From this page you can:
Home |
Search results
51 result(s) search for keyword(s) 'จริยธรรม. พยาบาลวิชาชีพ. ความผูกพัน.'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
ความสัมพันธ์ระหว่วงปัจจัยส่วนบุคคล บรรยากาศจริยธรรมในงานของกลุ่มการพยาบาลคุณภาพชีวิตการทำงาน กับความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลทั่วไป / ญาณิศา ลิ้มรัตน์ / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2547
Title : ความสัมพันธ์ระหว่วงปัจจัยส่วนบุคคล บรรยากาศจริยธรรมในงานของกลุ่มการพยาบาลคุณภาพชีวิตการทำงาน กับความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลทั่วไป Original title : Relationships between personal factors,ethical work climate in nursing deparments,quality of working life,and organization commitment of professional nurses, general hospitals Material Type: printed text Authors: ญาณิศา ลิ้มรัตน์, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2547 Pagination: ก-ฎ, 121 แผ่น Layout: ตาราง Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-17-6311-5 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม [การบริหารการพยาบาล ]] --จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2547 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]คุณภาพชีวิตการทำงาน
[LCSH]จริยศาสตร์
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพKeywords: จริยธรรม.
พยาบาลวิชาชีพ.
ความผูกพัน.Class number: WY11 ญ324 2547 Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล บรรยากาศจริยธรรมในงานของกลุ่มการพยาบาล คุณภาพชีวิตการทำงานกับความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลทั่วไป กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลวิชาชีพระดับปฏิบัติืการที่ปฎิบัิติงานในโรงพยาบาลทั่วไป จำนวน 384 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วยแบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามบรรยากาศจริยธรรมในงานของกลุ่มการพยาบาล แบบสอบถามคุณภาพชีวิตการทำงาน และแบบสอบถามความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การพยาบาลของพยาบาลวิชาชีพตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา และหาค่าความเที่ยงโดยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาคได้ 093 .88 และ.96 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการแจกแจงความถี่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน
ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
1. ความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การ บรรยากาศจริยธรรมในงานของกลุ่มการพยาบาล และคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลทั้วไป อยู่ในระดับสูง
2. ปัจัจส่วนบุคคลด้านประสบการณ์ในการทำงานมีความสัีมพันธ์ทางบวกกับความยึดมั่นผูกผันต่อองค์การของพยาบาลวิชาชีพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 [r=.22]
3. บรรยากาศจริยธรรมในงานของกลุ่มการพยาบาลมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลวิชาชีพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 [r=.60]
4. คุณภาพชีวิตการทำงานมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลวิชาชีพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 [r=.67]
5. ตัวแปรที่ร่วมกันพยากรณ์ความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลวิชาชีพได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 คือ คุณภาพชีวิตการทำงานและบรรยาการจริยธรรมในงานของกลุ่มการพยาบาลสามารถร่วมกันพยากรณ์ความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลวิชาชีพได้ร้อยละ 50.7 [R2 =.507]Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23179 ความสัมพันธ์ระหว่วงปัจจัยส่วนบุคคล บรรยากาศจริยธรรมในงานของกลุ่มการพยาบาลคุณภาพชีวิตการทำงาน กับความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลทั่วไป = Relationships between personal factors,ethical work climate in nursing deparments,quality of working life,and organization commitment of professional nurses, general hospitals [printed text] / ญาณิศา ลิ้มรัตน์, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547 . - ก-ฎ, 121 แผ่น : ตาราง ; 30 ซม.
ISBN : 978-974-17-6311-5 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม [การบริหารการพยาบาล ]] --จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2547
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]คุณภาพชีวิตการทำงาน
[LCSH]จริยศาสตร์
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพKeywords: จริยธรรม.
พยาบาลวิชาชีพ.
ความผูกพัน.Class number: WY11 ญ324 2547 Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล บรรยากาศจริยธรรมในงานของกลุ่มการพยาบาล คุณภาพชีวิตการทำงานกับความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลทั่วไป กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลวิชาชีพระดับปฏิบัติืการที่ปฎิบัิติงานในโรงพยาบาลทั่วไป จำนวน 384 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วยแบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามบรรยากาศจริยธรรมในงานของกลุ่มการพยาบาล แบบสอบถามคุณภาพชีวิตการทำงาน และแบบสอบถามความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การพยาบาลของพยาบาลวิชาชีพตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา และหาค่าความเที่ยงโดยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาคได้ 093 .88 และ.96 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการแจกแจงความถี่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน
ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
1. ความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การ บรรยากาศจริยธรรมในงานของกลุ่มการพยาบาล และคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลทั้วไป อยู่ในระดับสูง
2. ปัจัจส่วนบุคคลด้านประสบการณ์ในการทำงานมีความสัีมพันธ์ทางบวกกับความยึดมั่นผูกผันต่อองค์การของพยาบาลวิชาชีพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 [r=.22]
3. บรรยากาศจริยธรรมในงานของกลุ่มการพยาบาลมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลวิชาชีพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 [r=.60]
4. คุณภาพชีวิตการทำงานมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลวิชาชีพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 [r=.67]
5. ตัวแปรที่ร่วมกันพยากรณ์ความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลวิชาชีพได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 คือ คุณภาพชีวิตการทำงานและบรรยาการจริยธรรมในงานของกลุ่มการพยาบาลสามารถร่วมกันพยากรณ์ความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลวิชาชีพได้ร้อยละ 50.7 [R2 =.507]Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23179 ความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถในการเผชิญและฟันฝ่าอุปสรรค ความผูกพันในวิชาชีพกับความสำเร็จในวิชาชีพของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลสังกัดกรมการแพทย์ เขตกรุงเทพมหานคร / พัฒราภรณ์ กล้าหาญ / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2550
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถในการเผชิญและฟันฝ่าอุปสรรค ความผูกพันในวิชาชีพกับความสำเร็จในวิชาชีพของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลสังกัดกรมการแพทย์ เขตกรุงเทพมหานคร Original title : Relationships between adversity quotient, career commitment, and career success of staff nurses, hospitals under the jurisdiction of the department of medical services, Bangkok Metropolis Material Type: printed text Authors: พัฒราภรณ์ กล้าหาญ, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2550 Pagination: ก-ฎ,131 แผ่น Layout: ตารางประกอบ Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]]-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2550. Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ความผูกพันต่อองค์การ
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพ
[LCSH]โรงพยาบาลสังกัดกรมการแพทย์Keywords: อุปสรรค.
ความผูกพันในวิิชาชีพ.
พยาบาลวิชาชีพ.Class number: WY100 พ631 2550 Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถในการเผชิญและฟันฝ่าอุปสรรค ความผูกพันในวิชาชีพกับความสำเร็จในวิชาชีพของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลสังกัดกรมการแพทย์ กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลประจำการที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลสังกัดกรมการแพทย์ เขตกรุงเทพมหานครจำนวน 368 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบประเมินความสามารถในการเผชิญและฟันฝ่าอุปสรรค แบบสอบถามความผูกพันในวิชาชีพและแบบสอบถามความสำเร็จในวิชาชีพ วิเคราะห์หาค่าความเที่ยงของแบบสอบถาม โดยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาคได้. 80, .95 และ.85 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สันและค่าสัมประสิทธิ์ถดถอย ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ความสำเร็จในวิชาชีพและความผูกพันในวิชาชีพของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลสังกัดกรมการแพทย์ เขตกรุงเทพมหานครอยู่ในระดับสูง ( X = 3. 52, SD = .49 และ X = 3. 94, SD = .53 ตามลำดับ ) 2. ความสามารถในการเผชิญและฟันฝ่าอุปสรรคของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลสังกัดกรมการแพทย์ เขตกรุงเทพมหานครอยู่ในอยู่ในระดับปานกลาง ( X= 131. 25, SD = 13.44) 3. ความผูกพันในวิชาชีพ และความสามารถในการเผชิญและฟันฝ่าอุปสรรคมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความสำเร็จในวิชาชีพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ( r =.46 และ .14 ตามลำดับ ) 4. ความผูกพันในวิชาชีพสามารถพยากรณ์ความสำเร็จในวิชาชีพของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลสังกัดกรมการแพทย์ เขตกรุงเทพมหานครได้ร้อยละ 20.7(R2= .207) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สร้างสมการในรูปคะแนนมาตรฐานได้ดังนี้ ความสำเร็จในวิชาชีพ = 0.455 ความผูกพันในวิชาชีพ Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23220 ความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถในการเผชิญและฟันฝ่าอุปสรรค ความผูกพันในวิชาชีพกับความสำเร็จในวิชาชีพของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลสังกัดกรมการแพทย์ เขตกรุงเทพมหานคร = Relationships between adversity quotient, career commitment, and career success of staff nurses, hospitals under the jurisdiction of the department of medical services, Bangkok Metropolis [printed text] / พัฒราภรณ์ กล้าหาญ, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550 . - ก-ฎ,131 แผ่น : ตารางประกอบ ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]]-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2550.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ความผูกพันต่อองค์การ
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพ
[LCSH]โรงพยาบาลสังกัดกรมการแพทย์Keywords: อุปสรรค.
ความผูกพันในวิิชาชีพ.
