมสุขภาพสำหรับนักท่องเที่ยวชาววต่างขาติ ในเขตกรุงเทพมหานคร ทั้งนี้เกิดจากการวางแผนการตลาดร่วมกัน จะเป็นแรงผลักดันการทำงานในภาพกว้าง และจะได้ทำงานไม่ซ้ำซ้อน การพัฒนาสินค้า และบริการ ผู้ประกอบการการท่องเที่ยวได้เสนอ ให้การพัฒนาสินค้า และบริการให้ศึกษาพฤติกรรมนักท่องเที่ยวเป็นหลัก
Curricular : DPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28361 Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000602013 SIU THE-T: SOM-DBA-2020-09 C.1 Thesis Main Library Library Counter Not for loan 32002000602014 SIU THE-T: SOM-DBA-2020-09 C.2 Thesis Main Library Library Counter Not for loan การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว / สำนักส่งเสริมสุขภาพ / กรุงเทพฯ: องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก - 2554
Title : การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว Material Type: printed text Authors: สำนักส่งเสริมสุขภาพ, Author Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 2 Publisher: กรุงเทพฯ: องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก Publication Date: 2554 Pagination: 102 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 21 ซม. ISBN (or other code): 978-6-16-110245-6 Price: บริจาค Languages : Thai (tha) Descriptors: [NLM]ผู้สูงอายุ -- การดูแลสุขภาพ
[NLM]ผู้สูงอายุ -- การส่งเสริมสุขภาพ
[NLM]ผู้สูงอายุ -- สุขภาพและอนามัยKeywords: ผู้สูงอายุ, สุขภาพและอนามัย, การส่งเสริมสุขภาพ, การดูแลสุขภาพ Class number: WT100 ก451 2554 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28092 การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว [printed text] / สำนักส่งเสริมสุขภาพ, Author . - พิมพ์ครั้งที่ 2 . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก, 2554 . - 102 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 21 ซม.
ISBN : 978-6-16-110245-6 : บริจาค
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [NLM]ผู้สูงอายุ -- การดูแลสุขภาพ
[NLM]ผู้สูงอายุ -- การส่งเสริมสุขภาพ
[NLM]ผู้สูงอายุ -- สุขภาพและอนามัยKeywords: ผู้สูงอายุ, สุขภาพและอนามัย, การส่งเสริมสุขภาพ, การดูแลสุขภาพ Class number: WT100 ก451 2554 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28092 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607346 WT100 ก451 2554 c.1 Book Main Library Library Counter Available 32002000607347 WT100 ก451 2554 c.2 Book Main Library Library Counter Available Edutainment Collection. 10 อาชีพเทรนด์ของโลก / มูลนิธิไทยคม / กรุงเทพฯ : มูลนิธิไทยคม - 2011
Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000327237 DOCF12031 ส728 2554 v.1 c.1 Book Graduate Library General Shelf Available 32002000327294 DOCF12031 ส728 2554 v.2 c.1 Documentary Film Graduate Library General Shelf Available 32002000327252 DOCF12031 ส728 2554 v.3 c.1 Documentary Film Graduate Library General Shelf Available 32002000327260 DOCF12031 ส728 2554 v.1 c.2 Documentary Film Main Library Library Counter Not for loan 32002000327302 DOCF12031 ส728 2554 v.2 c.2 Documentary Film Main Library Library Counter Not for loan 32002000332567 DOCF12031 ส728 2554 v.3 c.2 Documentary Film Main Library Library Counter Not for loan Old book collection. กระบวนการพยาบาล & แบบแผนสุขภาพ / พรศิริ พันธสี / สมุทรปราการ : คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ - 2556
Collection Title: Old book collection Title : กระบวนการพยาบาล & แบบแผนสุขภาพ : การประยุกต์ใช้ทางคลินิก Original title : Nursing process & functional health pattern : application in clinical practice Material Type: printed text Authors: พรศิริ พันธสี, Author Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 12. Publisher: สมุทรปราการ : คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ Publication Date: 2556 Pagination: ฎ, 334 หน้า. Layout: ตารางประกอบ Size: 26 ซม. ISBN (or other code): 978-6-11-708904-6 Price: 220.00 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]กระบวนการพยาบาล
[LCSH]การพยาบาล
[LCSH]การพยาบาล, การวินิจฉัย
[LCSH]สุขภาพKeywords: การพยาบาล.
กระบวนการพยาบาล.
สุขภาพ.
การวินิจฉัย.Class number: WY86 พ282 2554 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23448 Old book collection. กระบวนการพยาบาล & แบบแผนสุขภาพ = Nursing process & functional health pattern : application in clinical practice : การประยุกต์ใช้ทางคลินิก [printed text] / พรศิริ พันธสี, Author . - พิมพ์ครั้งที่ 12. . - สมุทรปราการ : คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ, 2556 . - ฎ, 334 หน้า. : ตารางประกอบ ; 26 ซม.
ISBN : 978-6-11-708904-6 : 220.00
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]กระบวนการพยาบาล
[LCSH]การพยาบาล
[LCSH]การพยาบาล, การวินิจฉัย
[LCSH]สุขภาพKeywords: การพยาบาล.
กระบวนการพยาบาล.
สุขภาพ.
การวินิจฉัย.Class number: WY86 พ282 2554 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23448 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000390268 WY86 พ282 2554 c.3 Book Main Library General Shelf Available 32002000390284 WY86 พ282 2554 c.5 Book Main Library General Shelf Available 32002000390243 WY86 พ282 2554 c.1 Book Main Library Library Counter Available 32002000390250 WY86 พ282 2554 c.2 Book Main Library Library Counter Available 32002000390276 WY86 พ282 2554 c.4 Book Main Library Library Counter Available Readers who borrowed this document also borrowed:
การรักษาพยาบาลโรคเบื้องต้น วราภรณ์ บุญเชียง การประเมินภาวะสุขภาพสำหรับพยาบาล: การตรวจร่างกาย ภาสกร, เนตรทิพย์วัลย์ การพยาบาลองค์รวม สุรีย์ ธรรมิกบวร การพยาบาลชุมชน กีรดา, ไกรนุวัตร Old book collection. ความฉลาดทางสุขภาพ / ขวัญเมือง แก้วดำเกิง / กองสุขศึกษา กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข - 2554
Collection Title: Old book collection Title : ความฉลาดทางสุขภาพ Material Type: printed text Authors: ขวัญเมือง แก้วดำเกิง, Author ; นฤมล ตรีเพชรศรีอุไร, Author Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 1 Publisher: กองสุขศึกษา กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข Publication Date: 2554 Pagination: 63 หน้า Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 21 ซม. ISBN (or other code): 978-6-16-110764-2 Price: บริจาค. Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]สุขภาพ -- การดูแล
[LCSH]สุขภาพ -- การบริการKeywords: สุขภาพ Class number: R118 ข171 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=22984 Old book collection. ความฉลาดทางสุขภาพ [printed text] / ขวัญเมือง แก้วดำเกิง, Author ; นฤมล ตรีเพชรศรีอุไร, Author . - พิมพ์ครั้งที่ 1 . - นนทบุรี : กองสุขศึกษา กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข, 2554 . - 63 หน้า : ภาพประกอบ, ตาราง ; 21 ซม.
ISBN : 978-6-16-110764-2 : บริจาค.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]สุขภาพ -- การดูแล
[LCSH]สุขภาพ -- การบริการKeywords: สุขภาพ Class number: R118 ข171 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=22984 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000353373 R118 ข171 2554 Book Main Library Library Counter Available Old book collection. ความสุขของชาวพังงา ภูเก็ต และชาวบ้านน้ำเค็มหลังสึนามิ / รศรินทร์ เกรย์ / นครปฐม : สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล - 2556
Collection Title: Old book collection Title : ความสุขของชาวพังงา ภูเก็ต และชาวบ้านน้ำเค็มหลังสึนามิ Original title : Happiness in Phang-nga Phuket and Baan Nam Khem after Tsunami Material Type: printed text Authors: รศรินทร์ เกรย์, Author Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 1 Publisher: นครปฐม : สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล Publication Date: 2556 Pagination: 108 หน้า. Layout: ภาพประกอบสี Size: 25 ซม. ISBN (or other code): 978-6-16-279398-1 Price: บริจาค. General note: โครงการ "รายงานสถานการณ์สุขภาพจิตประจำปี" ภายใต้แผนงานสร้างเสริมสุขภาพจิด สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การดำเนินชีวิต
[LCSH]ความสุข -- แง่จิตวิทยา
[LCSH]สึนามิ -- ไทย (ภาคใต้)
[LCSH]สุขภาพจิตKeywords: สุขภาพจิต.
