From this page you can:
Home |
Search results
6 result(s) search for keyword(s) 'ประวัิติศาสตร์ท้องถิ่น. ชื่อภูิมิศาสตร์. เชียงใหม่. ภาคเหนือ.'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
ชื่อบ้านนามเมือง : จังหวัดเชียงใหม่มาจากไหน / สุจิตต์ วงษ์เทศ / กรมส่งเสริมวัฒนธรรม - 2554
Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000383933 DS589.C5 ส752 2554 c.1 Book Main Library General Shelf Available 32002000383925 DS589.C5 ส752 2554 c.2 Book Main Library General Shelf Available SIU THE-T. ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จของรูปแบบการปราบปรามยาเสพติดในเขตภาคเหนือตอนบน / ธานี ตันจันทร์กูล / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2019
Collection Title: SIU THE-T Title : ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จของรูปแบบการปราบปรามยาเสพติดในเขตภาคเหนือตอนบน Original title : Influencing Factors Upon the Achievement of Narcotic Prevention and Suppression Pattern in the Upper Northern Thailand Material Type: printed text Authors: ธานี ตันจันทร์กูล, Author ; พิภพ วชังเงิน, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2019 Pagination: viii, 194 น. Layout: ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-08
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ยาเสพติด -- การป้องกัน -- ภาคเหนือ Keywords: การปราบปรามยาเสพติด,
ภาคเหนือตอนบนAbstract: งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสถานการณ์เกี่ยวกับยาเสพติดในเขตภาคเหนือตอนบน 2) ศึกษารูปแบบการกระทำความผิดเกี่ยวกับยาเสพติดในเขตภาคเหนือตอนบน 3) เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จของรูปแบบการปราบปรามยาเสพติดในเขตภาคเหนือตอนบน และ 4) เพื่อศึกษารูปแบบการปราบปรามยาเสพติดที่ประสบความสำเร็จในเขตภาคเหนือตอนบน
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยผู้วิจัยได้อาศัยวิธีดำเนินการวิจัยเชิงคุณภาพโดยศึกษาเอกสาร และสัมภาษณ์เชิงลึกเจ้าหน้าที่ตำรวจจำนวน 4 นาย และ ผู้กระทำความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด จำนวน 4 คน และสนทนากลุ่มเจ้าหน้าที่ตำรวจที่ปฏิบัติหน้าที่และมีความรับผิดชอบโดยตรงเกี่ยวกับการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดจำนวน 6 นาย และการสนทนากลุ่มผู้กระทำผิดเกี่ยวกับยาเสพติดจำนวน 6 คน รวมทั้งสิ้น 20 คน ใช้การสังเกตการณ์ควบคู่ไปกับการลงพื้นที่เก็บข้อมูล หลังจากนั้นวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ประเด็นจากการสัมภาษณ์รวมถึงการสนทนากลุ่ม และมีการอภิปรายผลการวิจัย
ผลการวิจัยพบว่า
1) สถานการณ์ยาเสพติดรุนแรงขึ้นทุกด้าน ทั้งด้านการผลิตที่สามารถผลิตได้มากขึ้นเพราะมีเครื่องมือที่ทันสมัยและแหล่งผลิตรายใหญ่อยู่บริเวณรัฐฉาน สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่าและบริเวณสามเหลี่ยมทองคำ สถานการณ์ด้านลักลอบนำเข้ายาเสพติดกลุ่มคนที่ลักลอบนำเข้ายาเสพติดเข้าสู่ประเทศไทยส่วนใหญ่จะเป็นกลุ่มชนเผ่า ที่อาศัยอยู่ตามแนวตะเข็บชายแดนในภาคเหนือมีทั้งในระดับสั่งการและลำเลียงนำเข้ายาเสพติดเข้าสู่ประเทศไทยมีทั้งหมดหกกลุ่มคือกลุ่มมูเซอ กลุ่มลีซอ กลุ่มจีนฮ่อ กลุ่มอาข่า กลุ่มม้งและกลุ่มว้า สถานการณ์ ด้านการรับพักยาเสพติดแหล่งพักยาแหล่งใหญ่ ก่อนนำเข้าสู่ชายแดนประเทศไทย ก็จะมีแหล่งพักยาเสพติดอยู่ที่ สปป. ลาว ได้แก่แหล่งพักคอยคิงส์โรมัน เมืองต้นผึ้ง แขวงบ่อแก้ว สปป. ลาว และเมื่อเข้ามายังพื้นที่ชายแดนประเทศไทย จะเก็บพักในบ้าน หรือโกดังขนาดใหญ่ในชายแดนไทย สถานการณ์ด้านการขายยาเสพติดกลุ่มที่นักค้ายารายใหญ่ในภาคเหนือตอนบนมีหลายกลุ่ม กลุ่มหลัก คือ กลุ่มพันโทจะลอโบ่ บ้านแม่ฟ้าหลวง กลุ่มพันโทยี่เซและกลุ่มว้า สำหรับสถานณ์การเสพยาเสพติดที่มีการนิยมเสพยาเสพติดมากที่สุดคือยาบ้า โดยกลุ่มผู้เสพยาเสพติดมากที่สุดคือกลุ่มผู้ใช้แรงงาน
2) รูปแบบการกระทำความผิดเกี่ยวกับยาเสพติดในเขตภาคเหนือตอนบน มีหลากหลายวิธีซึ่งผู้กระทำความผิดจะปรับเปลี่ยนและคิดค้นหาวิธีใหม่เสมอเพื่อหลบเลี่ยงการจับกุมของเจ้าหน้าที่ตำรวจ
3) ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จของรูปแบบการปราบปรามยาเสพติด ในเขตภาคเหนือตอนบน ได้แก่ (1) นโยบาย (2) การบังคับใช้กฎหมาย เนื่องจากยาเสพติดเป็นสิ่งผิดกฎหมาย ดังนั้น กฎหมาย ข้อบังคับหรือมาตรการทางสังคม จึงเป็นเครื่องมือสำคัญที่สามารถนำมาใช้ในการดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดได้ในกรณีที่มีความจำเป็น (3) งบประมาณ (4) การจัดการแบบองค์รวม (5) การมีประสบการณ์ (6) เทคโนโลยี (7) ทีมงาน (8) การถ่ายทอดหรือส่งต่อความรู้ (9) ภาคีเครือข่ายที่ต้องทำงาน (10) สายลับหรือสายข่าว ร่วมกัน ที่คอยสอดส่องเป็นหูเป็นตาและแจ้งเหตุให้เจ้าหน้าที่ตำรวจ (11) การสร้างขวัญและกำลังใจ ในการทำงานป้องกันและปราบปรามยาเสพติด ปัจจัยเหล่านี้ส่งผลต่อการปราบปรามยาเสพติดในเขตภาคเหนือตอนบนทั้งสิ้นCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27946 SIU THE-T. ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จของรูปแบบการปราบปรามยาเสพติดในเขตภาคเหนือตอนบน = Influencing Factors Upon the Achievement of Narcotic Prevention and Suppression Pattern in the Upper Northern Thailand [printed text] / ธานี ตันจันทร์กูล, Author ; พิภพ วชังเงิน, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019 . - viii, 194 น. : ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-08
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ยาเสพติด -- การป้องกัน -- ภาคเหนือ Keywords: การปราบปรามยาเสพติด,
ภาคเหนือตอนบนAbstract: งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสถานการณ์เกี่ยวกับยาเสพติดในเขตภาคเหนือตอนบน 2) ศึกษารูปแบบการกระทำความผิดเกี่ยวกับยาเสพติดในเขตภาคเหนือตอนบน 3) เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จของรูปแบบการปราบปรามยาเสพติดในเขตภาคเหนือตอนบน และ 4) เพื่อศึกษารูปแบบการปราบปรามยาเสพติดที่ประสบความสำเร็จในเขตภาคเหนือตอนบน
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยผู้วิจัยได้อาศัยวิธีดำเนินการวิจัยเชิงคุณภาพโดยศึกษาเอกสาร และสัมภาษณ์เชิงลึกเจ้าหน้าที่ตำรวจจำนวน 4 นาย และ ผู้กระทำความผิดเกี่ยวกับยาเสพติด จำนวน 4 คน และสนทนากลุ่มเจ้าหน้าที่ตำรวจที่ปฏิบัติหน้าที่และมีความรับผิดชอบโดยตรงเกี่ยวกับการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดจำนวน 6 นาย และการสนทนากลุ่มผู้กระทำผิดเกี่ยวกับยาเสพติดจำนวน 6 คน รวมทั้งสิ้น 20 คน ใช้การสังเกตการณ์ควบคู่ไปกับการลงพื้นที่เก็บข้อมูล หลังจากนั้นวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ประเด็นจากการสัมภาษณ์รวมถึงการสนทนากลุ่ม และมีการอภิปรายผลการวิจัย
ผลการวิจัยพบว่า
1) สถานการณ์ยาเสพติดรุนแรงขึ้นทุกด้าน ทั้งด้านการผลิตที่สามารถผลิตได้มากขึ้นเพราะมีเครื่องมือที่ทันสมัยและแหล่งผลิตรายใหญ่อยู่บริเวณรัฐฉาน สาธารณรัฐแห่งสหภาพพม่าและบริเวณสามเหลี่ยมทองคำ สถานการณ์ด้านลักลอบนำเข้ายาเสพติดกลุ่มคนที่ลักลอบนำเข้ายาเสพติดเข้าสู่ประเทศไทยส่วนใหญ่จะเป็นกลุ่มชนเผ่า ที่อาศัยอยู่ตามแนวตะเข็บชายแดนในภาคเหนือมีทั้งในระดับสั่งการและลำเลียงนำเข้ายาเสพติดเข้าสู่ประเทศไทยมีทั้งหมดหกกลุ่มคือกลุ่มมูเซอ กลุ่มลีซอ กลุ่มจีนฮ่อ กลุ่มอาข่า กลุ่มม้งและกลุ่มว้า สถานการณ์ ด้านการรับพักยาเสพติดแหล่งพักยาแหล่งใหญ่ ก่อนนำเข้าสู่ชายแดนประเทศไทย ก็จะมีแหล่งพักยาเสพติดอยู่ที่ สปป. ลาว ได้แก่แหล่งพักคอยคิงส์โรมัน เมืองต้นผึ้ง แขวงบ่อแก้ว สปป. ลาว และเมื่อเข้ามายังพื้นที่ชายแดนประเทศไทย จะเก็บพักในบ้าน หรือโกดังขนาดใหญ่ในชายแดนไทย สถานการณ์ด้านการขายยาเสพติดกลุ่มที่นักค้ายารายใหญ่ในภาคเหนือตอนบนมีหลายกลุ่ม กลุ่มหลัก คือ กลุ่มพันโทจะลอโบ่ บ้านแม่ฟ้าหลวง กลุ่มพันโทยี่เซและกลุ่มว้า สำหรับสถานณ์การเสพยาเสพติดที่มีการนิยมเสพยาเสพติดมากที่สุดคือยาบ้า โดยกลุ่มผู้เสพยาเสพติดมากที่สุดคือกลุ่มผู้ใช้แรงงาน
2) รูปแบบการกระทำความผิดเกี่ยวกับยาเสพติดในเขตภาคเหนือตอนบน มีหลากหลายวิธีซึ่งผู้กระทำความผิดจะปรับเปลี่ยนและคิดค้นหาวิธีใหม่เสมอเพื่อหลบเลี่ยงการจับกุมของเจ้าหน้าที่ตำรวจ
3) ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จของรูปแบบการปราบปรามยาเสพติด ในเขตภาคเหนือตอนบน ได้แก่ (1) นโยบาย (2) การบังคับใช้กฎหมาย เนื่องจากยาเสพติดเป็นสิ่งผิดกฎหมาย ดังนั้น กฎหมาย ข้อบังคับหรือมาตรการทางสังคม จึงเป็นเครื่องมือสำคัญที่สามารถนำมาใช้ในการดำเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดได้ในกรณีที่มีความจำเป็น (3) งบประมาณ (4) การจัดการแบบองค์รวม (5) การมีประสบการณ์ (6) เทคโนโลยี (7) ทีมงาน (8) การถ่ายทอดหรือส่งต่อความรู้ (9) ภาคีเครือข่ายที่ต้องทำงาน (10) สายลับหรือสายข่าว ร่วมกัน ที่คอยสอดส่องเป็นหูเป็นตาและแจ้งเหตุให้เจ้าหน้าที่ตำรวจ (11) การสร้างขวัญและกำลังใจ ในการทำงานป้องกันและปราบปรามยาเสพติด ปัจจัยเหล่านี้ส่งผลต่อการปราบปรามยาเสพติดในเขตภาคเหนือตอนบนทั้งสิ้นCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27946 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607969 SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-08 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available 32002000607971 SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-08 c.2 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. ลักษณะองค์การที่เป็นเลิศที่มีต่อผลการดำเนินงานของธุรกิจขนาดกลาง และขนาดย่อมในเขตภาคเหนือของประเทศไทย / รัฐนันท์ พงศ์วิริทธิ์ธร / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2018