พยาบาลวิชาชีพ.Class number: WY100 พ631 2550 Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความสามารถในการเผชิญและฟันฝ่าอุปสรรค ความผูกพันในวิชาชีพกับความสำเร็จในวิชาชีพของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลสังกัดกรมการแพทย์ กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลประจำการที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลสังกัดกรมการแพทย์ เขตกรุงเทพมหานครจำนวน 368 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบประเมินความสามารถในการเผชิญและฟันฝ่าอุปสรรค แบบสอบถามความผูกพันในวิชาชีพและแบบสอบถามความสำเร็จในวิชาชีพ วิเคราะห์หาค่าความเที่ยงของแบบสอบถาม โดยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาคได้. 80, .95 และ.85 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สันและค่าสัมประสิทธิ์ถดถอย ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ความสำเร็จในวิชาชีพและความผูกพันในวิชาชีพของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลสังกัดกรมการแพทย์ เขตกรุงเทพมหานครอยู่ในระดับสูง ( X = 3. 52, SD = .49 และ X = 3. 94, SD = .53 ตามลำดับ ) 2. ความสามารถในการเผชิญและฟันฝ่าอุปสรรคของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลสังกัดกรมการแพทย์ เขตกรุงเทพมหานครอยู่ในอยู่ในระดับปานกลาง ( X= 131. 25, SD = 13.44) 3. ความผูกพันในวิชาชีพ และความสามารถในการเผชิญและฟันฝ่าอุปสรรคมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความสำเร็จในวิชาชีพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ( r =.46 และ .14 ตามลำดับ ) 4. ความผูกพันในวิชาชีพสามารถพยากรณ์ความสำเร็จในวิชาชีพของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลสังกัดกรมการแพทย์ เขตกรุงเทพมหานครได้ร้อยละ 20.7(R2= .207) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สร้างสมการในรูปคะแนนมาตรฐานได้ดังนี้ ความสำเร็จในวิชาชีพ = 0.455 ความผูกพันในวิชาชีพ Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23220 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354926 WY100 พ631 2550 Thesis Main Library Thesis Corner Available Old book collection. ความปลอดภัยและ Competency พยาบาล CVT / เพ็ญจันทร์ แสนประสาน / กรุงเทพฯ : สุขขุมวิทการพิมพ์ - 2554
in ความปลอดภัย และ Competency พยาบาล CVT / บุปผาวัลย์ ศรีล้ำ ; ดวงกมล วัตราดุลย์ / กรุงเทพฯ : สุขขุมวิทการพิมพ์ - 2551
Collection Title: Old book collection Title : ความปลอดภัยและ Competency พยาบาล CVT Material Type: printed text Authors: เพ็ญจันทร์ แสนประสาน, Editor ; ดวงกมล วัตราดุลย์, Editor ; บุปผาวัลย์ ศรีล้ำ, Editor Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 3 Publisher: กรุงเทพฯ : สุขขุมวิทการพิมพ์ Publication Date: 2554 Pagination: 182 หน้า Layout: ภาพประกอบ Size: 27 ซม. ISBN (or other code): 978-974-383-227-7 Price: บริจาค. (250.00) General note: หนังสือเล่มนี้ได้มีการปรับปรุง เพิ่มเิติมเนื้อหาเพื่อให้ทันกับปัจจุบัน และมีการแบ่งเนื้อหาออกเป็น 3 ส่วน คือ ส่วนที่ 1: กล่าวถึงระบบบริหารความเสี่ยงทางการพยาบาล ที่รวบรวมแนวคิดการบริหารความเสี่ยงระบบมาตรฐานที่เกี่ยวข้อง การจัดการทางการพยาบาลเพื่อความปลอดภัย รวมทั้งตัวอย่างการค้นหาความเสี่ยง Trigger tool การตั้งทีมเฝ้าระวัีง การใช้ระบบการสื่อสารรายงานโดยการใช้ SABAR เป็นต้น โดยการนำความรู้จากคณะทำงานมาประสานประโยชน์ในการเรียนรู้เนื้อหาวิธีการขึ้น. ส่วนที่ 2: เป็นการรวบรวมผลการแบ่งปันความรู้จากผู้เชี่ยวชาญโรคหัวใจหลอดเลือดและทรวงอกเป็นจำนวนมาก มาสร้างเป็นสมรรถนะเฉพาะของพยาบาลวิชาชีพที่สามารถประยุกต์ใช้กับพยาบาลได้ทุกระดับตั้งแต่ปฐมภูิมิื ทุติยภูมิ และตติยภูมิ โดยนำตัวอย่างจากสถาบันต่าง ๆ เป็นจำนวนมารวบรวมอย่างเป็นระบบ ส่วนที่ 3: เป็นแนวคิดการสร้างรูปแบบการพยาบาล CVT เครือข่ายโดยการใช้การจัดการความรู้สู่ประชาชน เพื่อให้ประชาชนช่วยเหลือตนเองได้โดยกรอบแนวคิดที่คณะทำงานได้จัดสร้างขึ้น 5 Module ซึ่งอาจเป็นความพยายามที่จะแก้ปัญหาของชาติในการสร้างองค์ความรู้ใหม่จากผู้ปฎิบัิติงานและประชาชนทั่วประเทศในที่สุด Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]Cardiovascular -- assessment
[LCSH]Thoracic -- assessment
[LCSH]ความปลอดภัย -- พยาบาล
[LCSH]สมรรถนะ -- พยาบาลKeywords: สมรรถนะ.
พยาบาลวิชาชีพ.
ความปลอดภัย.
CTV.Class number: WY105 ค181 2554 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23182
in ความปลอดภัย และ Competency พยาบาล CVT / บุปผาวัลย์ ศรีล้ำ ; ดวงกมล วัตราดุลย์ / กรุงเทพฯ : สุขขุมวิทการพิมพ์ - 2551
Old book collection. ความปลอดภัยและ Competency พยาบาล CVT [printed text] / เพ็ญจันทร์ แสนประสาน, Editor ; ดวงกมล วัตราดุลย์, Editor ; บุปผาวัลย์ ศรีล้ำ, Editor . - พิมพ์ครั้งที่ 3 . - กรุงเทพฯ : สุขขุมวิทการพิมพ์, 2554 . - 182 หน้า : ภาพประกอบ ; 27 ซม.
ISBN : 978-974-383-227-7 : บริจาค. (250.00)
หนังสือเล่มนี้ได้มีการปรับปรุง เพิ่มเิติมเนื้อหาเพื่อให้ทันกับปัจจุบัน และมีการแบ่งเนื้อหาออกเป็น 3 ส่วน คือ ส่วนที่ 1: กล่าวถึงระบบบริหารความเสี่ยงทางการพยาบาล ที่รวบรวมแนวคิดการบริหารความเสี่ยงระบบมาตรฐานที่เกี่ยวข้อง การจัดการทางการพยาบาลเพื่อความปลอดภัย รวมทั้งตัวอย่างการค้นหาความเสี่ยง Trigger tool การตั้งทีมเฝ้าระวัีง การใช้ระบบการสื่อสารรายงานโดยการใช้ SABAR เป็นต้น โดยการนำความรู้จากคณะทำงานมาประสานประโยชน์ในการเรียนรู้เนื้อหาวิธีการขึ้น. ส่วนที่ 2: เป็นการรวบรวมผลการแบ่งปันความรู้จากผู้เชี่ยวชาญโรคหัวใจหลอดเลือดและทรวงอกเป็นจำนวนมาก มาสร้างเป็นสมรรถนะเฉพาะของพยาบาลวิชาชีพที่สามารถประยุกต์ใช้กับพยาบาลได้ทุกระดับตั้งแต่ปฐมภูิมิื ทุติยภูมิ และตติยภูมิ โดยนำตัวอย่างจากสถาบันต่าง ๆ เป็นจำนวนมารวบรวมอย่างเป็นระบบ ส่วนที่ 3: เป็นแนวคิดการสร้างรูปแบบการพยาบาล CVT เครือข่ายโดยการใช้การจัดการความรู้สู่ประชาชน เพื่อให้ประชาชนช่วยเหลือตนเองได้โดยกรอบแนวคิดที่คณะทำงานได้จัดสร้างขึ้น 5 Module ซึ่งอาจเป็นความพยายามที่จะแก้ปัญหาของชาติในการสร้างองค์ความรู้ใหม่จากผู้ปฎิบัิติงานและประชาชนทั่วประเทศในที่สุด
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]Cardiovascular -- assessment
[LCSH]Thoracic -- assessment
[LCSH]ความปลอดภัย -- พยาบาล
[LCSH]สมรรถนะ -- พยาบาลKeywords: สมรรถนะ.
พยาบาลวิชาชีพ.
ความปลอดภัย.