การดำเนินชีวิต.
สึนามิ.
ภูเก็ต.
พังงา.
บ้านน้ำเค็ม.
วิจัย.Class number: WM270 ร787 2556 Contents note: บทนำ.-- Executive summary.-- ข้อมูลพื้นฐานของพัีงงาและภูเก็ต. -- ข้อค้นพบความสุขจากพื้นที่...พังงาและภูเก็ต.-- บ้านน้ำเค็มแห่งความสุข...การมีจิตอาสาภายหลังเหตุการณ์ภัยพิบัติสึนามิ.-- Curricular : BNS/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23318 Old book collection. ความสุขของชาวพังงา ภูเก็ต และชาวบ้านน้ำเค็มหลังสึนามิ = Happiness in Phang-nga Phuket and Baan Nam Khem after Tsunami [printed text] / รศรินทร์ เกรย์, Author . - พิมพ์ครั้งที่ 1 . - นครปฐม : สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล, 2556 . - 108 หน้า. : ภาพประกอบสี ; 25 ซม.
ISBN : 978-6-16-279398-1 : บริจาค.
โครงการ "รายงานสถานการณ์สุขภาพจิตประจำปี" ภายใต้แผนงานสร้างเสริมสุขภาพจิด สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การดำเนินชีวิต
[LCSH]ความสุข -- แง่จิตวิทยา
[LCSH]สึนามิ -- ไทย (ภาคใต้)
[LCSH]สุขภาพจิตKeywords: สุขภาพจิต.
การดำเนินชีวิต.
สึนามิ.
ภูเก็ต.
พังงา.
บ้านน้ำเค็ม.
วิจัย.Class number: WM270 ร787 2556 Contents note: บทนำ.-- Executive summary.-- ข้อมูลพื้นฐานของพัีงงาและภูเก็ต. -- ข้อค้นพบความสุขจากพื้นที่...พังงาและภูเก็ต.-- บ้านน้ำเค็มแห่งความสุข...การมีจิตอาสาภายหลังเหตุการณ์ภัยพิบัติสึนามิ.-- Curricular : BNS/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23318 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000356111 WM270 ร787 2556 c.1 Book Main Library Library Counter Available 32002000356129 WM270 ร787 2556 c.2 Book Main Library Library Counter Available Old book collection. ความสุขที่สร้างได้ / ปราโมทย์ ประสาทกุล / นครปฐม : สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล - 2555
Collection Title: Old book collection Title : ความสุขที่สร้างได้ Material Type: printed text Authors: ปราโมทย์ ประสาทกุล, Author Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 1 Publisher: นครปฐม : สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล Publication Date: 2555 Pagination: 176 หน้่า. Layout: ภาพประกอบสี Size: 21 ซม. ISBN (or other code): 978-616-279-012-5 Price: บริจาค. General note: โึครงการ รายงานสถานการณ์สุขภาพจิตประจำปี ภายใต้แผนงานสร้างเสริมสุขภาพจิต สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การดำเนินชีวิต
[LCSH]ความสุข
[LCSH]ความสุข -- แง่จิตวิทยา
[LCSH]สุขภาพจิตKeywords: การดำเนินชีวิต.
ความสุข.
สุขภาพจิด.Class number: WM100 ค172 2556 Curricular : BALA/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23344 Old book collection. ความสุขที่สร้างได้ [printed text] / ปราโมทย์ ประสาทกุล, Author . - พิมพ์ครั้งที่ 1 . - นครปฐม : สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล, 2555 . - 176 หน้่า. : ภาพประกอบสี ; 21 ซม.
ISSN : 978-616-279-012-5 : บริจาค.
โึครงการ รายงานสถานการณ์สุขภาพจิตประจำปี ภายใต้แผนงานสร้างเสริมสุขภาพจิต สนับสนุนโดย สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การดำเนินชีวิต
[LCSH]ความสุข
[LCSH]ความสุข -- แง่จิตวิทยา
[LCSH]สุขภาพจิตKeywords: การดำเนินชีวิต.
ความสุข.
สุขภาพจิด.Class number: WM100 ค172 2556 Curricular : BALA/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23344 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000384014 WM100 ค172 2556 Book Main Library Library Counter Available Old book collection. สุขภาพคนไทย 2557 : ชุมชนท้องถิ่นจัดการตนเอง / มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันวิจัยประชากรและสังคม / 2557
Collection Title: Old book collection Title : สุขภาพคนไทย 2557 : ชุมชนท้องถิ่นจัดการตนเอง : สู่การปฏิรูปประเทศจากฐานราก Material Type: printed text Authors: มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันวิจัยประชากรและสังคม, Author Publication Date: 2557 Pagination: 120 หน้า Layout: ภาพประกอบ Size: 29 ซม. ISBN (or other code): 978-6-16-279457-5 Price: บริจาค. Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การจัดการชุมชน
[LCSH]การพัฒนาชุมชน -- การมีส่วนร่วมของประชาชน
[LCSH]การพัฒนาชุมชน -- ไทย
[LCSH]ข้าว -- นโยบายของรัฐ
[LCSH]ชุมชน -- การมีส่วนร่วมของประชาชน
[LCSH]ชุมชน -- การแก้ปัญหาKeywords: การพัฒนาชุมชน.
การจัดการชุมชน.
ข้าว.
นโยบายของรัฐ.Class number: WA100 ส743 2557 Contents note: 11 ตัวชี้วัด โรคอ้วน. -- 10 สถานการณ์เด่นทางสุขภาพ.-- 4 ผลงานดี ๆ เพื่อสุขภาพคนไทย.-- เรื่องพิเศษประจำฉบับ ชุมชนท้องถิ่นจัดการตนเอง สู่การปฎิรูปประเทศจากฐานราก.-- Curricular : BNS/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23813 Old book collection. สุขภาพคนไทย 2557 : ชุมชนท้องถิ่นจัดการตนเอง : สู่การปฏิรูปประเทศจากฐานราก [printed text] / มหาวิทยาลัยมหิดล. สถาบันวิจัยประชากรและสังคม, Author . - 2557 . - 120 หน้า : ภาพประกอบ ; 29 ซม.
ISBN : 978-6-16-279457-5 : บริจาค.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การจัดการชุมชน
[LCSH]การพัฒนาชุมชน -- การมีส่วนร่วมของประชาชน
[LCSH]การพัฒนาชุมชน -- ไทย
[LCSH]ข้าว -- นโยบายของรัฐ
[LCSH]ชุมชน -- การมีส่วนร่วมของประชาชน
[LCSH]ชุมชน -- การแก้ปัญหาKeywords: การพัฒนาชุมชน.
การจัดการชุมชน.
ข้าว.
นโยบายของรัฐ.Class number: WA100 ส743 2557 Contents note: 11 ตัวชี้วัด โรคอ้วน. -- 10 สถานการณ์เด่นทางสุขภาพ.-- 4 ผลงานดี ๆ เพื่อสุขภาพคนไทย.-- เรื่องพิเศษประจำฉบับ ชุมชนท้องถิ่นจัดการตนเอง สู่การปฎิรูปประเทศจากฐานราก.-- Curricular : BNS/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23813 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000399061 WA100 ส743 2557 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000399053 WA100 ส743 2557 c.1 Book Main Library Nursing Shelf Available Old book collection. โครงการฟื้นฟูและเยียวยา / สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ / กรุงเทพฯ : สำนักงาน ฯ - 2555
Collection Title: Old book collection Title : โครงการฟื้นฟูและเยียวยา : ผู้ประสบอุทกภัยหลังน้ำลด Material Type: printed text Authors: สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ, Author Publisher: กรุงเทพฯ : สำนักงาน ฯ Publication Date: 2555 Pagination: 72 หน้า. Layout: ภาพประกอบ. Size: 21 ซม. Price: บริจาค. General note: สนับสนุนโดยสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่าติ (วช) ประจำปีงบประมาณ 2554. Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ความเสียหายจากอุทกภัย -- ไทย
[LCSH]สุขภาพจิต -- การฟื้นฟูสมรรถภาพ -- ไทย
[LCSH]สุขภาพจิต -- ไทย
[LCSH]สุขภาพจิตชุมชน -- การบริการ
[LCSH]อุทกภัย -- แง่จิตวิทยา -- ไทยKeywords: อุทกภัย.