Collection Title: SIU THE-T Title : ลักษณะองค์การที่เป็นเลิศที่มีต่อผลการดำเนินงานของธุรกิจขนาดกลาง และขนาดย่อมในเขตภาคเหนือของประเทศไทย Original title : Characteristics of Excellence Performance Organization that Influencing the Performance of Small and Medium Enterprise in Northern Region of Thailand Material Type: printed text Authors: รัฐนันท์ พงศ์วิริทธิ์ธร, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; วิไลพร เลาหโกศล, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2018 Pagination: xii, 266 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: SOM-DBA-2018-03
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2561Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ธุรกิจขนาดกลาง
[LCSH]ธุรกิจขนาดย่อมKeywords: ลักษณะองค์กรที่เป็นเลิศ,
ผลการดำเนินงาน,
ธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม,
ภาคเหนือของประเทศไทยAbstract: งานวิจัยครั้งนี้เพื่อทราบถึงลักษณะองค์การที่เป็นเลิศที่มีอิทธิพลต่อผลการดำเนินงานของธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในเขตภาคเหนือของประเทศไทย จากประชากรและกลุ่มตัวอย่างของผู้ประกอบการธุรกิจในเขตพื้นที่ภาคเหนือของประเทศไทยทั้งหมด 17 จังหวัด ซึ่งกลุ่มตัวที่ทำการคัดเลือกโดยใช้วิธีการเลือกตัวอย่างแบบไม่ใช้ความน่าจะเป็น (Nonprobability Sampling) การสุ่มเลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีการสุ่มแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เนื่องจากข้อมูลในการประกอบธุรกิจมีความสำคัญและต้องให้ผู้ประกอบการสมัครใจ จำนวน 400 ราย โดยใช้แบบสอบถาม (Questionnaire) เป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิตเชิงพรรณา ได้แก่ การหาค่าเฉลี่ยร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Arithmetic Mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) และการทดสอบสมมติฐาน (Hypothesis Testing) ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูปซึ่งทดสอบความสัมพันธ์ของตัวแปร สำหรับกำหนดการวัดการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว One-Way ANOVA และการวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิสหสัมพันธ์ (Correlation Coefficient)
ผลการวิจัยพบว่า ลักษณะองค์การที่เป็นเลิศของธุรกิจธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในเขตภาคเหนือของประเทศไทย ในภาพรวมสอดคล้องกับการปฏิบัติงานจริงในระดับมาก (x̄ = 3.910) เมื่อพิจารณารายด้านทั้ง 6 ด้าน มีความสอดคล้องกับการปฏิบัติงานจริงในระดับมากทุกด้านได้แก่ 1.) การนำองค์การ (การกำกับดูแลองค์การ) (x̄ = 3.865) 2.) การวางแผนเชิงกลยุทธ์ (การนำกลยุทธ์ไปปฏิบัติ) (x̄ = 4.062) 3.) การมุ่งเน้นลูกค้า (x̄ = 3.723) 4.) การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ (x̄ = 3.967) 5.) การมุ่งเน้นบุคลากร (x̄ = 4.130) และ 6.) การมุ่งเน้นการปฏิบัติการ (x̄ = 3.715) ผลการดำเนินงานด้านผลลัพธ์ด้านการเงินของธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในเขตภาคเหนือของประเทศไทย ในภาพรวมอยู่ในระดับที่เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับเป้าหมาย (x̄ = 3.752) เมื่อพิจารณารายข้ออยู่ในระดับที่เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับเป้าหมายทุกข้อ ได้แก่ อัตราการขยายตัวปีล่าสุดของความสามารถในการชำระหนี้ (Leverage Ratio) (x̄ = 4.305) อัตราการขยายตัวปีล่าสุดของผลตอบแทนต่อนักลงทุน (ROI) (x̄ = 4.245) และอัตราการขยายตัวปีล่าสุดของผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (ROE) (x̄ = 3.925)