CTV.Class number: WY105 ค181 2554 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23182 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000383719 WY105 ค181 2554 Book Main Library Library Counter Available SIU THE-T. การตัดสินใจเชิงจริยธรรมวิชาชีพสื่อมวลชนในกิจการโทรทัศน์ระบบดิจิทัลภาคพื้นดิน / เฉิมชัย ก๊กเกียรติกุล / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2018
Collection Title: SIU THE-T Title : การตัดสินใจเชิงจริยธรรมวิชาชีพสื่อมวลชนในกิจการโทรทัศน์ระบบดิจิทัลภาคพื้นดิน Original title : Ethical Decision Making of Media Profession in Digital Terrestrial Television Sector Material Type: printed text Authors: เฉิมชัย ก๊กเกียรติกุล, Author ; พิภพ วชังเงิน, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2018 Pagination: x, 301 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-10
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การตัดสินใจ
[LCSH]นักสื่อสารมวลชน -- แง่ศีลธรรมจรรยาKeywords: การตัดสินใจ,
จริยธรรม,
วิชาชีพสื่อมวลชนAbstract: การวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์คือ เพื่อศึกษาการตัดสินใจเชิงจริยธรรมวิชาชีพสื่อมวลชน และเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการตัดสินใจเชิงจริยธรรมวิชาชีพสื่อมวลชน ตลอดทั้งแนวทางส่งเสริมจริยธรรมวิชาชีพสื่อมวลชนในกิจการโทรทัศน์ระบบดิจิทัลภาคพื้นดิน วิจัยนี้เป็นการวิจัยแบบผสมผสานระหว่างเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ สำหรับงานวิจัยเชิงคุณภาพเก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึกสื่อมวลชนที่มีประสบการณ์ และผู้ทรงคุณวุฒิที่เกี่ยวข้อง และใช้แบบสอบถามกับสื่อมวลชนในกิจการโทรทัศน์ระบบดิจิทัลภาคพื้นดินสำหรับการวิจัยเชิงปริมาณ ซึ่งเริ่มต้นด้วยการสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลสำคัญจำนวน 15 คน เพื่อนำผลไปวิเคราะห์เพื่อพัฒนาแบบสอบถามเชิงปริมาณ โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลจากสื่อมวลชนกลุ่มตัวอย่างจำนวน 360 คน แล้วดำเนินการวิเคราะห์ประมวลผลข้อมูลทางสถิติ ผลการวิจัยพบความสัมพันธ์ระหว่างการตัดสินใจเชิงจริยธรรมของวิชาชีพสื่อมวลชนกับปัญหาจริยธรรมวิชาชีพสื่อมวลชนในระดับค่อนข้างน้อย โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เท่ากับ .393 โดยมีความคลาดเคลื่อนมาตรฐานในการพยากรณ์เท่ากับ ± 16.16 เมื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างการตัดสินใจเชิงจริยธรรมของวิชาชีพสื่อมวลชนกับแนวทางส่งเสริมจริยธรรมวิชาชีพสื่อมวลชน พบว่าทุกด้านมีความสัมพันธ์กันในทางบวกอย่างมีนัยทางสถิติ โดยพบว่าองค์กรวิชาชีพมีความสัมพันธ์กับแนวทางส่งเสริมจริยธรรมวิชาชีพสื่อมวลชนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติและเป็นไปในทิศทางเดียวกัน โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เท่ากับ .531 ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .01 โดยมีความคลาดเคลื่อนมาตรฐานในการพยากรณ์เท่ากับ ±.38 Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27883 SIU THE-T. การตัดสินใจเชิงจริยธรรมวิชาชีพสื่อมวลชนในกิจการโทรทัศน์ระบบดิจิทัลภาคพื้นดิน = Ethical Decision Making of Media Profession in Digital Terrestrial Television Sector [printed text] / เฉิมชัย ก๊กเกียรติกุล, Author ; พิภพ วชังเงิน, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018 . - x, 301 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-10
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การตัดสินใจ
[LCSH]นักสื่อสารมวลชน -- แง่ศีลธรรมจรรยาKeywords: การตัดสินใจ,
จริยธรรม,
วิชาชีพสื่อมวลชนAbstract: การวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์คือ เพื่อศึกษาการตัดสินใจเชิงจริยธรรมวิชาชีพสื่อมวลชน และเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการตัดสินใจเชิงจริยธรรมวิชาชีพสื่อมวลชน ตลอดทั้งแนวทางส่งเสริมจริยธรรมวิชาชีพสื่อมวลชนในกิจการโทรทัศน์ระบบดิจิทัลภาคพื้นดิน วิจัยนี้เป็นการวิจัยแบบผสมผสานระหว่างเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ สำหรับงานวิจัยเชิงคุณภาพเก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึกสื่อมวลชนที่มีประสบการณ์ และผู้ทรงคุณวุฒิที่เกี่ยวข้อง และใช้แบบสอบถามกับสื่อมวลชนในกิจการโทรทัศน์ระบบดิจิทัลภาคพื้นดินสำหรับการวิจัยเชิงปริมาณ ซึ่งเริ่มต้นด้วยการสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลสำคัญจำนวน 15 คน เพื่อนำผลไปวิเคราะห์เพื่อพัฒนาแบบสอบถามเชิงปริมาณ โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลจากสื่อมวลชนกลุ่มตัวอย่างจำนวน 360 คน แล้วดำเนินการวิเคราะห์ประมวลผลข้อมูลทางสถิติ ผลการวิจัยพบความสัมพันธ์ระหว่างการตัดสินใจเชิงจริยธรรมของวิชาชีพสื่อมวลชนกับปัญหาจริยธรรมวิชาชีพสื่อมวลชนในระดับค่อนข้างน้อย โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เท่ากับ .393 โดยมีความคลาดเคลื่อนมาตรฐานในการพยากรณ์เท่ากับ ± 16.16 เมื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างการตัดสินใจเชิงจริยธรรมของวิชาชีพสื่อมวลชนกับแนวทางส่งเสริมจริยธรรมวิชาชีพสื่อมวลชน พบว่าทุกด้านมีความสัมพันธ์กันในทางบวกอย่างมีนัยทางสถิติ โดยพบว่าองค์กรวิชาชีพมีความสัมพันธ์กับแนวทางส่งเสริมจริยธรรมวิชาชีพสื่อมวลชนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติและเป็นไปในทิศทางเดียวกัน โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เท่ากับ .531 ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .01 โดยมีความคลาดเคลื่อนมาตรฐานในการพยากรณ์เท่ากับ ±.38 Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27883 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000598845 SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-10 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000598811 SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-10 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ความผูกพันต่อองค์การของข้าราชการตำรวจ กองบังคับการสืบสวนสอบสวน กองบัญชาการตำรวจนครบาล / ศักดิ์สยาม จิตวิสุทธิ์ศรี / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU IS-T Title : ความผูกพันต่อองค์การของข้าราชการตำรวจ กองบังคับการสืบสวนสอบสวน กองบัญชาการตำรวจนครบาล Original title : Organization Commitment of Police Officers in the Investigation Division Metropolitan Police Bureau Material Type: printed text Authors: ศักดิ์สยาม จิตวิสุทธิ์ศรี, Author ; สมชาย รัตนโกมุท, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: vii, 47 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-08
IS [MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]กองบัญชาการตำรวจนครบาล -- ข้าราชการ
[LCSH]ความผูกพันต่อองค์การ -- พนักงาน
[LCSH]ตำรวจ -- การปฏิบัติงานKeywords: ความผูกพันต่อองค์การ
ข้าราชการตำรวจ
กองบังคับการสืบสวนสอบสวน
กองบัญชาการตำรวจนครบาลAbstract: การศึกษาเรื่อง ความผูกพันต่อองค์การของข้าราชการตำรวจ กองบังคับการสืบสวนสอบสวน กองบัญชาการตำรวจนครบาล มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ระดับความผูกพันต่อองค์การของข้าราชการตำรวจกองบังคับการสืบสวนสอบสวน กองบัญชาการตำรวจนครบาล ในด้านความเชื่อมั่นและการยอมรับเป้าหมายและค่านิยมขององค์การ ด้านความเต็มอกเต็มใจที่จะใช้ความพยายามเต็มความสามารถทำงานเพื่อองค์การ และด้านความปรารถนาที่จะรักษาสถานภาพการเป็นสมาชิกขององค์การไว้ โดยจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา อายุราชการ ระดับชั้นยศ และรายได้เฉลี่ยต่อเดือน
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา คือ ข้าราชการตำรวจ กองบังคับการสืบสวนสอบสวน กองบัญชาการตำรวจนครบาล จำนวน 155 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลประกอบด้วย ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนมากเป็นเพศชาย มีอายุ 31-40 ปี มีระดับการศึกษาปริญญาตรี มีอายุราชการ 16 ปีขึ้นไป มีระดับชั้นยศ ร.ต.ต.-ร.ต.อ. และมีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 30,001 บาทขึ้นไป โดยวิเคราะห์ข้อมูลความผูกพันต่อองค์การของข้าราชการตำรวจ กองบังคับการสืบสวนสอบสวน กองบัญชาการตำรวจนครบาล โดยภาพรวม อยู่ในระดับปานกลาง เมื่อจำแนกเป็นรายด้านพบว่า ด้านที่มีความผูกพันอันดับที่หนึ่งคือ ด้านความเต็มอกเต็มใจที่จะใช้ความพยายามเต็มความสามารถทำงานเพื่อองค์การ มีระดับความผูกพันมาก อันดับที่สองคือ ด้านความปรารถนาที่จะรักษาสถานภาพการเป็นสมาชิกขององค์การไว้ มีระดับความผูกพันมาก และอันดับสุดท้ายคือ ด้านความเชื่อมั่นและยอมรับเป้าหมายและค่านิยมขององค์การ มีระดับความผูกพันปานกลาง ตามลำดับRecord link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26497 SIU IS-T. ความผูกพันต่อองค์การของข้าราชการตำรวจ กองบังคับการสืบสวนสอบสวน กองบัญชาการตำรวจนครบาล = Organization Commitment of Police Officers in the Investigation Division Metropolitan Police Bureau [printed text] / ศักดิ์สยาม จิตวิสุทธิ์ศรี, Author ; สมชาย รัตนโกมุท, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - vii, 47 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-08