ความเสียหายจากอุทกภัย.
จิตวิทยา.
สุขภาพจิต.Class number: WM30.5 ส691 2555 Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24239 Old book collection. โครงการฟื้นฟูและเยียวยา : ผู้ประสบอุทกภัยหลังน้ำลด [printed text] / สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ, Author . - กรุงเทพฯ : สำนักงาน ฯ, 2555 . - 72 หน้า. : ภาพประกอบ. ; 21 ซม.
บริจาค.
สนับสนุนโดยสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่าติ (วช) ประจำปีงบประมาณ 2554.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ความเสียหายจากอุทกภัย -- ไทย
[LCSH]สุขภาพจิต -- การฟื้นฟูสมรรถภาพ -- ไทย
[LCSH]สุขภาพจิต -- ไทย
[LCSH]สุขภาพจิตชุมชน -- การบริการ
[LCSH]อุทกภัย -- แง่จิตวิทยา -- ไทยKeywords: อุทกภัย.
ความเสียหายจากอุทกภัย.
จิตวิทยา.
สุขภาพจิต.Class number: WM30.5 ส691 2555 Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24239 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000499879 WM30.5 ส691 2555 Book Main Library Library Counter Available SIU THE-T. การตลาดเชิงเศรษฐกิจสร้างสรรค์และกระบวนทัศน์การพัฒนากลุ่มอาชีพอย่างมีส่วนร่วม: ชุมชนต้นแบบภายใต้พื้นที่โครงการหลวง / สุธีมนต์ ทรงศิริโรจน์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2020
Collection Title: SIU THE-T Title : การตลาดเชิงเศรษฐกิจสร้างสรรค์และกระบวนทัศน์การพัฒนากลุ่มอาชีพอย่างมีส่วนร่วม: ชุมชนต้นแบบภายใต้พื้นที่โครงการหลวง Original title : Creative Economic Marketing and Participatory Development Paradigm: The Model Community of the Royal Project Material Type: printed text Authors: สุธีมนต์ ทรงศิริโรจน์, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; เฟื่องฟ้า อัมพรสถิร, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2020 Pagination: xix, 375 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: SOM-DBA-2020-03
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2563Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การพัฒนาชุมชน
[LCSH]การพัฒนาอาชีพ
[LCSH]เศรษฐกิจสร้างสรรค์Keywords: การพัฒนากลุ่มอาชีพ,
เศรษฐกิจสร้างสรรค์,
ชุมชนแม่จันใต้Abstract: การศึกษาวิจัยนี้เป็นการวิจัยแบบผสมผสานระหว่างวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยขับเคลื่อนเศรษฐกิจสร้างสรรค์และรูปแบบเส้นทางผู้บริโภคที่ส่งผลต่อการพัฒนาศักยภาพทางการตลาดที่สามารถสนองตอบต่อความต้องการตามสถานการณ์หรือสภาพแวดล้อมทางการตลาดยุคปัจจุบัน รวมถึงศึกษาบริบทชุมชนบ้านแม่จันใต้ ตำบลท่าก๊อ อำเภอแม่สรวย จังหวัดเชียงราย ซึ่งกำหนดเป็นชุมชนต้นแบบภายใต้พื้นที่โครงการหลวง และตลอดจนศึกษาคุณลักษณะ กระบวนการและรูปแบบการพัฒนากลุ่มอาชีพ ความคิดเห็นต่อการบริหารจัดการกลุ่มอาชีพของเกษตรกรในชุมชนต้นแบบ จากกลุ่มตัวอย่างที่ 1 เกษตรกรชุมชนต้นแบบ จำนวน 36 ครัวเรือน และกลุ่มตัวอย่างที่ 2 คือ ประชากร เพศชายและเพศหญิง อายุ 20 ปีขึ้นไปและเป็นผู้ที่มีประสบการณ์บริโภคผลิตภัณฑ์โครงการหลวง จำนวน 300 คน วิธีการสุ่มตัวอย่างในกลุ่มตัวอย่าง ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่าง โดยไม่อาศัยความน่าจะเป็น (Non-Probability Sampling) แบบเจาะจง (Purposive Sampling) โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ การหาค่าเฉลี่ยร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงแบนมาตรฐาน และทดสอบสมมุติฐานการวิจัยโดยการทดสอบความสัมพันธ์ของตัวแปร การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว One-Way ANOVA และการวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิสหสัมพันธ์ (Correlation Coefficient)
ผลการวิจัยพบว่าเกษตรกรในชุมชนต้นแบบมีความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดตั้งกลุ่มอาชีพอยู่ในระดับมากที่สุด มีความต้องการจัดตั้งกลุ่มอาชีพและมีระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับการบริหารจัดการกลุ่มอาชีพ (POSDCoRB) อยู่ในระดับมากที่สุด และผลการวิจัยด้านการตลาดเชิงเศรษฐกิจสร้างสรรค์ พบว่าผู้บริโภคกลุ่มเป้าหมาย มีความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยเศรษฐกิจสร้างสรรค์อยู่ในระดับมากที่สุด มีระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับการตลาด 4.0 เส้นทางผู้บริโภคอยู่ในระดับมาก ทั้งยังพบว่ารูปแบบของเส้นทางผู้บริโภคเป็น “รูปแบบทรัมเป็ต (Trumpet)” ผลการทดสอบสมมุติฐานการวิจัย พบว่า
1. ลักษะทางประชากรศาสตร์ที่แตกต่างกันทางด้านสถานะภาพและด้านประสบการณ์ทำงาน มีค่าเฉลี่ยของระดับความคิดเห็นต่อปัจจัยด้านเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative Economy) ที่แตกต่างกันในทุกปัจจัย อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05
2. ปัจจัยขับเคลื่อนเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative Economy) (1) ด้านความรู้และทรัพย์สินทางปัญญา ด้านขั้นตอนการพัฒนา มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับการรับรู้ปัญหา (Aware) (2) ด้านการสร้างสรรค์งาน การสร้างสรรค์ และด้านเทคโนโลยี/นวัตกรรมสมัยใหม่ มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับการประเมินทางเลือก (Appeal) (3) ด้านความรู้และทรัพย์สินทางปัญญา และ ด้านขั้นตอนการพัฒนา มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับการค้นหาข้อมูล (Ask) และ (4) ด้านเทคโนโลยี/นวัตกรรมสมัยใหม่ มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับการตัดสินใจซื้อ (Act)
การนำผลจากการศึกษาวิจัยเพื่อเป็นประโยชน์ในด้านการพัฒนารูปแบบกลุ่มอาชีพและเครือข่ายชุมชนโดยรอบ และเครือข่ายภายนอก ควรการสร้างกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันและรูปแบบการพัฒนากลุ่มอาชีพที่มุ่งเน้นการมีส่วนร่วมและใช้กระบวนการเรียนรู้เป็นยุทธศาสตร์การพัฒนา ซึ่งจะเป็นการเสริมสร้างปัจจัยอันจะเอื้อและก่อให้เกิดคุณลักษณะของธุรกิจชุมชนที่มีกรอบชัดเจน และมีความยั่งยืนมากยิ่งขึ้น พร้อมทั้งส่งเสริมการถ่ายทอดองค์ความรู้ ซึ่งควรเป็นไปในลักษณะของการจัดกิจกรรมเชิงปฏิบัติการร่วมกับการจัดการความรู้ในชุมชน (Knowledge Management) ควบคู่ไปกับการจัดให้มีระบบพี่เลี้ยงในระหว่างกระบวนการพัฒนาศักยภาพอย่างต่อเนื่องให้แก่ชุมชนด้วยอีกประการCurricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28046 SIU THE-T. การตลาดเชิงเศรษฐกิจสร้างสรรค์และกระบวนทัศน์การพัฒนากลุ่มอาชีพอย่างมีส่วนร่วม: ชุมชนต้นแบบภายใต้พื้นที่โครงการหลวง = Creative Economic Marketing and Participatory Development Paradigm: The Model Community of the Royal Project [printed text] / สุธีมนต์ ทรงศิริโรจน์, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; เฟื่องฟ้า อัมพรสถิร, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020 . - xix, 375 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: SOM-DBA-2020-03
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2563
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การพัฒนาชุมชน
[LCSH]การพัฒนาอาชีพ
[LCSH]เศรษฐกิจสร้างสรรค์Keywords: การพัฒนากลุ่มอาชีพ,
เศรษฐกิจสร้างสรรค์,
ชุมชนแม่จันใต้Abstract: การศึกษาวิจัยนี้เป็นการวิจัยแบบผสมผสานระหว่างวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยขับเคลื่อนเศรษฐกิจสร้างสรรค์และรูปแบบเส้นทางผู้บริโภคที่ส่งผลต่อการพัฒนาศักยภาพทางการตลาดที่สามารถสนองตอบต่อความต้องการตามสถานการณ์หรือสภาพแวดล้อมทางการตลาดยุคปัจจุบัน รวมถึงศึกษาบริบทชุมชนบ้านแม่จันใต้ ตำบลท่าก๊อ อำเภอแม่สรวย จังหวัดเชียงราย ซึ่งกำหนดเป็นชุมชนต้นแบบภายใต้พื้นที่โครงการหลวง และตลอดจนศึกษาคุณลักษณะ กระบวนการและรูปแบบการพัฒนากลุ่มอาชีพ ความคิดเห็นต่อการบริหารจัดการกลุ่มอาชีพของเกษตรกรในชุมชนต้นแบบ จากกลุ่มตัวอย่างที่ 1 เกษตรกรชุมชนต้นแบบ จำนวน 36 ครัวเรือน และกลุ่มตัวอย่างที่ 2 คือ ประชากร เพศชายและเพศหญิง อายุ 20 ปีขึ้นไปและเป็นผู้ที่มีประสบการณ์บริโภคผลิตภัณฑ์โครงการหลวง จำนวน 300 คน วิธีการสุ่มตัวอย่างในกลุ่มตัวอย่าง ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่าง โดยไม่อาศัยความน่าจะเป็น (Non-Probability Sampling) แบบเจาะจง (Purposive Sampling) โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ การหาค่าเฉลี่ยร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงแบนมาตรฐาน และทดสอบสมมุติฐานการวิจัยโดยการทดสอบความสัมพันธ์ของตัวแปร การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว One-Way ANOVA และการวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิสหสัมพันธ์ (Correlation Coefficient)