การทดสอบสมมติฐานของการวิจัยพบว่า ลักษะทางประชากรศาสตร์ที่แตกต่างกันทางด้าน อายุ ระดับการศึกษา ประสบการณ์ในการทำงาน และกลุ่มประเภทของธุรกิจ มีค่าเฉลี่ยระดับความสอดคล้องต่อลักษณะขององค์การที่เป็นเลิศที่ไม่แตกต่างกัน อย่างไรก็ตามจะมีความแตกกันของลักษณะขององค์การที่เป็นเลิศจำแนกตามตำแหน่งงาน ส่วนลักษณะองค์การที่เป็นเลิศของธุรกิจธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในเขตภาคเหนือของประเทศไทยนั้น พบว่า การนำองค์การ (r= 0.610, Sig.= 0.000) การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ (r= -0.160, Sig. = 0.001) การมุ่งเน้นบุคลากร (r= -0.156, Sig. = 0.002) มีความสัมพันธ์ต่อผลการดำเนินงานของธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในเขตภาคเหนือของประเทศไทย ซึ่งการวางแผนเชิงกลยุทธ์ (r= -0.001, Sig. = 0.997) การมุ่งเน้นลูกค้า (r= -0.090, Sig. = 0.071) และการมุ่งเน้นการปฏิบัติการ (r= 0.077, Sig. = 0.124) ไม่มีความสัมพันธ์ต่อผลการดำเนินงานของธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในเขตภาคเหนือของประเทศไทย
นอกจากนี้การนำงานวิจัยไปพัฒนาลักษณะองค์การที่เป็นเลิศที่มีอิทธิพลต่อผลการดำเนินงานของธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในเขตภาคเหนือของประเทศไทย ควรมุ่งเน้น การนำองค์กร ซึ่งผู้นำขององค์การได้ชี้นำ ในการกำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ และกลยุทธ์ให้สอดคล้องกับเป้าหมายและสามารถสื่อสารภายในองค์การได้ทั้งองค์การ โดยมีระบบการกำกับดูแลองค์การ ด้านกฎหมาย จริยธรรม และความรับผิดชอบต่อสังคม ซึ่งการตั้งเป้าหมายของธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม และการควบคุม ติดตาม ประเมินผล เพื่อให้เป็นองค์กรแห่งความเป็นเลิศนั้น ควรต้องลดความสัมพันธ์เชิงลบหรือเป็นผลทางลบที่จะทำให้องค์การไม่เป็นองค์การแห่งความเป็นเลิศ โดยต้องมีการทบทวนเป้าหมาย การปรับเปลี่ยนแผนงานให้มีความหยืดหยุ่นหรือทันต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมทางธุรกิจหรือเน้นการวางแผนงาน แผนคน แผนปฏิบัติ ให้สอดคล้องกับเป้าหมายขององค์การ ซึ่งต้องมีการถ่ายทอดองค์ความรู้ในตำแหน่งหน้าที่ของบุคลากร เพื่อให้การสร้างความหยืดหยุ่นในตำแหน่งงานCurricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27838 SIU THE-T. ลักษณะองค์การที่เป็นเลิศที่มีต่อผลการดำเนินงานของธุรกิจขนาดกลาง และขนาดย่อมในเขตภาคเหนือของประเทศไทย = Characteristics of Excellence Performance Organization that Influencing the Performance of Small and Medium Enterprise in Northern Region of Thailand [printed text] / รัฐนันท์ พงศ์วิริทธิ์ธร, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; วิไลพร เลาหโกศล, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018 . - xii, 266 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: SOM-DBA-2018-03
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2561
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ธุรกิจขนาดกลาง
[LCSH]ธุรกิจขนาดย่อมKeywords: ลักษณะองค์กรที่เป็นเลิศ,
ผลการดำเนินงาน,
ธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม,
ภาคเหนือของประเทศไทยAbstract: งานวิจัยครั้งนี้เพื่อทราบถึงลักษณะองค์การที่เป็นเลิศที่มีอิทธิพลต่อผลการดำเนินงานของธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในเขตภาคเหนือของประเทศไทย จากประชากรและกลุ่มตัวอย่างของผู้ประกอบการธุรกิจในเขตพื้นที่ภาคเหนือของประเทศไทยทั้งหมด 17 จังหวัด ซึ่งกลุ่มตัวที่ทำการคัดเลือกโดยใช้วิธีการเลือกตัวอย่างแบบไม่ใช้ความน่าจะเป็น (Nonprobability Sampling) การสุ่มเลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีการสุ่มแบบเจาะจง (Purposive Sampling) เนื่องจากข้อมูลในการประกอบธุรกิจมีความสำคัญและต้องให้ผู้ประกอบการสมัครใจ จำนวน 400 ราย โดยใช้แบบสอบถาม (Questionnaire) เป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิตเชิงพรรณา ได้แก่ การหาค่าเฉลี่ยร้อยละ (Percentage) ค่าเฉลี่ย (Arithmetic Mean) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation) และการทดสอบสมมติฐาน (Hypothesis Testing) ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูปซึ่งทดสอบความสัมพันธ์ของตัวแปร สำหรับกำหนดการวัดการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว One-Way ANOVA และการวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิสหสัมพันธ์ (Correlation Coefficient)