IS [MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]กองบัญชาการตำรวจนครบาล -- ข้าราชการ
[LCSH]ความผูกพันต่อองค์การ -- พนักงาน
[LCSH]ตำรวจ -- การปฏิบัติงานKeywords: ความผูกพันต่อองค์การ
ข้าราชการตำรวจ
กองบังคับการสืบสวนสอบสวน
กองบัญชาการตำรวจนครบาลAbstract: การศึกษาเรื่อง ความผูกพันต่อองค์การของข้าราชการตำรวจ กองบังคับการสืบสวนสอบสวน กองบัญชาการตำรวจนครบาล มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ระดับความผูกพันต่อองค์การของข้าราชการตำรวจกองบังคับการสืบสวนสอบสวน กองบัญชาการตำรวจนครบาล ในด้านความเชื่อมั่นและการยอมรับเป้าหมายและค่านิยมขององค์การ ด้านความเต็มอกเต็มใจที่จะใช้ความพยายามเต็มความสามารถทำงานเพื่อองค์การ และด้านความปรารถนาที่จะรักษาสถานภาพการเป็นสมาชิกขององค์การไว้ โดยจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ ระดับการศึกษา อายุราชการ ระดับชั้นยศ และรายได้เฉลี่ยต่อเดือน
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา คือ ข้าราชการตำรวจ กองบังคับการสืบสวนสอบสวน กองบัญชาการตำรวจนครบาล จำนวน 155 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลประกอบด้วย ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนมากเป็นเพศชาย มีอายุ 31-40 ปี มีระดับการศึกษาปริญญาตรี มีอายุราชการ 16 ปีขึ้นไป มีระดับชั้นยศ ร.ต.ต.-ร.ต.อ. และมีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 30,001 บาทขึ้นไป โดยวิเคราะห์ข้อมูลความผูกพันต่อองค์การของข้าราชการตำรวจ กองบังคับการสืบสวนสอบสวน กองบัญชาการตำรวจนครบาล โดยภาพรวม อยู่ในระดับปานกลาง เมื่อจำแนกเป็นรายด้านพบว่า ด้านที่มีความผูกพันอันดับที่หนึ่งคือ ด้านความเต็มอกเต็มใจที่จะใช้ความพยายามเต็มความสามารถทำงานเพื่อองค์การ มีระดับความผูกพันมาก อันดับที่สองคือ ด้านความปรารถนาที่จะรักษาสถานภาพการเป็นสมาชิกขององค์การไว้ มีระดับความผูกพันมาก และอันดับสุดท้ายคือ ด้านความเชื่อมั่นและยอมรับเป้าหมายและค่านิยมขององค์การ มีระดับความผูกพันปานกลาง ตามลำดับRecord link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26497 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000591618 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-08 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000591626 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-08 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำของผู้บังคับบัญชากับความผูกพันต่อองค์กร กรณีศึกษาเจ้าหน้าที่ตำรวจในจังหวัดสุราษฎร์ธานี / ธนัญชัย ปรีชาเชี่ยว / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2015
Collection Title: SIU IS-T Title : ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำของผู้บังคับบัญชากับความผูกพันต่อองค์กร กรณีศึกษาเจ้าหน้าที่ตำรวจในจังหวัดสุราษฎร์ธานี Original title : Relationships between Leadership of Commander and Organizational Commitment: A Case of Police Officers in Surattani Province) Material Type: printed text Authors: ธนัญชัย ปรีชาเชี่ยว, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; สมพร เพชรสงค์, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2015 Pagination: viii, 63 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2015-04
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2015.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ตำรวจ -- สุราษฎร์ธานี
[LCSH]ภาวะผู้นำ -- กรณีศึกษาKeywords: ภาวะผู้นำ,
ความผูกพันต่อองค์กรAbstract: การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความผูกพันต่อองค์กรของเจ้าหน้าที่ตำรวจ เปรียบเทียบระดับความผูกพันต่อองค์กรของเจ้าหน้าที่ตำรวจ และศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำของผู้บังคับบัญชากับความผูกพันต่อองค์กรของเจ้าหน้าที่ตำรวจในจังหวัดสุราษฎร์ธานี โดยใช้แบบสอบถามเก็บรวบรวมข้อมูลจากเจ้าหน้าที่ตำรวจชั้นประทวนถึงรองสารวัตรในจังหวัดสุราษฎร์ธานี จำนวน 340 คน สถิติที่ใช้ในวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าแจกแจงความถี่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสถิติทดสอบที (t-test) ค่าสถิติทดสอบเอฟ (F-test) และค่าสัมประสิทธิสหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน
ผลการศึกษาพบว่า เจ้าหน้าที่ตำรวจในจังหวัดสุราษฎร์ธานี มีความผูกพันต่อองค์กรในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง โดยเรียงตามลำดับจากมากไปหาน้อย คือ มีความรู้สึกภาคภูมิใจในองค์กร การยอมรับและเชื่อมั่นเป้าหมายขององค์กร ความต้องการเป็นสมาชิกขององค์กร และมีความเต็มใจที่จะปฏิบัติงานเพื่อองค์กร ผลการเปรียบเทียบระดับความผูกพันต่อองค์กร พบว่า เจ้าหน้าที่ตำรวจที่มีอายุ ระยะเวลารับราชการ ระดับการศึกษา ระดับชั้นตำแหน่ง และอัตราเงินเดือนที่แตกต่างกัน มีความผูกพันต่อองค์กรไม่แตกต่างกัน และผลการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำของผู้บังคับบัญชากับความผูกพันต่อองค์กร พบว่า ภาวะผู้นำของผู้บังคับบัญชาด้านสติปัญญา ความรู้ความสามารถ และบุคลิกภาพ มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับต่ำกับความผูกพันต่อองค์กร และภาวะผู้นำของผู้บังคับบัญชาด้านลักษณะทางด้านเทคนิคที่เกี่ยวข้องกับงาน และลักษณะทางสังคมและการมีปฏิสัมพันธ์ มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลางกับความผูกพันต่อองค์กรของเจ้าหน้าที่ตำรวจในจังหวัดสุราษฎร์ธานี
Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26658 SIU IS-T. ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำของผู้บังคับบัญชากับความผูกพันต่อองค์กร กรณีศึกษาเจ้าหน้าที่ตำรวจในจังหวัดสุราษฎร์ธานี = Relationships between Leadership of Commander and Organizational Commitment: A Case of Police Officers in Surattani Province) [printed text] / ธนัญชัย ปรีชาเชี่ยว, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; สมพร เพชรสงค์, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2015 . - viii, 63 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2015-04
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2015.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ตำรวจ -- สุราษฎร์ธานี
[LCSH]ภาวะผู้นำ -- กรณีศึกษาKeywords: ภาวะผู้นำ,
ความผูกพันต่อองค์กรAbstract: การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความผูกพันต่อองค์กรของเจ้าหน้าที่ตำรวจ เปรียบเทียบระดับความผูกพันต่อองค์กรของเจ้าหน้าที่ตำรวจ และศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำของผู้บังคับบัญชากับความผูกพันต่อองค์กรของเจ้าหน้าที่ตำรวจในจังหวัดสุราษฎร์ธานี โดยใช้แบบสอบถามเก็บรวบรวมข้อมูลจากเจ้าหน้าที่ตำรวจชั้นประทวนถึงรองสารวัตรในจังหวัดสุราษฎร์ธานี จำนวน 340 คน สถิติที่ใช้ในวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าแจกแจงความถี่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสถิติทดสอบที (t-test) ค่าสถิติทดสอบเอฟ (F-test) และค่าสัมประสิทธิสหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน
ผลการศึกษาพบว่า เจ้าหน้าที่ตำรวจในจังหวัดสุราษฎร์ธานี มีความผูกพันต่อองค์กรในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง โดยเรียงตามลำดับจากมากไปหาน้อย คือ มีความรู้สึกภาคภูมิใจในองค์กร การยอมรับและเชื่อมั่นเป้าหมายขององค์กร ความต้องการเป็นสมาชิกขององค์กร และมีความเต็มใจที่จะปฏิบัติงานเพื่อองค์กร ผลการเปรียบเทียบระดับความผูกพันต่อองค์กร พบว่า เจ้าหน้าที่ตำรวจที่มีอายุ ระยะเวลารับราชการ ระดับการศึกษา ระดับชั้นตำแหน่ง และอัตราเงินเดือนที่แตกต่างกัน มีความผูกพันต่อองค์กรไม่แตกต่างกัน และผลการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำของผู้บังคับบัญชากับความผูกพันต่อองค์กร พบว่า ภาวะผู้นำของผู้บังคับบัญชาด้านสติปัญญา ความรู้ความสามารถ และบุคลิกภาพ มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับต่ำกับความผูกพันต่อองค์กร และภาวะผู้นำของผู้บังคับบัญชาด้านลักษณะทางด้านเทคนิคที่เกี่ยวข้องกับงาน และลักษณะทางสังคมและการมีปฏิสัมพันธ์ มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลางกับความผูกพันต่อองค์กรของเจ้าหน้าที่ตำรวจในจังหวัดสุราษฎร์ธานี
Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26658 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000593127 SIU IS-T: IPAG-MPA-2015-04 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000593093 SIU IS-T: IPAG-MPA-2015-04 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. ความสุขในการทำงานของพยาบาลไทย / ละมิตร์ ปีกขาว / คณะการจัดการ มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2557
Collection Title: SIU THE-T Title : ความสุขในการทำงานของพยาบาลไทย Original title : Work happiness of Thai nurses Material Type: printed text Authors: ละมิตร์ ปีกขาว, Author Publisher: คณะการจัดการ มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2557 Pagination: x, 221 หน้า Layout: ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] มหาวิทยาลัยชินวัตร. Languages : Thai (tha) Descriptors: [NLM]ความสุขในการทำงาน -- ดุษฎีนิพนธ์
[NLM]พยาบาล, ความสุขในการทำงาน
[NLM]พยาบาลวิชาชีพ -- ดุษฎีนิพนธ์Keywords: พยาบาลวิชาชีพ.