ผลการวิจัยพบว่าเกษตรกรในชุมชนต้นแบบมีความคิดเห็นเกี่ยวกับการจัดตั้งกลุ่มอาชีพอยู่ในระดับมากที่สุด มีความต้องการจัดตั้งกลุ่มอาชีพและมีระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับการบริหารจัดการกลุ่มอาชีพ (POSDCoRB) อยู่ในระดับมากที่สุด และผลการวิจัยด้านการตลาดเชิงเศรษฐกิจสร้างสรรค์ พบว่าผู้บริโภคกลุ่มเป้าหมาย มีความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยเศรษฐกิจสร้างสรรค์อยู่ในระดับมากที่สุด มีระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับการตลาด 4.0 เส้นทางผู้บริโภคอยู่ในระดับมาก ทั้งยังพบว่ารูปแบบของเส้นทางผู้บริโภคเป็น “รูปแบบทรัมเป็ต (Trumpet)” ผลการทดสอบสมมุติฐานการวิจัย พบว่า
1. ลักษะทางประชากรศาสตร์ที่แตกต่างกันทางด้านสถานะภาพและด้านประสบการณ์ทำงาน มีค่าเฉลี่ยของระดับความคิดเห็นต่อปัจจัยด้านเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative Economy) ที่แตกต่างกันในทุกปัจจัย อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05
2. ปัจจัยขับเคลื่อนเศรษฐกิจสร้างสรรค์ (Creative Economy) (1) ด้านความรู้และทรัพย์สินทางปัญญา ด้านขั้นตอนการพัฒนา มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับการรับรู้ปัญหา (Aware) (2) ด้านการสร้างสรรค์งาน การสร้างสรรค์ และด้านเทคโนโลยี/นวัตกรรมสมัยใหม่ มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับการประเมินทางเลือก (Appeal) (3) ด้านความรู้และทรัพย์สินทางปัญญา และ ด้านขั้นตอนการพัฒนา มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับการค้นหาข้อมูล (Ask) และ (4) ด้านเทคโนโลยี/นวัตกรรมสมัยใหม่ มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับการตัดสินใจซื้อ (Act)
การนำผลจากการศึกษาวิจัยเพื่อเป็นประโยชน์ในด้านการพัฒนารูปแบบกลุ่มอาชีพและเครือข่ายชุมชนโดยรอบ และเครือข่ายภายนอก ควรการสร้างกระบวนการเรียนรู้ร่วมกันและรูปแบบการพัฒนากลุ่มอาชีพที่มุ่งเน้นการมีส่วนร่วมและใช้กระบวนการเรียนรู้เป็นยุทธศาสตร์การพัฒนา ซึ่งจะเป็นการเสริมสร้างปัจจัยอันจะเอื้อและก่อให้เกิดคุณลักษณะของธุรกิจชุมชนที่มีกรอบชัดเจน และมีความยั่งยืนมากยิ่งขึ้น พร้อมทั้งส่งเสริมการถ่ายทอดองค์ความรู้ ซึ่งควรเป็นไปในลักษณะของการจัดกิจกรรมเชิงปฏิบัติการร่วมกับการจัดการความรู้ในชุมชน (Knowledge Management) ควบคู่ไปกับการจัดให้มีระบบพี่เลี้ยงในระหว่างกระบวนการพัฒนาศักยภาพอย่างต่อเนื่องให้แก่ชุมชนด้วยอีกประการCurricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28046 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607381 SIU THE-T: SOM-DBA-2020-03 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000607384 SIU THE-T: SOM-DBA-2020-03 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available SIU IS-T. การพัฒนาการสื่อสารภาษาอังกฤษในการปฏิบัติงาน ของข้าราชการตำรวจสายตรวจ 191 / พลภัทร พรหมท้าว / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2014
Collection Title: SIU IS-T Title : การพัฒนาการสื่อสารภาษาอังกฤษในการปฏิบัติงาน ของข้าราชการตำรวจสายตรวจ 191 Original title : Developing English Communication at Work for Police Officers of Patrol Division 191 Material Type: printed text Authors: พลภัทร พรหมท้าว, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2014 Pagination: viii, 65 หน้า Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-06
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ข้าราชการ -- การปฏิบัติงาน
[LCSH]ตำรวจ -- ไทย
[LCSH]ภาษาอังกฤษ -- การสื่อสารKeywords: การพัฒนาการสื่อสารภาษาอังกฤษ
ข้าราชการตำรวจกองกำกับการสายตรวจ191Abstract: ใน ปี พ.ศ. 2558 ประเทศไทยจะเข้าสู่ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) และตามยุทธศาสตร์การพัฒนาบุคลากรสำนักงานตำรวจแห่งชาติพัฒนาทักษะความเป็นสากลให้แก่ข้าราชการเพื่อส่งเสริมบทบาทของสำนักงานตำรวจแห่งชาติจึงมีความจำเป็นเร่งด่วนที่ต้องให้ความรู้เรื่องประชาคมอาเซียนให้แก่บุคลากรข้าราชการตำรวจเพื่อก้าวย่างเข้าสู่การเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในภูมิภาคอาเซียนและรองรับการให้บริการประชาชนและนักท่องเที่ยวชาวต่างประเทศ ในการศึกษาวิจัย เรื่อง การพัฒนาการสื่อสารภาษาอังกฤษของข้าราชการตำรวจกองกำกับการสายตรวจ 191 มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเข้าใจถึงการพัฒนาการสื่อสารภาษาอังกฤษและเพื่อศึกษาแนวทางในการนำไปพัฒนาการสื่อสารภาษาอังกฤษของข้าราชการตำรวจกองกำกับการสายตรวจ 191 Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26081 SIU IS-T. การพัฒนาการสื่อสารภาษาอังกฤษในการปฏิบัติงาน ของข้าราชการตำรวจสายตรวจ 191 = Developing English Communication at Work for Police Officers of Patrol Division 191 [printed text] / พลภัทร พรหมท้าว, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014 . - viii, 65 หน้า : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-06
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ข้าราชการ -- การปฏิบัติงาน
[LCSH]ตำรวจ -- ไทย
[LCSH]ภาษาอังกฤษ -- การสื่อสารKeywords: การพัฒนาการสื่อสารภาษาอังกฤษ
ข้าราชการตำรวจกองกำกับการสายตรวจ191Abstract: ใน ปี พ.ศ. 2558 ประเทศไทยจะเข้าสู่ประชาคมอาเซียน (ASEAN Community) และตามยุทธศาสตร์การพัฒนาบุคลากรสำนักงานตำรวจแห่งชาติพัฒนาทักษะความเป็นสากลให้แก่ข้าราชการเพื่อส่งเสริมบทบาทของสำนักงานตำรวจแห่งชาติจึงมีความจำเป็นเร่งด่วนที่ต้องให้ความรู้เรื่องประชาคมอาเซียนให้แก่บุคลากรข้าราชการตำรวจเพื่อก้าวย่างเข้าสู่การเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในภูมิภาคอาเซียนและรองรับการให้บริการประชาชนและนักท่องเที่ยวชาวต่างประเทศ ในการศึกษาวิจัย เรื่อง การพัฒนาการสื่อสารภาษาอังกฤษของข้าราชการตำรวจกองกำกับการสายตรวจ 191 มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเข้าใจถึงการพัฒนาการสื่อสารภาษาอังกฤษและเพื่อศึกษาแนวทางในการนำไปพัฒนาการสื่อสารภาษาอังกฤษของข้าราชการตำรวจกองกำกับการสายตรวจ 191 Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26081 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000506814 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-06 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000506897 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-06 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. การพัฒนากิจการตามแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมธุรกิจบริการสุขภาพ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ: กรณีศึกษา กิจการสปา เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร / กุลิสรา บริณตพงษ์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : การพัฒนากิจการตามแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมธุรกิจบริการสุขภาพ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ: กรณีศึกษา กิจการสปา เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร Original title : The Study on Business Development towards Strategic Plan for Health Service Promotion, Department of Health Service Support, Case Study: Spa Business in Wattana, Bangkok Material Type: printed text Authors: กุลิสรา บริณตพงษ์, Author ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name ; วรเดช จันทรศร, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: x, 108 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-08
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]บริหารธุรกิจ
[LCSH]แผนกลยุทธ์Keywords: การพัฒนา,
คุณภาพการให้บริการ,