ผลการวิจัยพบว่า ลักษณะองค์การที่เป็นเลิศของธุรกิจธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในเขตภาคเหนือของประเทศไทย ในภาพรวมสอดคล้องกับการปฏิบัติงานจริงในระดับมาก (x̄ = 3.910) เมื่อพิจารณารายด้านทั้ง 6 ด้าน มีความสอดคล้องกับการปฏิบัติงานจริงในระดับมากทุกด้านได้แก่ 1.) การนำองค์การ (การกำกับดูแลองค์การ) (x̄ = 3.865) 2.) การวางแผนเชิงกลยุทธ์ (การนำกลยุทธ์ไปปฏิบัติ) (x̄ = 4.062) 3.) การมุ่งเน้นลูกค้า (x̄ = 3.723) 4.) การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ (x̄ = 3.967) 5.) การมุ่งเน้นบุคลากร (x̄ = 4.130) และ 6.) การมุ่งเน้นการปฏิบัติการ (x̄ = 3.715) ผลการดำเนินงานด้านผลลัพธ์ด้านการเงินของธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในเขตภาคเหนือของประเทศไทย ในภาพรวมอยู่ในระดับที่เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับเป้าหมาย (x̄ = 3.752) เมื่อพิจารณารายข้ออยู่ในระดับที่เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับเป้าหมายทุกข้อ ได้แก่ อัตราการขยายตัวปีล่าสุดของความสามารถในการชำระหนี้ (Leverage Ratio) (x̄ = 4.305) อัตราการขยายตัวปีล่าสุดของผลตอบแทนต่อนักลงทุน (ROI) (x̄ = 4.245) และอัตราการขยายตัวปีล่าสุดของผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้น (ROE) (x̄ = 3.925)
การทดสอบสมมติฐานของการวิจัยพบว่า ลักษะทางประชากรศาสตร์ที่แตกต่างกันทางด้าน อายุ ระดับการศึกษา ประสบการณ์ในการทำงาน และกลุ่มประเภทของธุรกิจ มีค่าเฉลี่ยระดับความสอดคล้องต่อลักษณะขององค์การที่เป็นเลิศที่ไม่แตกต่างกัน อย่างไรก็ตามจะมีความแตกกันของลักษณะขององค์การที่เป็นเลิศจำแนกตามตำแหน่งงาน ส่วนลักษณะองค์การที่เป็นเลิศของธุรกิจธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในเขตภาคเหนือของประเทศไทยนั้น พบว่า การนำองค์การ (r= 0.610, Sig.= 0.000) การวัด การวิเคราะห์ และการจัดการความรู้ (r= -0.160, Sig. = 0.001) การมุ่งเน้นบุคลากร (r= -0.156, Sig. = 0.002) มีความสัมพันธ์ต่อผลการดำเนินงานของธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในเขตภาคเหนือของประเทศไทย ซึ่งการวางแผนเชิงกลยุทธ์ (r= -0.001, Sig. = 0.997) การมุ่งเน้นลูกค้า (r= -0.090, Sig. = 0.071) และการมุ่งเน้นการปฏิบัติการ (r= 0.077, Sig. = 0.124) ไม่มีความสัมพันธ์ต่อผลการดำเนินงานของธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในเขตภาคเหนือของประเทศไทย
นอกจากนี้การนำงานวิจัยไปพัฒนาลักษณะองค์การที่เป็นเลิศที่มีอิทธิพลต่อผลการดำเนินงานของธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในเขตภาคเหนือของประเทศไทย ควรมุ่งเน้น การนำองค์กร ซึ่งผู้นำขององค์การได้ชี้นำ ในการกำหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ และกลยุทธ์ให้สอดคล้องกับเป้าหมายและสามารถสื่อสารภายในองค์การได้ทั้งองค์การ โดยมีระบบการกำกับดูแลองค์การ ด้านกฎหมาย จริยธรรม และความรับผิดชอบต่อสังคม ซึ่งการตั้งเป้าหมายของธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อม และการควบคุม ติดตาม ประเมินผล เพื่อให้เป็นองค์กรแห่งความเป็นเลิศนั้น ควรต้องลดความสัมพันธ์เชิงลบหรือเป็นผลทางลบที่จะทำให้องค์การไม่เป็นองค์การแห่งความเป็นเลิศ โดยต้องมีการทบทวนเป้าหมาย การปรับเปลี่ยนแผนงานให้มีความหยืดหยุ่นหรือทันต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมทางธุรกิจหรือเน้นการวางแผนงาน แผนคน แผนปฏิบัติ ให้สอดคล้องกับเป้าหมายขององค์การ ซึ่งต้องมีการถ่ายทอดองค์ความรู้ในตำแหน่งหน้าที่ของบุคลากร เพื่อให้การสร้างความหยืดหยุ่นในตำแหน่งงานCurricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27838 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000598191 SIU THE-T: SOM-DBA-2018-03 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000598225 SIU THE-T: SOM-DBA-2018-03 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available ความขัดแย้งในองค์การ : ศึกษากรณีการบริหารส่วนตำบล (อบต.) จังหวัดเชียงใหม่ / มณฑาทิพย์ โกวิทเจริญกุล / กรุงเทพฯ : คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2545
Title : ความขัดแย้งในองค์การ : ศึกษากรณีการบริหารส่วนตำบล (อบต.) จังหวัดเชียงใหม่ Original title : Conflict in the Organization : A case study of Sub-District Administration Organization (SDAO) of Chiangmai Province Material Type: printed text Authors: มณฑาทิพย์ โกวิทเจริญกุล, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2545 Pagination: ก-ซ, 241 แผ่น Size: 30 ซม. General note: วิทยานิพนธ์ [ร.ป.ม.]] -- คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2545 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารความขัดแย้ง
[LCSH]การบริหารองค์การ
[LCSH]การปกครองท้องถิ่น -- ไทย
[LCSH]สภาตำบล
[LCSH]องค์การบริหารส่วนตำบล -- การบริหารKeywords: องค์การบริหารส่วนตำบล.