ความสุขในการทำงาน.
พยาบาลไทย.Class number: SIU THE-T SOM-DBA-2015-01 Abstract: มุ่งเน้นศึกษาความสุขของพยาบาลวิชาชีพ โดยสามารถนำมายืนยันทฤษฎีความสุขของพยาบาลว่ามาจากทฤษฎีใด มีวัตถุประสงค์เพือศึกษาสถานการณ์ความสุขในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพภาครัฐและเอกชน เพื่อเปรียบเทียบระดับความสุขของพยาบาลวิชาชีพ ศึกษาจากปัจจัยส่วนบุคคลที่มีผลต่อความสุขของพยาบาลวิชาชีพ เป็นการวิจัยเชิงพรรณาแบบผสม ระหว่างการวิจัยเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ โดยกลุ่มตัวอย่างเชิงคุณภาพเป็นพยาบาลวิชาชีพที่มีประสบการณ์ในการทำงาน 10 ปีขึ้นไป จำนวน 25 คน ภาครัฐ 15 และเอกชน 10 คน ตามลำดับ และเชิงปริมาณเป็นพยาบาลวิชาชีพ จำนวน 690 คน. การวิเคราะห์เนื่้อหาพร้อมด้วยความถี่เชิงปริมาณ ใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูลส่วนบุคคลและความสุขด้านต่าง ๆ เชิงคุณภาพวิเคราะห์เนื้อหาออกเป็นประเด็น พร้อมด้วยความถี่ เชิงปริมาณวิเคราะห์ด้วยโปรแกรมวิเคราะห์ทางสถิติสำเร็จรูป วิเคราะห์เชิงพรรณนาและทดสอบด้วย t-test ผลการวิจัย พบว่า สถานการณ์ความสุขในการทำงานพยาบาลวิชาชีพภาครัฐและภาคเอกชนมีความคิดเห็นเหมือนกันว่า การช่วยเหลือและดูแลผู้ป่วย การได้ช่วยเหลือญาติและครอบครัวของผู้ป่วย การช่วยให้ผู้ป่วยปลอดภัยในภาวะฉุกเฉิน การช่วยลดความวิตกกังวลให้ผู้ป่วยและผู้เกี่ยวข้อง การมีส่วนร่วมช่วยเหลือดูแลผู้ป่วย ผู้บาดเจ็บจากเหตุการณ์ไม่ปกติแม้เป็นเวลานอกปฏิบัติงาน ทำให้พยาบาลมีความสุขในการทำงาน โดยมีระดับความสุขมาก และไม่แตกต่างกันทั้งภาครัฐและเอกชน และปัจจัยส่วนบุคคลในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพ พบว่า ความแตกต่างของเพศ อายุ การศึกาา ประสบการณ์ทำงาน รายได้หลัก รายได้พิเศษ จำนวนบุตร สถานภาพสมรส และตำแหน่งงานไม่มีอิทธิพลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติต่อความสุขโดยรวม ข้อค้นพบทางทฤษฎี พบว่า ความสุขในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพไม่แตกต่างกันแต่ละเอียดกว่าทฤษฎีลำดับขั้นความต้องการของมาสโลว์ เพราะความสุขของพยาบาลเน้นเรื่องการช่วยเหลือดูแลผู้ป่วยและครอบครัวทั้งภาวะปกติและฉุกเฉินเป็นหลักสำคัญ ซึ่งแสดงให้เห็นว่าเป็นความสุขของพยาบาลที่ก้าวจากลำดับขั้นความต้องการของมางโลว์อย่างแท้จริง นอกจากนี้ยังพบว่า แง่ทฤษฎีประโยชน์นิยมเน้นถึงการกระทำทำให้คนส่วนใหญ่มีความสุขมากที่สุด ถือเป็นการดำเนินการของรัฐที่ใช้ได้ในระดับหนึ่ง ซึ่งนัยของทฤษฎีประโยชน์นิยมได้ชี้ให้เห็นว่ารัฐควรส่งเสิรมวิชาชีพพยาบาลให้สามารถช่วยเหลือดูแลผู้ป่วยรวมทั้งครอบครัวให้ผู้ป่วยปลอดภัย เพื่อที่สามารถทำประโยชน์ให้กับคนส่วนใหญ่ได้มากที่สุด ในขณะที่ทฤษฎีความอยู่เย็นเป็นสุขและทฤษฎีความสุขของคนไทย พบว่า เป็นผลรวมของความสุขประชาชนโดยตรง Contents note: ปีการศึกษา 2557 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25889 SIU THE-T. ความสุขในการทำงานของพยาบาลไทย = Work happiness of Thai nurses [printed text] / ละมิตร์ ปีกขาว, Author . - [S.l.] : คณะการจัดการ มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2557 . - x, 221 หน้า : ตาราง ; 30 ซม.
500.00
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] มหาวิทยาลัยชินวัตร.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [NLM]ความสุขในการทำงาน -- ดุษฎีนิพนธ์
[NLM]พยาบาล, ความสุขในการทำงาน
[NLM]พยาบาลวิชาชีพ -- ดุษฎีนิพนธ์Keywords: พยาบาลวิชาชีพ.
ความสุขในการทำงาน.
พยาบาลไทย.Class number: SIU THE-T SOM-DBA-2015-01 Abstract: มุ่งเน้นศึกษาความสุขของพยาบาลวิชาชีพ โดยสามารถนำมายืนยันทฤษฎีความสุขของพยาบาลว่ามาจากทฤษฎีใด มีวัตถุประสงค์เพือศึกษาสถานการณ์ความสุขในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพภาครัฐและเอกชน เพื่อเปรียบเทียบระดับความสุขของพยาบาลวิชาชีพ ศึกษาจากปัจจัยส่วนบุคคลที่มีผลต่อความสุขของพยาบาลวิชาชีพ เป็นการวิจัยเชิงพรรณาแบบผสม ระหว่างการวิจัยเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ โดยกลุ่มตัวอย่างเชิงคุณภาพเป็นพยาบาลวิชาชีพที่มีประสบการณ์ในการทำงาน 10 ปีขึ้นไป จำนวน 25 คน ภาครัฐ 15 และเอกชน 10 คน ตามลำดับ และเชิงปริมาณเป็นพยาบาลวิชาชีพ จำนวน 690 คน. การวิเคราะห์เนื่้อหาพร้อมด้วยความถี่เชิงปริมาณ ใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูลส่วนบุคคลและความสุขด้านต่าง ๆ เชิงคุณภาพวิเคราะห์เนื้อหาออกเป็นประเด็น พร้อมด้วยความถี่ เชิงปริมาณวิเคราะห์ด้วยโปรแกรมวิเคราะห์ทางสถิติสำเร็จรูป วิเคราะห์เชิงพรรณนาและทดสอบด้วย t-test ผลการวิจัย พบว่า สถานการณ์ความสุขในการทำงานพยาบาลวิชาชีพภาครัฐและภาคเอกชนมีความคิดเห็นเหมือนกันว่า การช่วยเหลือและดูแลผู้ป่วย การได้ช่วยเหลือญาติและครอบครัวของผู้ป่วย การช่วยให้ผู้ป่วยปลอดภัยในภาวะฉุกเฉิน การช่วยลดความวิตกกังวลให้ผู้ป่วยและผู้เกี่ยวข้อง การมีส่วนร่วมช่วยเหลือดูแลผู้ป่วย ผู้บาดเจ็บจากเหตุการณ์ไม่ปกติแม้เป็นเวลานอกปฏิบัติงาน ทำให้พยาบาลมีความสุขในการทำงาน โดยมีระดับความสุขมาก และไม่แตกต่างกันทั้งภาครัฐและเอกชน และปัจจัยส่วนบุคคลในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพ พบว่า ความแตกต่างของเพศ อายุ การศึกาา ประสบการณ์ทำงาน รายได้หลัก รายได้พิเศษ จำนวนบุตร สถานภาพสมรส และตำแหน่งงานไม่มีอิทธิพลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติต่อความสุขโดยรวม ข้อค้นพบทางทฤษฎี พบว่า ความสุขในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพไม่แตกต่างกันแต่ละเอียดกว่าทฤษฎีลำดับขั้นความต้องการของมาสโลว์ เพราะความสุขของพยาบาลเน้นเรื่องการช่วยเหลือดูแลผู้ป่วยและครอบครัวทั้งภาวะปกติและฉุกเฉินเป็นหลักสำคัญ ซึ่งแสดงให้เห็นว่าเป็นความสุขของพยาบาลที่ก้าวจากลำดับขั้นความต้องการของมางโลว์อย่างแท้จริง นอกจากนี้ยังพบว่า แง่ทฤษฎีประโยชน์นิยมเน้นถึงการกระทำทำให้คนส่วนใหญ่มีความสุขมากที่สุด ถือเป็นการดำเนินการของรัฐที่ใช้ได้ในระดับหนึ่ง ซึ่งนัยของทฤษฎีประโยชน์นิยมได้ชี้ให้เห็นว่ารัฐควรส่งเสิรมวิชาชีพพยาบาลให้สามารถช่วยเหลือดูแลผู้ป่วยรวมทั้งครอบครัวให้ผู้ป่วยปลอดภัย เพื่อที่สามารถทำประโยชน์ให้กับคนส่วนใหญ่ได้มากที่สุด ในขณะที่ทฤษฎีความอยู่เย็นเป็นสุขและทฤษฎีความสุขของคนไทย พบว่า เป็นผลรวมของความสุขประชาชนโดยตรง Contents note: ปีการศึกษา 2557 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25889 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000580710 SIU THE-T SOM-DBA-2015-01 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000580702 SIU THE-T SOM-DBA-2015-01 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ปัจจัยที่มีผลต่อการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีของเจ้าหน้าที่ตำรวจกองกำกับการ 4 กองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์ กองบัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง สำนักงานตำรวจแห่งชาติ / ปิติทัต กงทอง / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU IS-T Title : ปัจจัยที่มีผลต่อการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีของเจ้าหน้าที่ตำรวจกองกำกับการ 4 กองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์ กองบัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง สำนักงานตำรวจแห่งชาติ Original title : Factors that Effected for Preventing and Suppressing of Prostitution of Police Sub-Division 4 ATI-Human Trafficking Division, Central Investigation Bureau, Royal Thai Police Material Type: printed text Authors: ปิติทัต กงทอง, Author ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name ; วรเดช จันทรศร, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: viii, 88 น. Layout: ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-16
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]กองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์ -- ข้าราชการตำรวจ
[LCSH]การค้ามนุษย์ -- การป้องกันKeywords: การป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณี
ความผูกพันกับองค์การ
ทัศนคติของผู้บังคับบัญชา
ความรู้ความเข้าใจของเจ้าหน้าที่