กิจการสปาAbstract: การศึกษาการพัฒนากิจการตามแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมธุรกิจบริการสุขภาพ
กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ: กรณีศึกษา กิจการสปา เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการพัฒนากิจการและปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนากิจการตามแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมธุรกิจบริการสุขภาพ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ: กรณีศึกษา กิจการสปา เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร ประชากรในการศึกษาครั้งนี้ คือ ผู้ใช้บริการกิจการสปา เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร จำนวน 400 คน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล และคำนวณค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ต่อจากนั้นนำมาวิเคราะห์เพื่อทดสอบสมมติฐานแต่ละข้อดังนี้ การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ใช้การทดสอบไคสแควร์ ในส่วนกลยุทธ์ด้านการตลาดและบริหารงานต่อการพัฒนากิจการตามแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมธุรกิจบริการสุขภาพ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ: กรณีศึกษา กิจการสปา เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร ใช้สถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน
ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนมากเป็นเพศหญิง มีอายุมากกว่า 30-40 ปี สถานภาพสมรส ระดับการศึกษาปริญญาตรี อาชีพพนักงานบริษัทเอกชน (ร้อยละ 36.8) รายได้เฉลี่ยต่อเดือน 15,001 – 25,000 บาท กลยุทธ์ด้านการตลาดอยู่ระดับมาก การบริหารงาน อยู่ระดับมาก และการพัฒนากิจการตามแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมธุรกิจบริการสุขภาพ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ: กรณีศึกษา กิจการสปา เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร อยู่ระดับมาก การทดสอบสมมุติฐาน พบว่า ปัจจัยส่วนบุคคล ประกอบด้วย รายได้เฉลี่ยต่อเดือน กลยุทธ์ด้านการตลาด ประกอบด้วยด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ด้านการส่งเสริมการขาย และการบริหารงาน ประกอบด้วยด้านคุณภาพการบริการ ด้านการดูแลและติดตามผล ด้านนวัตกรรม ด้านสิ่งแวดล้อม และด้านความพึงพอใจมีความสัมพันธ์กับการพัฒนากิจการตามแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมธุรกิจบริการสุขภาพ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ: กรณีศึกษา กิจการสปา เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05
ข้อเสนอแนะในการวิจัย เพื่อเป็นการยกระดับกิจการสปาให้ได้มาตรฐานและเป็นที่ยอมรับทั้งภายในและต่างประเทศ ควรมีโครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกิจการสปาเพื่อส่งเสริมกิจการสปา (ความรู้พื้นฐานที่จำเป็นต้องได้รับการพัฒนา) โครงการสัมมนาวิชาการด้านบริการส่งเสริมสุขภาพแบบองค์รวมระดับประเทศ (เช่น การประชุมวิชาการประจำปี/การสัมมนาสปานานาชาติ/การศึกษาดูงาน/การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เป็นต้น) และโครงการตรวจประเมินและรับรองหลักสูตรฯ
Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26721 SIU IS-T. การพัฒนากิจการตามแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมธุรกิจบริการสุขภาพ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ: กรณีศึกษา กิจการสปา เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร = The Study on Business Development towards Strategic Plan for Health Service Promotion, Department of Health Service Support, Case Study: Spa Business in Wattana, Bangkok [printed text] / กุลิสรา บริณตพงษ์, Author ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name ; วรเดช จันทรศร, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - x, 108 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-08
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]บริหารธุรกิจ
[LCSH]แผนกลยุทธ์Keywords: การพัฒนา,
คุณภาพการให้บริการ,
กิจการสปาAbstract: การศึกษาการพัฒนากิจการตามแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมธุรกิจบริการสุขภาพ
กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ: กรณีศึกษา กิจการสปา เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการพัฒนากิจการและปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนากิจการตามแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมธุรกิจบริการสุขภาพ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ: กรณีศึกษา กิจการสปา เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร ประชากรในการศึกษาครั้งนี้ คือ ผู้ใช้บริการกิจการสปา เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร จำนวน 400 คน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล และคำนวณค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ต่อจากนั้นนำมาวิเคราะห์เพื่อทดสอบสมมติฐานแต่ละข้อดังนี้ การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ใช้การทดสอบไคสแควร์ ในส่วนกลยุทธ์ด้านการตลาดและบริหารงานต่อการพัฒนากิจการตามแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมธุรกิจบริการสุขภาพ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ: กรณีศึกษา กิจการสปา เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร ใช้สถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน
ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนมากเป็นเพศหญิง มีอายุมากกว่า 30-40 ปี สถานภาพสมรส ระดับการศึกษาปริญญาตรี อาชีพพนักงานบริษัทเอกชน (ร้อยละ 36.8) รายได้เฉลี่ยต่อเดือน 15,001 – 25,000 บาท กลยุทธ์ด้านการตลาดอยู่ระดับมาก การบริหารงาน อยู่ระดับมาก และการพัฒนากิจการตามแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมธุรกิจบริการสุขภาพ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ: กรณีศึกษา กิจการสปา เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร อยู่ระดับมาก การทดสอบสมมุติฐาน พบว่า ปัจจัยส่วนบุคคล ประกอบด้วย รายได้เฉลี่ยต่อเดือน กลยุทธ์ด้านการตลาด ประกอบด้วยด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ด้านการส่งเสริมการขาย และการบริหารงาน ประกอบด้วยด้านคุณภาพการบริการ ด้านการดูแลและติดตามผล ด้านนวัตกรรม ด้านสิ่งแวดล้อม และด้านความพึงพอใจมีความสัมพันธ์กับการพัฒนากิจการตามแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมธุรกิจบริการสุขภาพ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ: กรณีศึกษา กิจการสปา เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05
ข้อเสนอแนะในการวิจัย เพื่อเป็นการยกระดับกิจการสปาให้ได้มาตรฐานและเป็นที่ยอมรับทั้งภายในและต่างประเทศ ควรมีโครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกิจการสปาเพื่อส่งเสริมกิจการสปา (ความรู้พื้นฐานที่จำเป็นต้องได้รับการพัฒนา) โครงการสัมมนาวิชาการด้านบริการส่งเสริมสุขภาพแบบองค์รวมระดับประเทศ (เช่น การประชุมวิชาการประจำปี/การสัมมนาสปานานาชาติ/การศึกษาดูงาน/การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เป็นต้น) และโครงการตรวจประเมินและรับรองหลักสูตรฯ
Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26721 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000593267 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-08 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. การพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง / นริดา อินนาค
Collection Title: SIU THE-T Title : การพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง Original title : Quality of Life Development of the Elderly at Lampang Province Material Type: printed text Authors: นริดา อินนาค, Author Pagination: xi, 154 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-12
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]คุณภาพชีวิต -- การพัฒนา