เชียงใหม่.
การบริหารความขัดแย้ง.Class number: JS7402 .A2 ม6432 2545 Abstract: งานวิจัยนี้ มัวัตถุประสงค์เพื่อให้สามารถทำความเข้าใจถึงประเภท สาเหตุ ตลอดจนแนวทางในการบริหารความขัดแย้งที่มีอยู่ใน อบต. จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 183 แห่ง มีผู้กรอกแบบสอบถามทั้งหมดจำนวน 195 คน โดยใช้แนวความคิด 3 ประการเป็นกรอบ คือ 1. แนวความคิดเรื่องความขัดแย้ง 2. แนวความคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการปกครองท้องถิ่น 3. แนวความคิดเรื่องการกระจายอำนาจ ผลการศึกษาพบว่า อบต. มองความขัดแย้งทั้งบวกและลบ ความขัดแย้่งส่วนมากจะมาจากผลประโยชน์ การต่อสู้แข่งขันกัน และมองว่าเป็นธรรมชาติของมนุษย์ เป็นการแย่งชิงทรัพยากร เป้าหมาย การรับรู้ มีทั้งเนื้อหา วิธีการ และพฤติกรรม
จากการศึกษาได้ค้นพบสาเหตุของความขัดแย้งใน อบต. เชียงใหม่ว่า มาจากอำนาจแฝงหรืออิทธิพลของบางคนใน อบต.เอง ประโยชน์ ระบบงาน การเมืองในองค์การ อบต. ต่อต้านการเปลี่ยนแปลง และจากการศึกษายังได้พบว่า อบต. เชียงใหม่ มีรูปแบบที่น่าสนใจในการบริหารความขัดแย้งหลายวิธีด้วยกัน เช่น การแก้ปัญหาร่วมกันเป็นทีม การหาเป้าหมายร่วมกัน การเจรจาต่อรอง และการเข้าฝึกอบรมนอกสำนักงาน เป็นต้น
ส่วนข้อเสนอแนะในการศึกษาครั้งนี้ ได้เสนอว่า ควรจะมีการเพิ่มพูนคุณวุฒิของสมาชิก อบต. เพื่อให้เป็นไปตามนโยบายการเตรียมบุคลากรให้พร้่อมต่อการเปลี่ยนแปลงด้านการบริหารท้องถิ่น โดยการเน้นประสิทธิภาพของ อบต. และความเจริญของท้องถิ่นไปพร้อมกันโดยสามารถแยกแยะผลประโยชน์ส่วนตัวออกจากประโยชน์ส่วนรวม
Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23166 ความขัดแย้งในองค์การ : ศึกษากรณีการบริหารส่วนตำบล (อบต.) จังหวัดเชียงใหม่ = Conflict in the Organization : A case study of Sub-District Administration Organization (SDAO) of Chiangmai Province [printed text] / มณฑาทิพย์ โกวิทเจริญกุล, Author . - กรุงเทพฯ : คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545 . - ก-ซ, 241 แผ่น ; 30 ซม.
วิทยานิพนธ์ [ร.ป.ม.]] -- คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2545
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารความขัดแย้ง
[LCSH]การบริหารองค์การ
[LCSH]การปกครองท้องถิ่น -- ไทย
[LCSH]สภาตำบล
[LCSH]องค์การบริหารส่วนตำบล -- การบริหารKeywords: องค์การบริหารส่วนตำบล.
เชียงใหม่.