การสื่อสารAbstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีของเจ้าหน้าที่ตำรวจกองกำกับการ 4 กองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์ กองบัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง สำนักงานตำรวจแห่งชาติ 2) เพื่อศึกษาเปรียบเทียบปัจจัยด้านประชากรศาสตร์กับปัจจัยด้านการปฏิบัติงานการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีของเจ้าหน้าที่ตำรวจกองกำกับการ 4 กองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์ กองบัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง สำนักงานตำรวจแห่งชาติ 3) เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาการปฏิบัติงานการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีของเจ้าหน้าที่ตำรวจ กองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์ กองบัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง สำนักงานตำรวจแห่งชาติ โดยผู้วิจัยใช้วิธีการศึกษาวิจัยเชิงปริมาณ ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยทางด้านประชากรศาสตร์ มีผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชาย ในการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการตำรวจส่วนใหญ่มีอายุระหว่าง 36-45 ปีขึ้นไป ได้มีการสมรสแล้วเป็นส่วนใหญ่และส่วนใหญ่สำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรี และมีรายได้ส่วนใหญ่อยู่ระหว่าง 10,001 – 20,000 บาท โดยส่วนใหญ่มีประสบการณ์การทำงานอยู่ระหว่าง 16-20 ปี และจากการศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีของเจ้าหน้าที่ตำรวจกองกำกับการ 4 กองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์ กองบัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง สำนักงานตำรวจแห่งชาติ สรุปผลการวิจัยแต่ละปัจจัยหลักมีลำดับความสำคัญดังนี้คือ ลำดับแรก ได้แก่ ด้านความผูกพันสัมพันธ์กับองค์การมีความสำคัญ ลำดับที่สอง ได้แก่ ด้านความรู้ความเข้าใจของเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน ลำดับที่สาม ได้แก่ ด้านทัศนคติของผู้บังคับบัญชา ลำดับที่สี่ ด้านการสื่อสาร วัสดุอุปกรณ์และเครื่องมือเครื่องใช้ โดยทั้งสี่ลำดับนี้ เป็นปัจจัยที่ผู้ตอบแบบอบถามให้ความสำคัญอยู่ระดับมาก ลำดับที่สี่ ได้แก่ ด้านอัตรากำลังเจ้าหน้าที่ และลำดับสุดท้าย ได้แก่ ด้านการจัดสรรงบประมาณ เป็นปัจจัยที่ผู้ตอบแบบสอบถามให้ความสำคัญอยู่ในระดับปานกลาง ข้อเสนอแนะในการนำผลการศึกษาค้นคว้าไปใช้ คือ ส่งเสริมและสนับสนุนให้ข้าราชการตำรวจที่ปฏิบัติงานการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีมีความพร้อมในการปฏิบัติงาน โดยการพัฒนาศักยภาพและส่งเสริมให้มีความพร้อมในเรื่องการสร้างประสบการณ์ในการทำงานด้านการป้องกันและการปราบปรามการค้าประเวณี การเสริมรายได้ไปพร้อม ๆ กับการวางแผนการใช้จ่ายต่อเดือน ส่งเสริมให้ลาศึกษาต่อและฝึกอบรมในด้านที่เกี่ยวข้อง สนับสนุนให้ปฏิบัติงานในหน่วยงานที่เหมาะสม และส่งเสริมให้มีความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน รวมทั้งส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการดำเนินงานใน ปัจจัยต่าง ๆ คือ ปัจจัยทางด้านนโยบาย ด้านมาตรการการปฏิบัติ
ด้านกฎหมาย ด้านงบประมาณ ด้านการบริหารจัดการ และด้านบุคลากร ได้แก่ การทบทวนนโยบาย มาตรการ การจัดระบบขั้นตอนที่เกี่ยวข้องให้เอื้อต่อการปฏิบัติงานการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณี การให้รางวัลและการคุ้มครองเป็นพิเศษแก่เจ้าหน้าที่ของภาครัฐและประชาชนที่ให้ความร่วมมือในการปราบปรามการค้าประเวณี การประชาสัมพันธ์ให้ความรู้การป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีและการแสวงหาแนวร่วมภาคประชาชน ในการป้องกันปราบปรามการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีให้มากขึ้น โดยการสร้างความร่วมมือกับองค์การ ภาคีต่าง ๆ ทั้ง ภาครัฐ ประชาชน ชุมชน และภาคเอกชน การเตรียมความพร้อมของบุคลากรทั้งจำนวนที่เหมาะสมและการพัฒนาศักยภาพให้บุคลากรมีความรู้ความสามารถในการดำเนินงาน ตลอดจนมีความพร้อมทั้งทางร่างกาย จิตใจ สังคมCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26537 SIU IS-T. ปัจจัยที่มีผลต่อการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีของเจ้าหน้าที่ตำรวจกองกำกับการ 4 กองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์ กองบัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง สำนักงานตำรวจแห่งชาติ = Factors that Effected for Preventing and Suppressing of Prostitution of Police Sub-Division 4 ATI-Human Trafficking Division, Central Investigation Bureau, Royal Thai Police [printed text] / ปิติทัต กงทอง, Author ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name ; วรเดช จันทรศร, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - viii, 88 น. : ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-16
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]กองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์ -- ข้าราชการตำรวจ
[LCSH]การค้ามนุษย์ -- การป้องกันKeywords: การป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณี
ความผูกพันกับองค์การ
ทัศนคติของผู้บังคับบัญชา
ความรู้ความเข้าใจของเจ้าหน้าที่
การสื่อสารAbstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีของเจ้าหน้าที่ตำรวจกองกำกับการ 4 กองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์ กองบัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง สำนักงานตำรวจแห่งชาติ 2) เพื่อศึกษาเปรียบเทียบปัจจัยด้านประชากรศาสตร์กับปัจจัยด้านการปฏิบัติงานการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีของเจ้าหน้าที่ตำรวจกองกำกับการ 4 กองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์ กองบัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง สำนักงานตำรวจแห่งชาติ 3) เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาการปฏิบัติงานการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีของเจ้าหน้าที่ตำรวจ กองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์ กองบัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง สำนักงานตำรวจแห่งชาติ โดยผู้วิจัยใช้วิธีการศึกษาวิจัยเชิงปริมาณ ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยทางด้านประชากรศาสตร์ มีผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชาย ในการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการตำรวจส่วนใหญ่มีอายุระหว่าง 36-45 ปีขึ้นไป ได้มีการสมรสแล้วเป็นส่วนใหญ่และส่วนใหญ่สำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรี และมีรายได้ส่วนใหญ่อยู่ระหว่าง 10,001 – 20,000 บาท โดยส่วนใหญ่มีประสบการณ์การทำงานอยู่ระหว่าง 16-20 ปี และจากการศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีของเจ้าหน้าที่ตำรวจกองกำกับการ 4 กองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์ กองบัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง สำนักงานตำรวจแห่งชาติ สรุปผลการวิจัยแต่ละปัจจัยหลักมีลำดับความสำคัญดังนี้คือ ลำดับแรก ได้แก่ ด้านความผูกพันสัมพันธ์กับองค์การมีความสำคัญ ลำดับที่สอง ได้แก่ ด้านความรู้ความเข้าใจของเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน ลำดับที่สาม ได้แก่ ด้านทัศนคติของผู้บังคับบัญชา ลำดับที่สี่ ด้านการสื่อสาร วัสดุอุปกรณ์และเครื่องมือเครื่องใช้ โดยทั้งสี่ลำดับนี้ เป็นปัจจัยที่ผู้ตอบแบบอบถามให้ความสำคัญอยู่ระดับมาก ลำดับที่สี่ ได้แก่ ด้านอัตรากำลังเจ้าหน้าที่ และลำดับสุดท้าย ได้แก่ ด้านการจัดสรรงบประมาณ เป็นปัจจัยที่ผู้ตอบแบบสอบถามให้ความสำคัญอยู่ในระดับปานกลาง ข้อเสนอแนะในการนำผลการศึกษาค้นคว้าไปใช้ คือ ส่งเสริมและสนับสนุนให้ข้าราชการตำรวจที่ปฏิบัติงานการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีมีความพร้อมในการปฏิบัติงาน โดยการพัฒนาศักยภาพและส่งเสริมให้มีความพร้อมในเรื่องการสร้างประสบการณ์ในการทำงานด้านการป้องกันและการปราบปรามการค้าประเวณี การเสริมรายได้ไปพร้อม ๆ กับการวางแผนการใช้จ่ายต่อเดือน ส่งเสริมให้ลาศึกษาต่อและฝึกอบรมในด้านที่เกี่ยวข้อง สนับสนุนให้ปฏิบัติงานในหน่วยงานที่เหมาะสม และส่งเสริมให้มีความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน รวมทั้งส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการดำเนินงานใน ปัจจัยต่าง ๆ คือ ปัจจัยทางด้านนโยบาย ด้านมาตรการการปฏิบัติ