[LCSH]คุณภาพชีวิต -- ผู้สูงอายุ -- ลำปางKeywords: การพัฒนา, คุณภาพชีวิต, ผู้สูงอายุ Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษาระดับประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง 3) เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง และ 4) เพื่อศึกษาปัญหา อุปสรรค และความต้องการของผู้สูงอายุเพื่อประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง ระเบียบวิธีวิจัยเป็นแบบผสานวิธี ประกอบด้วยการวิจัยเชิงปริมาณ โดยการวิจัยเชิงสำรวจ เก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถามจากผู้สูงอายุที่อาศัยในจังหวัดลำปาง จำนวน 400 คน เครื่องมือการวิจัยเป็นแบบสอบถาม เป็นคำถามปลายปิด สถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และค่าการถดถอยเชิงพหุคูณ และการวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยการสัมภาษณ์ เชิงลึก ผู้ให้ข้อมูล จำนวน 20 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหาเชิงพรรณา
ผลการวิจัยพบว่า
1) ประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านการศึกษาเรียนรู้ตลอดชีวิต มีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมา คือ ด้านสุขภาพและอนามัยผู้สูงอายุ และด้านส่งเสริมการมีงานทำและความมั่นคงทางรายได้ ตามลำดับ 2) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง พบว่า ตัวแปรอิสระทั้ง 4 มีความสัมพันธ์ทางบวกกับประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง เมื่อพิจารณาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เรียงจากมากไปหาน้อย พบว่า ปัจจัยการสนับสนุนจากครอบครัวผู้สูงอายุ มีความสัมพันธ์ในระดับมาก รองลงมาปัจจัยการสนับสนุนจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีความสัมพันธ์ในระดับมาก อันดับที่สามปัจจัยการสนับสนุนจากรัฐบาลกลาง มีความสัมพันธ์ในระดับปานกลาง และปัจจัยการสนับสุนจากชุมชนและสังคมมีความสัมพันธ์ระดับต่ำ ตามลำดับ
3) ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง ประกอบด้วย 4 ปัจจัย คือ ปัจจัยการสนับสนุนจากครอบครัวผู้สูงอายุปัจจัยการสนับสนุนจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ปัจจัยการสนับสนุนจากรัฐบาลกลาง และปัจจัยการสนับสนุนจากชุมชนและสังคม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.01 สามารถพยากรณ์ประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุได้รัอยละ 72.70 ในเชิงบวก
4) ปัญหา อุปสรรค และความต้องการของผู้สูงอายุเพื่อประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง คือ การสนับสนุนให้ผู้สูงอายุระยะต้น ให้ทำงานตามความถนัดของตนเอง การปรับปรุงนโยบายด้านสาธารณสุข การบริการทางการแพทย์ การอำนวยความสะดวกด้านต่างๆ สำหรับผู้สูงอายุ และผู้สูงอายุต้องการได้รับเบี้ยยังชีพเพิ่มขึ้นเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตตนเองให้ดีขึ้นCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27949 SIU THE-T. การพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง = Quality of Life Development of the Elderly at Lampang Province [printed text] / นริดา อินนาค, Author . - [s.d.] . - xi, 154 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-12
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]คุณภาพชีวิต -- การพัฒนา
[LCSH]คุณภาพชีวิต -- ผู้สูงอายุ -- ลำปางKeywords: การพัฒนา, คุณภาพชีวิต, ผู้สูงอายุ Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) เพื่อศึกษาระดับประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง 3) เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง และ 4) เพื่อศึกษาปัญหา อุปสรรค และความต้องการของผู้สูงอายุเพื่อประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง ระเบียบวิธีวิจัยเป็นแบบผสานวิธี ประกอบด้วยการวิจัยเชิงปริมาณ โดยการวิจัยเชิงสำรวจ เก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถามจากผู้สูงอายุที่อาศัยในจังหวัดลำปาง จำนวน 400 คน เครื่องมือการวิจัยเป็นแบบสอบถาม เป็นคำถามปลายปิด สถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และค่าการถดถอยเชิงพหุคูณ และการวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยการสัมภาษณ์ เชิงลึก ผู้ให้ข้อมูล จำนวน 20 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหาเชิงพรรณา
ผลการวิจัยพบว่า
1) ประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านการศึกษาเรียนรู้ตลอดชีวิต มีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมา คือ ด้านสุขภาพและอนามัยผู้สูงอายุ และด้านส่งเสริมการมีงานทำและความมั่นคงทางรายได้ ตามลำดับ 2) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง พบว่า ตัวแปรอิสระทั้ง 4 มีความสัมพันธ์ทางบวกกับประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง เมื่อพิจารณาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เรียงจากมากไปหาน้อย พบว่า ปัจจัยการสนับสนุนจากครอบครัวผู้สูงอายุ มีความสัมพันธ์ในระดับมาก รองลงมาปัจจัยการสนับสนุนจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีความสัมพันธ์ในระดับมาก อันดับที่สามปัจจัยการสนับสนุนจากรัฐบาลกลาง มีความสัมพันธ์ในระดับปานกลาง และปัจจัยการสนับสุนจากชุมชนและสังคมมีความสัมพันธ์ระดับต่ำ ตามลำดับ
3) ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง ประกอบด้วย 4 ปัจจัย คือ ปัจจัยการสนับสนุนจากครอบครัวผู้สูงอายุปัจจัยการสนับสนุนจากองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ปัจจัยการสนับสนุนจากรัฐบาลกลาง และปัจจัยการสนับสนุนจากชุมชนและสังคม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.01 สามารถพยากรณ์ประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุได้รัอยละ 72.70 ในเชิงบวก
4) ปัญหา อุปสรรค และความต้องการของผู้สูงอายุเพื่อประสิทธิผลการพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง คือ การสนับสนุนให้ผู้สูงอายุระยะต้น ให้ทำงานตามความถนัดของตนเอง การปรับปรุงนโยบายด้านสาธารณสุข การบริการทางการแพทย์ การอำนวยความสะดวกด้านต่างๆ สำหรับผู้สูงอายุ และผู้สูงอายุต้องการได้รับเบี้ยยังชีพเพิ่มขึ้นเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตตนเองให้ดีขึ้นCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27949 SIU THE-T. การพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ ในโครงการงานสังคมสงเคราะห์เครือข่ายพระมหาไถ่ (บาทหลวงเรย์มอนด์ เอ เบรนนัน) / เกศสุดา อินทร์สาหร่าย / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2020
Collection Title: SIU THE-T Title : การพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ ในโครงการงานสังคมสงเคราะห์เครือข่ายพระมหาไถ่ (บาทหลวงเรย์มอนด์ เอ เบรนนัน) Original title : The Development of the Quality of Life of the Disabled in the Social Network Project of the Redemptorist Foundation for People with Disabilities (Father Raymond A. Brennan) Material Type: printed text Authors: เกศสุดา อินทร์สาหร่าย, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2020 Pagination: xi, 216 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-01
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]คุณภาพชีวิต -- คนพิการ
[LCSH]บริการสังคมKeywords: การพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ,
เครือข่ายพระมหาไถ่ (บาทหลวงเรย์มอนด์ เอ เบรนนัน)Abstract: การวิจัยเรื่องการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการในโครงการงานสังคมสงเคราะห์เครือข่าย พระมหาไถ่ (บาทหลวงเรย์มอนด์ เอ เบรนนัน) เป็นงานวิจัยที่มุ่งเน้นให้เกิดการพัฒนาคนพิการให้สามารถพึ่งพาตนเอง และเป็นแนวทางในการช่วยให้คนพิการที่เพิ่มขึ้นเป็นจำนวนมากมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นสามารถอยู่ในสังคมได้อย่างอิสระ เสมอภาค เท่าเทียมกับบุคคลทั่ว ๆ เพื่อเป็นแนวทางสามารถในการนำชุดความรู้นี้ไปใช้กับหน่วยงานอื่นต่อไป