การบริหารความขัดแย้ง.Class number: JS7402 .A2 ม6432 2545 Abstract: งานวิจัยนี้ มัวัตถุประสงค์เพื่อให้สามารถทำความเข้าใจถึงประเภท สาเหตุ ตลอดจนแนวทางในการบริหารความขัดแย้งที่มีอยู่ใน อบต. จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 183 แห่ง มีผู้กรอกแบบสอบถามทั้งหมดจำนวน 195 คน โดยใช้แนวความคิด 3 ประการเป็นกรอบ คือ 1. แนวความคิดเรื่องความขัดแย้ง 2. แนวความคิดทฤษฎีเกี่ยวกับการปกครองท้องถิ่น 3. แนวความคิดเรื่องการกระจายอำนาจ ผลการศึกษาพบว่า อบต. มองความขัดแย้งทั้งบวกและลบ ความขัดแย้่งส่วนมากจะมาจากผลประโยชน์ การต่อสู้แข่งขันกัน และมองว่าเป็นธรรมชาติของมนุษย์ เป็นการแย่งชิงทรัพยากร เป้าหมาย การรับรู้ มีทั้งเนื้อหา วิธีการ และพฤติกรรม
จากการศึกษาได้ค้นพบสาเหตุของความขัดแย้งใน อบต. เชียงใหม่ว่า มาจากอำนาจแฝงหรืออิทธิพลของบางคนใน อบต.เอง ประโยชน์ ระบบงาน การเมืองในองค์การ อบต. ต่อต้านการเปลี่ยนแปลง และจากการศึกษายังได้พบว่า อบต. เชียงใหม่ มีรูปแบบที่น่าสนใจในการบริหารความขัดแย้งหลายวิธีด้วยกัน เช่น การแก้ปัญหาร่วมกันเป็นทีม การหาเป้าหมายร่วมกัน การเจรจาต่อรอง และการเข้าฝึกอบรมนอกสำนักงาน เป็นต้น
ส่วนข้อเสนอแนะในการศึกษาครั้งนี้ ได้เสนอว่า ควรจะมีการเพิ่มพูนคุณวุฒิของสมาชิก อบต. เพื่อให้เป็นไปตามนโยบายการเตรียมบุคลากรให้พร้่อมต่อการเปลี่ยนแปลงด้านการบริหารท้องถิ่น โดยการเน้นประสิทธิภาพของ อบต. และความเจริญของท้องถิ่นไปพร้อมกันโดยสามารถแยกแยะผลประโยชน์ส่วนตัวออกจากประโยชน์ส่วนรวม
Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23166 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000308989 JS7402 .A2 ม6432 2545 Thesis Main Library Thesis Corner Available ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลมหาวิทยาลัย ภาคเหนือตอนล่าง / ธารินี ฟังเสนาะ in วารสารการพยาบาลและสุขภาพ, Vol.11 No.2 (พ.ค-ส.ค) 2560 ([03/20/2018])
[article]
Title : ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลมหาวิทยาลัย ภาคเหนือตอนล่าง Original title : Factor Influencing Transformational Leadershipof Head Nurses University Hospital Lower Northern Region Material Type: printed text Authors: ธารินี ฟังเสนาะ, Author ; พูลสุข หิงคานนท์, Author Publication Date: 2018 Article on page: p.68-78 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลและสุขภาพ > Vol.11 No.2 (พ.ค-ส.ค) 2560 [03/20/2018] . - p.68-78Keywords: ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง.หัวหน้าหอผู้ป่วย.โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย ภาคเหนือตอนล่าง. Link for e-copy: http://www.nurse.nu.ac.th/journals/index.php Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27573 [article] ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลมหาวิทยาลัย ภาคเหนือตอนล่าง = Factor Influencing Transformational Leadershipof Head Nurses University Hospital Lower Northern Region [printed text] / ธารินี ฟังเสนาะ, Author ; พูลสุข หิงคานนท์, Author . - 2018 . - p.68-78.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลและสุขภาพ > Vol.11 No.2 (พ.ค-ส.ค) 2560 [03/20/2018] . - p.68-78Keywords: ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง.หัวหน้าหอผู้ป่วย.โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย ภาคเหนือตอนล่าง. Link for e-copy: http://www.nurse.nu.ac.th/journals/index.php Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27573 เงินตราล้านนา / นวรัตน์ เลขะกุล / เชียงใหม่ : นพบุรีการพิมพ์ - 2555
Title : เงินตราล้านนา Material Type: printed text Authors: นวรัตน์ เลขะกุล, Author Edition statement: 1st ed. Publisher: เชียงใหม่ : นพบุรีการพิมพ์ Publication Date: 2555 Pagination: 195 หน้า. Layout: ภาพประกอบสี Size: 26 ซม. ISBN (or other code): 978-6-16-722020-8 Price: Gift General note: หนังสือที่ระลึกเนื่องในวาระครบรอบ 70 ปี ธนาคารแห่งประเทศไทย Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]Money -- History
[LCSH]Money -- Thailand, Northern
[LCSH]เงินตรา -- ประวัติ
[LCSH]เงินตรา -- ไทย (ภาคเหนือ)
[LCSH]ไทย -- ประวัติศาสตร์ -- ล้านนาKeywords: Money.
Thailand.
Northern.
History.
เงินตรา.
ไทย.
ภาคเหนือ.
ประวัติ.
ประวัติศาสตร์.