ด้านกฎหมาย ด้านงบประมาณ ด้านการบริหารจัดการ และด้านบุคลากร ได้แก่ การทบทวนนโยบาย มาตรการ การจัดระบบขั้นตอนที่เกี่ยวข้องให้เอื้อต่อการปฏิบัติงานการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณี การให้รางวัลและการคุ้มครองเป็นพิเศษแก่เจ้าหน้าที่ของภาครัฐและประชาชนที่ให้ความร่วมมือในการปราบปรามการค้าประเวณี การประชาสัมพันธ์ให้ความรู้การป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีและการแสวงหาแนวร่วมภาคประชาชน ในการป้องกันปราบปรามการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีให้มากขึ้น โดยการสร้างความร่วมมือกับองค์การ ภาคีต่าง ๆ ทั้ง ภาครัฐ ประชาชน ชุมชน และภาคเอกชน การเตรียมความพร้อมของบุคลากรทั้งจำนวนที่เหมาะสมและการพัฒนาศักยภาพให้บุคลากรมีความรู้ความสามารถในการดำเนินงาน ตลอดจนมีความพร้อมทั้งทางร่างกาย จิตใจ สังคมCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26537 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000591790 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-16 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000591808 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-16 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ปัจจัยที่มีผลต่อความผูกพันองค์การของข้าราชการตำรวจในสังกัด กองกำกับการ 2 กองบังคับการปราบปรามการกระทำความผิดเกี่ยวกับ อาชญากรรมทางเศรษฐกิจ / มุขดา ปะนิทานะโต / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU IS-T Title : ปัจจัยที่มีผลต่อความผูกพันองค์การของข้าราชการตำรวจในสังกัด กองกำกับการ 2 กองบังคับการปราบปรามการกระทำความผิดเกี่ยวกับ อาชญากรรมทางเศรษฐกิจ Original title : Factors Affecting the Organizational Commitment of Police under Division 2 Economic Crime Suppression Division Material Type: printed text Authors: มุขดา ปะนิทานะโต, Author ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name ; วรเดช จันทรศร, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: viii, 86 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-18
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]กองบังคับการปราบปรามการกระทําความผิดเกี่ยวกับอาชญากรรมทางเศรษฐกิจ -- ข้าราชการตำรวจ
[LCSH]ความผูกพันต่อองค์การKeywords: ความผูกพัน Abstract: การศึกษางานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาปัจจัยส่วนบุคคลที่มีผลต่อความผูกพันองค์การ 2) ศึกษาระดับความผูกพันต่อองค์การจำแนกตามปัจจัยลักษณะงาน ประกอบด้วย สภาพแวดล้อมภายในและสภาพแวดล้อมภายนอก การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ รวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถามจากข้าราชการตำรวจในสังกัดกองกำกับการ 2 กองบังคับการปราบปรามการกระทำความผิดเกี่ยวกับอาชญากรรมทางเศรษฐกิจ จำนวน 65 คน ใช้วิธีการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ ได้แก่ ค่าความถี่ร้อยละ ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยระหว่างกลุ่ม 2 กลุ่ม ด้วย t-test การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยรายคู่ด้วยวิธี LSD
ผลการศึกษาพบว่า 1) ปัจจัยลักษณะงานโดยรวมส่งผลต่อความผูกพันต่อองค์การในระดับมาก ด้านสภาพแวดล้อมภายในส่งผลในระดับมาก เรียงจากมากไปน้อย ได้แก่ ด้านเพื่อนร่วมงาน ด้านผู้บังคับบัญชา และด้านสวัสดิการ ตามลำดับ ด้านสภาพแวดล้อมภายนอกส่งผลในระดับมาก เรียงจากมากไปน้อย ได้แก่ ด้านแรงจูงใจภายนอก ด้านสภาพแวดล้อมในการทำงาน และด้านสถานที่ปฏิบัติงานตามลำดับ
2) อายุที่แตกต่างกัน ส่งผลให้ระดับความผูกพันต่อองค์การโดยรวมปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมภายนอกและด้านสภาพแวดล้อมในการทำงานแตกต่างกัน 3) ระดับการศึกษาที่แตกต่างกัน ส่งผลให้ระดับความผูกพันต่อองค์การด้านสภาพแวดล้อมภายใน ด้านผู้บังคับบัญชาและด้านสภาพแวดล้อมในการทำงานแตกต่างกัน และ 4) ชั้นยศที่แตกต่างกัน ส่งผลให้ระดับความผูกพันต่อองค์การด้านสภาพแวดล้อมภายในและด้านผู้บังคับบัญชาแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26528 SIU IS-T. ปัจจัยที่มีผลต่อความผูกพันองค์การของข้าราชการตำรวจในสังกัด กองกำกับการ 2 กองบังคับการปราบปรามการกระทำความผิดเกี่ยวกับ อาชญากรรมทางเศรษฐกิจ = Factors Affecting the Organizational Commitment of Police under Division 2 Economic Crime Suppression Division [printed text] / มุขดา ปะนิทานะโต, Author ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name ; วรเดช จันทรศร, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - viii, 86 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-18
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]กองบังคับการปราบปรามการกระทําความผิดเกี่ยวกับอาชญากรรมทางเศรษฐกิจ -- ข้าราชการตำรวจ
[LCSH]ความผูกพันต่อองค์การKeywords: ความผูกพัน Abstract: การศึกษางานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาปัจจัยส่วนบุคคลที่มีผลต่อความผูกพันองค์การ 2) ศึกษาระดับความผูกพันต่อองค์การจำแนกตามปัจจัยลักษณะงาน ประกอบด้วย สภาพแวดล้อมภายในและสภาพแวดล้อมภายนอก การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ รวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถามจากข้าราชการตำรวจในสังกัดกองกำกับการ 2 กองบังคับการปราบปรามการกระทำความผิดเกี่ยวกับอาชญากรรมทางเศรษฐกิจ จำนวน 65 คน ใช้วิธีการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ ได้แก่ ค่าความถี่ร้อยละ ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน เปรียบเทียบค่าเฉลี่ยระหว่างกลุ่ม 2 กลุ่ม ด้วย t-test การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว และเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยรายคู่ด้วยวิธี LSD
ผลการศึกษาพบว่า 1) ปัจจัยลักษณะงานโดยรวมส่งผลต่อความผูกพันต่อองค์การในระดับมาก ด้านสภาพแวดล้อมภายในส่งผลในระดับมาก เรียงจากมากไปน้อย ได้แก่ ด้านเพื่อนร่วมงาน ด้านผู้บังคับบัญชา และด้านสวัสดิการ ตามลำดับ ด้านสภาพแวดล้อมภายนอกส่งผลในระดับมาก เรียงจากมากไปน้อย ได้แก่ ด้านแรงจูงใจภายนอก ด้านสภาพแวดล้อมในการทำงาน และด้านสถานที่ปฏิบัติงานตามลำดับ
2) อายุที่แตกต่างกัน ส่งผลให้ระดับความผูกพันต่อองค์การโดยรวมปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมภายนอกและด้านสภาพแวดล้อมในการทำงานแตกต่างกัน 3) ระดับการศึกษาที่แตกต่างกัน ส่งผลให้ระดับความผูกพันต่อองค์การด้านสภาพแวดล้อมภายใน ด้านผู้บังคับบัญชาและด้านสภาพแวดล้อมในการทำงานแตกต่างกัน และ 4) ชั้นยศที่แตกต่างกัน ส่งผลให้ระดับความผูกพันต่อองค์การด้านสภาพแวดล้อมภายในและด้านผู้บังคับบัญชาแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26528 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000591717 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-18 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000591725 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-18 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ปัจจัยที่มีผลต่อความผูกพันในการปฏิบัติงานของบุคลากร องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี / พรรณิรัตน์ จิตนุ่ม / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2014
Collection Title: SIU IS-T Title : ปัจจัยที่มีผลต่อความผูกพันในการปฏิบัติงานของบุคลากร องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี Original title : Factors Affecting Commitment in Personnel Performance in Surat Thani Provincial Administrative Organization Material Type: printed text Authors: พรรณิรัตน์ จิตนุ่ม, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; สมพร เพชรสงค์, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2014 Pagination: ix, 74 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-30
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ความผูกพันต่อองค์การ
[LCSH]องค์การบริหารส่วนจังหวัด -- สุราษฎร์ธานี