การศึกษาวิจัยครั้งนี้ เป็นการศึกษาวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Method Research) โดยการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative research) และการวิชัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) โดยมีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1. เพื่อศึกษาปัญหาของการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการในงานสังคมสงเคราะห์เครือข่ายพระมหาไถ่ (บาทหลวงเรย์มอนด์ เอ เบรนนัน) 2. เพื่อศึกษาสาเหตุของปัญหาของการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการในงานสังคมสงเคราะห์เครือข่ายพระมหาไถ่ (บาทหลวงเรย์มอนด์ เอ เบรนนัน) 3. เพื่อศึกษาและเสนอวิธีการแก้ไขปัญหาและข้อเสนอแนะการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการในงานสังคมสงเคราะห์เครือข่ายพระมหาไถ่ (บาทหลวงเรย์มอนด์ เอ เบรนนัน) 4. เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการในงานสังคมสงเคราะห์เครือข่ายพระมหาไถ่ (บาทหลวง เรย์มอนด์ เอ เบรนนัน)
ผลการวิจัย ปัจจัยด้านพฤติกรรมของครอบครัว พบว่าครอบครัวต้องเข้าใจความรู้สึกทางด้านสภาพจิตใจของคนพิการ ยอมรับสภาพความพิการ และสร้างความเข็มแข็งโดยการให้คนพิการเห็นคุณค่าในตนเองพร้อมที่จะเรียนรู้การอยู่ด้วยตนเอง ปัจจัยด้านความร่วมมือขององค์กรในเครือข่าย พบว่าการสนับสนุนของภาครัฐไม่เพียงพอและไม่ตรงตามเป้าหมายความต้องการของคนพิการ ดังนั้นสิ่งที่สำคัญต่อการสนับสนุนให้องค์กรคนพิการหรือตัวคนพิการต้องยึดหลักการส่งเสริมโดยเน้นความสำคัญต่อการพัฒนาศักยภาพความจำเป็นต่อการดำรงชีวิตของคนพิการเป็นสำคัญ ปัจจัยด้านการจัดการศึกษา การอบรม พบว่าหลักสูตรการเรียนการสอนไม่ตรงกับความต้องการตลาดแรงงาน ส่งผลให้การนำความรู้ในห้องเรียนมาปฏิบัติจริงยังไม่สามารถตอบโจทย์องค์กรที่จ้างแรงงานคนพิการในตลาดแรงงานในสังคมปัจจุบัน รวมทั้งการพัฒนาคนพิการสู่นักกีฬาอาชีพยังไม่มีหลักประกัน มาตรฐานค่าตอบแทนและขาดนักวิเคราะห์ที่มีความเชี่ยวชาญด้านวิทยาศาสตร์การกีฬาเข้ามาช่วยเหลือคนพิการ ดังนั้นควรกระตุ้นระบบการศึกษาไทยจะก่อให้เกิดการพัฒนาคนพิการให้เป็นคนที่มีศักยภาพทางการศึกษาพร้อมต่อการออกสู่สังคมในวัยทำงาน สุดท้ายปัจจัยด้านพัฒนาทักษะชีวิตในการอยู่ร่วมกับสังคม พบว่าคนพิการมีความรู้สึกว่ามีความเลื่อมล้ำ ขาดความเสมอภาค การให้บริการระหว่างคนพิการกับคนปกติ ดังนั้นการสนับสนุนทางสังคมที่ทำให้คนพิการรู้สึกมีคุณค่าต้องตระหนักตั้งแต่ระดับชุมชนเพราะเป็นกลุ่มที่อยู่ใกล้ชิดกับคนพิการลำดับแรกเพื่อส่งเสริมการอยู่ร่วมกันในสังคมระหว่างคนปกติและคนพิการCurricular : MPA/DPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28108 SIU THE-T. การพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ ในโครงการงานสังคมสงเคราะห์เครือข่ายพระมหาไถ่ (บาทหลวงเรย์มอนด์ เอ เบรนนัน) = The Development of the Quality of Life of the Disabled in the Social Network Project of the Redemptorist Foundation for People with Disabilities (Father Raymond A. Brennan) [printed text] / เกศสุดา อินทร์สาหร่าย, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020 . - xi, 216 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-01
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]คุณภาพชีวิต -- คนพิการ
[LCSH]บริการสังคมKeywords: การพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ,
เครือข่ายพระมหาไถ่ (บาทหลวงเรย์มอนด์ เอ เบรนนัน)Abstract: การวิจัยเรื่องการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการในโครงการงานสังคมสงเคราะห์เครือข่าย พระมหาไถ่ (บาทหลวงเรย์มอนด์ เอ เบรนนัน) เป็นงานวิจัยที่มุ่งเน้นให้เกิดการพัฒนาคนพิการให้สามารถพึ่งพาตนเอง และเป็นแนวทางในการช่วยให้คนพิการที่เพิ่มขึ้นเป็นจำนวนมากมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นสามารถอยู่ในสังคมได้อย่างอิสระ เสมอภาค เท่าเทียมกับบุคคลทั่ว ๆ เพื่อเป็นแนวทางสามารถในการนำชุดความรู้นี้ไปใช้กับหน่วยงานอื่นต่อไป
การศึกษาวิจัยครั้งนี้ เป็นการศึกษาวิจัยแบบผสมผสาน (Mixed Method Research) โดยการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative research) และการวิชัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) โดยมีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1. เพื่อศึกษาปัญหาของการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการในงานสังคมสงเคราะห์เครือข่ายพระมหาไถ่ (บาทหลวงเรย์มอนด์ เอ เบรนนัน) 2. เพื่อศึกษาสาเหตุของปัญหาของการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการในงานสังคมสงเคราะห์เครือข่ายพระมหาไถ่ (บาทหลวงเรย์มอนด์ เอ เบรนนัน) 3. เพื่อศึกษาและเสนอวิธีการแก้ไขปัญหาและข้อเสนอแนะการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการในงานสังคมสงเคราะห์เครือข่ายพระมหาไถ่ (บาทหลวงเรย์มอนด์ เอ เบรนนัน) 4. เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการในงานสังคมสงเคราะห์เครือข่ายพระมหาไถ่ (บาทหลวง เรย์มอนด์ เอ เบรนนัน)
ผลการวิจัย ปัจจัยด้านพฤติกรรมของครอบครัว พบว่าครอบครัวต้องเข้าใจความรู้สึกทางด้านสภาพจิตใจของคนพิการ ยอมรับสภาพความพิการ และสร้างความเข็มแข็งโดยการให้คนพิการเห็นคุณค่าในตนเองพร้อมที่จะเรียนรู้การอยู่ด้วยตนเอง ปัจจัยด้านความร่วมมือขององค์กรในเครือข่าย พบว่าการสนับสนุนของภาครัฐไม่เพียงพอและไม่ตรงตามเป้าหมายความต้องการของคนพิการ ดังนั้นสิ่งที่สำคัญต่อการสนับสนุนให้องค์กรคนพิการหรือตัวคนพิการต้องยึดหลักการส่งเสริมโดยเน้นความสำคัญต่อการพัฒนาศักยภาพความจำเป็นต่อการดำรงชีวิตของคนพิการเป็นสำคัญ ปัจจัยด้านการจัดการศึกษา การอบรม พบว่าหลักสูตรการเรียนการสอนไม่ตรงกับความต้องการตลาดแรงงาน ส่งผลให้การนำความรู้ในห้องเรียนมาปฏิบัติจริงยังไม่สามารถตอบโจทย์องค์กรที่จ้างแรงงานคนพิการในตลาดแรงงานในสังคมปัจจุบัน รวมทั้งการพัฒนาคนพิการสู่นักกีฬาอาชีพยังไม่มีหลักประกัน มาตรฐานค่าตอบแทนและขาดนักวิเคราะห์ที่มีความเชี่ยวชาญด้านวิทยาศาสตร์การกีฬาเข้ามาช่วยเหลือคนพิการ ดังนั้นควรกระตุ้นระบบการศึกษาไทยจะก่อให้เกิดการพัฒนาคนพิการให้เป็นคนที่มีศักยภาพทางการศึกษาพร้อมต่อการออกสู่สังคมในวัยทำงาน สุดท้ายปัจจัยด้านพัฒนาทักษะชีวิตในการอยู่ร่วมกับสังคม พบว่าคนพิการมีความรู้สึกว่ามีความเลื่อมล้ำ ขาดความเสมอภาค การให้บริการระหว่างคนพิการกับคนปกติ ดังนั้นการสนับสนุนทางสังคมที่ทำให้คนพิการรู้สึกมีคุณค่าต้องตระหนักตั้งแต่ระดับชุมชนเพราะเป็นกลุ่มที่อยู่ใกล้ชิดกับคนพิการลำดับแรกเพื่อส่งเสริมการอยู่ร่วมกันในสังคมระหว่างคนปกติและคนพิการCurricular : MPA/DPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28108 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607328 SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-01 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available 32002000607326 SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-01 c.2 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐม / ศรีสุดา มีชำนาญ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2019
Collection Title: SIU THE-T Title : การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐม Original title : Development of the Quality of Life for the Elderly In the Local Administrative Organizations In the Nakhonpathom Province Material Type: printed text Authors: ศรีสุดา มีชำนาญ, Author Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2019 Pagination: xi, 153 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-10
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]คุณภาพชีวิต -- การพัฒนา
[LCSH]ผู้สูงอายุ -- คุณภาพชีวิต -- นครปฐมKeywords: การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ,
คุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ,
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นAbstract: การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐม 2) ศึกษาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐม 3) เปรียบเทียบการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐม จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล 4) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุกับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดนครปฐม และ 5) เสนอแนวทางในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐม ผู้วิจัยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงปริมาณและการวิจัยเชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ผู้สูงอายุ จำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ ได้แก่ ผู้บริหารขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอละ 3 แห่ง รวมทั้งสิ้น 21 คน ใช้การสัมภาษณ์เจาะลึกบุคคลแบบมีโครงสร้าง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์เนื้อหา