ล้านนา.Class number: HG1250.55 น299ง 2555 Contents note: ประวัติศาสตร์และพัฒนาการของท้องถิ่น -- ชุมชนก่อนสมัยล้านนา -- แคว้นสุวรรณโคมดำ -- แคว้นโยนกนาคนคร -- แคว้นหิรัญเงินยาง -- แคว้นหริภุญไชย -- อาณาจักรล้านนา -- อาณาจักรล้านนาภายใต้ราชวงศ์มังราย -- อาณาจักรล้านนาภายใต้การปกครองของพม่า -- อาณาจักรล้านนารวมเข้ากับราชอาณาจักรสยาม -- เงินตราล้านนา -- เงินตราก่อนสมัยล้านนา -- หอยเบี้ย -- โลหะมีค่า -- เงินปลา -- เงินกีบม้า -- เงินตราสมัยหิรัญเงินยาง -- เงินธ็อกใบไม้ -- เงินธ็อกสำริด -- เงินธ็อกทองแดง -- เงินตราสมัยหริภุญไชย --เหรียญอาทิตย์อุทัย -- ศรีวัตสะ -- เหรียญสังข์ใหญ่ -- ศรีวัตสะ -- เงินตราสมัยล้านนา -- เงินตราทองคำ -- เงินดำ -- เงินทองแดง -- เงินเจียง -- กำเนิดของเงินเจียงเหตุผลและปัจจัย -- ด้านภูมิศาสตร์ที่ตั้ง -- ด้านความเจริญของอาณาจักรข้างเคียง -- ด้านการปกครองและศาสนา -- ด้านระบบการค้า -- ด้านระบบเงินตราของแคว้นสุโขทัย -- การผลิตเงินเจียงและวิวัฒนาการ -- เงินเจียงขากลม -- เงินเจียงขาเหลี่ยม -- เงินเจียงแบบอื่น -- ตราในเงินเจียง -- ตราตัวเลข -- ตราตัวอักษร -- ตราจักร
ชนิดของเงินเจียง -- เงินเจียงดีบุก -- เงินเจียงสำริด -- เงินเจียงเนื้อดิน -- เงินเจียงของชนชายขอบ -- เงินเจียงกำไลขาบาง -- วิวัฒนาการของเงินเจียง -- ระยะแรกและพัฒนาการ -- ระยะเฟื่องฟู -- ระยะถดถ้อย -- เงินธ็อกล้านนา -- ตราประทับในเงินธ็อกล้านนา -- วิธีการผลิตเงินธ็อกล้านนา -- ตราประทับในเงินธ็อกทองแดง -- เงินตราล้านนาภายใต้การปกครองของพม่า -- เงินดอกไม้ -- เงินธ็อกหอยโข่งและปากหมู -- เงินธ็ิกขี้ควาย -- เงินตราชนิดอื่น -- เงินตราสมัยพม่าภายใต้อาณานิคมของอังกฤษ -- เงินรูปีCurricular : BALA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25210 เงินตราล้านนา [printed text] / นวรัตน์ เลขะกุล, Author . - 1st ed. . - เชียงใหม่ : นพบุรีการพิมพ์, 2555 . - 195 หน้า. : ภาพประกอบสี ; 26 ซม.
ISBN : 978-6-16-722020-8 : Gift
หนังสือที่ระลึกเนื่องในวาระครบรอบ 70 ปี ธนาคารแห่งประเทศไทย
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]Money -- History
[LCSH]Money -- Thailand, Northern
[LCSH]เงินตรา -- ประวัติ
[LCSH]เงินตรา -- ไทย (ภาคเหนือ)
[LCSH]ไทย -- ประวัติศาสตร์ -- ล้านนาKeywords: Money.
Thailand.
Northern.
History.
เงินตรา.
ไทย.
ภาคเหนือ.
ประวัติ.
ประวัติศาสตร์.
ล้านนา.Class number: HG1250.55 น299ง 2555 Contents note: ประวัติศาสตร์และพัฒนาการของท้องถิ่น -- ชุมชนก่อนสมัยล้านนา -- แคว้นสุวรรณโคมดำ -- แคว้นโยนกนาคนคร -- แคว้นหิรัญเงินยาง -- แคว้นหริภุญไชย -- อาณาจักรล้านนา -- อาณาจักรล้านนาภายใต้ราชวงศ์มังราย -- อาณาจักรล้านนาภายใต้การปกครองของพม่า -- อาณาจักรล้านนารวมเข้ากับราชอาณาจักรสยาม -- เงินตราล้านนา -- เงินตราก่อนสมัยล้านนา -- หอยเบี้ย -- โลหะมีค่า -- เงินปลา -- เงินกีบม้า -- เงินตราสมัยหิรัญเงินยาง -- เงินธ็อกใบไม้ -- เงินธ็อกสำริด -- เงินธ็อกทองแดง -- เงินตราสมัยหริภุญไชย --เหรียญอาทิตย์อุทัย -- ศรีวัตสะ -- เหรียญสังข์ใหญ่ -- ศรีวัตสะ -- เงินตราสมัยล้านนา -- เงินตราทองคำ -- เงินดำ -- เงินทองแดง -- เงินเจียง -- กำเนิดของเงินเจียงเหตุผลและปัจจัย -- ด้านภูมิศาสตร์ที่ตั้ง -- ด้านความเจริญของอาณาจักรข้างเคียง -- ด้านการปกครองและศาสนา -- ด้านระบบการค้า -- ด้านระบบเงินตราของแคว้นสุโขทัย -- การผลิตเงินเจียงและวิวัฒนาการ -- เงินเจียงขากลม -- เงินเจียงขาเหลี่ยม -- เงินเจียงแบบอื่น -- ตราในเงินเจียง -- ตราตัวเลข -- ตราตัวอักษร -- ตราจักร
ชนิดของเงินเจียง -- เงินเจียงดีบุก -- เงินเจียงสำริด -- เงินเจียงเนื้อดิน -- เงินเจียงของชนชายขอบ -- เงินเจียงกำไลขาบาง -- วิวัฒนาการของเงินเจียง -- ระยะแรกและพัฒนาการ -- ระยะเฟื่องฟู -- ระยะถดถ้อย -- เงินธ็อกล้านนา -- ตราประทับในเงินธ็อกล้านนา -- วิธีการผลิตเงินธ็อกล้านนา -- ตราประทับในเงินธ็อกทองแดง -- เงินตราล้านนาภายใต้การปกครองของพม่า -- เงินดอกไม้ -- เงินธ็อกหอยโข่งและปากหมู -- เงินธ็ิกขี้ควาย -- เงินตราชนิดอื่น -- เงินตราสมัยพม่าภายใต้อาณานิคมของอังกฤษ -- เงินรูปีCurricular : BALA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25210 Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status ่ัี32002000351572 HG1250.55 น299ง 2555 Book Main Library References Shelf Not for loan 32002000580330 HG1250.55 น299ง 2555 c.2 Book Main Library References Shelf Not for loan