ผลการวิจัย พบว่า การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐมโดยรวมอยู่ในระดับมาก โดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อยดังนี้ ด้านสภาพแวดล้อมทางสังคม ด้านสมรรถนะของหน่วยงาน ด้านความชัดเจนในเป้าหมายและวัตถุประสงค์ ด้านความพร้อมด้านทรัพยากร และด้านความร่วมมือและสนับสนุนจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
คุณภาพชีวิตผู้สูงอายุโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง โดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อยดังนี้ ด้านการบริหารจัดการระบบพัฒนาคุณภาพชีวิต ด้านการอยู่ร่วมกันและการเสริมสร้างความเข้มแข็งด้านองค์กรด้านผู้สูงอายุ ด้านสุขภาพอนามัย และด้านการส่งเสริมอาชีพหรือรายได้ของผู้สูงอายุ
ผู้สูงอายุที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา และรายได้ต่อเดือนต่างกันมีความคิดเห็นต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนอาชีพ ไม่พบความแตกต่างกัน
การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐมด้านความพร้อมด้านทรัพยากร ด้านความร่วมมือและการสนับสนุนจากหน่วยที่เกี่ยวข้อง ด้านสภาพแวดล้อมทางสังคม และด้านความชัดเจนในเป้าหมายและวัตถุประสงค์ของนโยบายสามารถร่วมกันทำนายคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐม ได้ร้อยละ 69.2
แนวทางในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในจังหวัดนครปฐม ได้แก่ 1) ขับเคลื่อนการดำเนินงานระบบส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาวเพื่อการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะติดบ้านและติดเตียง 2) จัดตั้งโรงเรียนผู้สูงอายุเพื่อให้กลุ่มผู้สูงอายุที่ติดสังคมได้มีกิจกรรมร่วมกัน 3) จัดตั้งกองทุนผู้สูงอายุเพื่อเป็นแหล่งเงินทุนหมุนเวียนในการประกอบอาชีพ และ 4) การมอบหมายให้มีหน่วยงานภายในขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้ดูแลรับผิดชอบงานผู้สูงอายุโดยตรง เช่น กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมและกองสวัสดิการสังคม
ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐม ได้แก่ 1) จัดให้มีจำนวนบุคลากรที่เพียงพอในการนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติ 2) สร้างความร่วมมือระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกับผู้นำท้องที่ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ 3) ให้ความสำคัญกับการศึกษาสภาพสังคมและวิถีการดำรงชีวิตของคนในพื้นที่ และ 4) กำหนดเป้าหมายในการปฏิบัติงานด้านผู้สูงอายุให้มีความสอดคล้องกับนโยบายการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในระดับชาติCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27947 SIU THE-T. การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐม = Development of the Quality of Life for the Elderly In the Local Administrative Organizations In the Nakhonpathom Province [printed text] / ศรีสุดา มีชำนาญ, Author . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019 . - xi, 153 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-10
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]คุณภาพชีวิต -- การพัฒนา
[LCSH]ผู้สูงอายุ -- คุณภาพชีวิต -- นครปฐมKeywords: การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ,
คุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ,
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นAbstract: การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐม 2) ศึกษาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐม 3) เปรียบเทียบการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐม จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล 4) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุกับคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดนครปฐม และ 5) เสนอแนวทางในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐม ผู้วิจัยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงปริมาณและการวิจัยเชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ผู้สูงอายุ จำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผู้ให้ข้อมูลสำคัญ ได้แก่ ผู้บริหารขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอละ 3 แห่ง รวมทั้งสิ้น 21 คน ใช้การสัมภาษณ์เจาะลึกบุคคลแบบมีโครงสร้าง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์เนื้อหา
ผลการวิจัย พบว่า การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐมโดยรวมอยู่ในระดับมาก โดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อยดังนี้ ด้านสภาพแวดล้อมทางสังคม ด้านสมรรถนะของหน่วยงาน ด้านความชัดเจนในเป้าหมายและวัตถุประสงค์ ด้านความพร้อมด้านทรัพยากร และด้านความร่วมมือและสนับสนุนจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
คุณภาพชีวิตผู้สูงอายุโดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง โดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อยดังนี้ ด้านการบริหารจัดการระบบพัฒนาคุณภาพชีวิต ด้านการอยู่ร่วมกันและการเสริมสร้างความเข้มแข็งด้านองค์กรด้านผู้สูงอายุ ด้านสุขภาพอนามัย และด้านการส่งเสริมอาชีพหรือรายได้ของผู้สูงอายุ
ผู้สูงอายุที่มีเพศ อายุ ระดับการศึกษา และรายได้ต่อเดือนต่างกันมีความคิดเห็นต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วนอาชีพ ไม่พบความแตกต่างกัน
การพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐมด้านความพร้อมด้านทรัพยากร ด้านความร่วมมือและการสนับสนุนจากหน่วยที่เกี่ยวข้อง ด้านสภาพแวดล้อมทางสังคม และด้านความชัดเจนในเป้าหมายและวัตถุประสงค์ของนโยบายสามารถร่วมกันทำนายคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐม ได้ร้อยละ 69.2
แนวทางในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในจังหวัดนครปฐม ได้แก่ 1) ขับเคลื่อนการดำเนินงานระบบส่งเสริมสุขภาพดูแลผู้สูงอายุระยะยาวเพื่อการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะติดบ้านและติดเตียง 2) จัดตั้งโรงเรียนผู้สูงอายุเพื่อให้กลุ่มผู้สูงอายุที่ติดสังคมได้มีกิจกรรมร่วมกัน 3) จัดตั้งกองทุนผู้สูงอายุเพื่อเป็นแหล่งเงินทุนหมุนเวียนในการประกอบอาชีพ และ 4) การมอบหมายให้มีหน่วยงานภายในขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้ดูแลรับผิดชอบงานผู้สูงอายุโดยตรง เช่น กองสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อมและกองสวัสดิการสังคม
ข้อเสนอแนะเชิงนโยบายการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุให้กับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดนครปฐม ได้แก่ 1) จัดให้มีจำนวนบุคลากรที่เพียงพอในการนำนโยบายไปสู่การปฏิบัติ 2) สร้างความร่วมมือระหว่างองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกับผู้นำท้องที่ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ 3) ให้ความสำคัญกับการศึกษาสภาพสังคมและวิถีการดำรงชีวิตของคนในพื้นที่ และ 4) กำหนดเป้าหมายในการปฏิบัติงานด้านผู้สูงอายุให้มีความสอดคล้องกับนโยบายการพัฒนาคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุในระดับชาติCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27947 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607966 SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-10 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available 32002000607963 SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-10 c.2 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available Readers who borrowed this document also borrowed:
Strategies of qualitative inquiry Denzin,, Norman K. Qualitative research practice Lewis,, Jane (1962-) Archaeology of knowledge Foucault,, Michel