[LCSH]เจ้าหน้าที่ -- การปฏิบัติงานKeywords: ความผูกพันในการปฏิบัติงาน Abstract: การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับปัจจัยที่มีผลต่อความผูกพันในการปฏิบัติงานเปรียบเทียบระดับปัจจัยที่มีผลต่อความผูกพันในการปฏิบัติงาน จำแนกตามสถานภาพส่วนบุคลและศึกษาปัญหา ข้อเสนอแนะ และแนวทางการสร้างความผูกพันต่อองค์กรของบุคลากร องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี โดยใช้แบบสอบถามเก็บรวบรวมข้อมูลจากข้าราชการลูกจ้างและพนักงานจ้าง สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี จำนวน 167 คน Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26482 SIU IS-T. ปัจจัยที่มีผลต่อความผูกพันในการปฏิบัติงานของบุคลากร องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี = Factors Affecting Commitment in Personnel Performance in Surat Thani Provincial Administrative Organization [printed text] / พรรณิรัตน์ จิตนุ่ม, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; สมพร เพชรสงค์, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014 . - ix, 74 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-30
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ความผูกพันต่อองค์การ
[LCSH]องค์การบริหารส่วนจังหวัด -- สุราษฎร์ธานี
[LCSH]เจ้าหน้าที่ -- การปฏิบัติงานKeywords: ความผูกพันในการปฏิบัติงาน Abstract: การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับปัจจัยที่มีผลต่อความผูกพันในการปฏิบัติงานเปรียบเทียบระดับปัจจัยที่มีผลต่อความผูกพันในการปฏิบัติงาน จำแนกตามสถานภาพส่วนบุคลและศึกษาปัญหา ข้อเสนอแนะ และแนวทางการสร้างความผูกพันต่อองค์กรของบุคลากร องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี โดยใช้แบบสอบถามเก็บรวบรวมข้อมูลจากข้าราชการลูกจ้างและพนักงานจ้าง สังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดสุราษฎร์ธานี จำนวน 167 คน Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26482 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000591519 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-30 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000591527 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-30 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. รูปแบบความผูกพันต่อองค์การของข้าราชการตำรวจ: กรณีศึกษาสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการตำรวจ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ / นันทวรรณ จันทาเทพ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU IS-T Title : รูปแบบความผูกพันต่อองค์การของข้าราชการตำรวจ: กรณีศึกษาสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการตำรวจ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ Original title : Organizational Commitment of Thai Police Officers: Case Studies of the office of the Police Commission Royal Thai Police Material Type: printed text Authors: นันทวรรณ จันทาเทพ, Author ; อาภากร พลเทียร, Associated Name ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: viii, 114 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: SOM-MBA-2016-02
Independent Study. [MS[MBA]]--Shinawatra University, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ข้าราชการ -- การทำงาน
[LCSH]ความผูกพันต่อองค์การ -- การศึกษาเฉพาะกรณี
[LCSH]ตำรวจ -- ไทยKeywords: ความผูกพัน
องค์กรAbstract: การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อการศึกษารูปแบบความผูกพันต่อองค์กรของข้าราชการตำรวจ กรณีศึกษา สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการตำรวจ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ซึ่งเป็นการวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา คือข้าราชการตำรวจสำนักงานตำรวจแห่งชาติ จำนวน 143 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถาม (มาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ) สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์คือสถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ที่นำมาใช้ในการวิเคราะห์คุณลักษณะของประชากร ใช้สถิติวิเคราะห์ t-test เพื่อทดสอบความสัมพันธ์ของตัวแปร 2 ตัวแปร และใช้สถิติวิเคราะห์ ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน (Pearson’s Correlation Coefficient) เพื่อทดสอบความสัมพันธ์เชิงเส้นระหว่างตัวแปรเชิงปริมาณ 2 ตัวแปร
ผลการศึกษาพบว่า
1) คุณลักษณะของประชากรพบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุระหว่าง 31 – 40 ปี สถานภาพโสด การศึกษาระดับปริญญาตรี ตำแหน่งส่วนใหญ่เป็น รองสารวัตร – สารวัตร อัตราเงินเดือน อยู่ระหว่าง 15,001 – 25,000 บาท ระยะเวลาในการปฏิบัติงาน 6 - 15 ปี และสายงานด้านงานอำนวยการ
2) ความคิดเห็นเกี่ยวกับภาพโดยรวมของปัจจัยแรงจูงใจในการทำงานของข้าราชการตำรวจ สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการตำรวจ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ อยู่ในระดับมาก และมีค่าเฉลี่ยของของปัจจัยแรงจูงใจด้านความก้าวหน้าในตำแหน่งงานอยู่ในระดับสูงสุด รองลงมาคือด้านลักษณะงานที่ปฏิบัติและด้านการได้รับการยอมรับตามลำดับ และปัจจัยความผูกพันต่อองค์กรของข้าราชการตำรวจ สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการตำรวจ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ อยู่ในระดับมาก และมีค่าเฉลี่ยของของปัจจัยความผูกพันต่อองค์กรด้านจิตใจอยู่ในระดับสูงสุด รองลงมาคือด้านการคงอยู่กับองค์กรและด้านบรรทัดฐานตามลำดับ
3) การทดสอบความสัมพันธ์ของปัจจัยคุณลักษณะประชากรต่อปัจจัยความผูกพันต่อองค์กรของข้าราชการตำรวจ พบว่าปัจจัยคุณลักษณะประชากร ด้านเพศ อายุ สถานภาพ ระดับการศึกษา ตำแหน่ง อัตราเงินเดือน และสายงาน ที่แตกต่างกันแต่มีความผูกพันต่อองค์กรที่ไม่แตกต่างกัน และปัจจัยแรงจูงใจในการทำงานของข้าราชการตำรวจมีความสัมพันธ์เชิงบวกต่อปัจจัยความผูกพันต่อองค์กรของข้าราชการตำรวจ ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.01 โดยมีค่าสัมประสิทธิ์ความสัมพันธ์เท่ากับ 0.762Curricular : BBA/GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26486 SIU IS-T. รูปแบบความผูกพันต่อองค์การของข้าราชการตำรวจ: กรณีศึกษาสำนักงานคณะกรรมการข้าราชการตำรวจ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ = Organizational Commitment of Thai Police Officers: Case Studies of the office of the Police Commission Royal Thai Police [printed text] / นันทวรรณ จันทาเทพ, Author ; อาภากร พลเทียร, Associated Name ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - viii, 114 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: SOM-MBA-2016-02
Independent Study. [MS[MBA]]--Shinawatra University, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ข้าราชการ -- การทำงาน
[LCSH]ความผูกพันต่อองค์การ -- การศึกษาเฉพาะกรณี
[LCSH]ตำรวจ -- ไทยKeywords: ความผูกพัน
องค์กรAbstract: การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อการศึกษารูปแบบความผูกพันต่อองค์กรของข้าราชการตำรวจ กรณีศึกษา สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการตำรวจ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ซึ่งเป็นการวิจัยเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา คือข้าราชการตำรวจสำนักงานตำรวจแห่งชาติ จำนวน 143 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถาม (มาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ) สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์คือสถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ที่นำมาใช้ในการวิเคราะห์คุณลักษณะของประชากร ใช้สถิติวิเคราะห์ t-test เพื่อทดสอบความสัมพันธ์ของตัวแปร 2 ตัวแปร และใช้สถิติวิเคราะห์ ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน (Pearson’s Correlation Coefficient) เพื่อทดสอบความสัมพันธ์เชิงเส้นระหว่างตัวแปรเชิงปริมาณ 2 ตัวแปร
ผลการศึกษาพบว่า
1) คุณลักษณะของประชากรพบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุระหว่าง 31 – 40 ปี สถานภาพโสด การศึกษาระดับปริญญาตรี ตำแหน่งส่วนใหญ่เป็น รองสารวัตร – สารวัตร อัตราเงินเดือน อยู่ระหว่าง 15,001 – 25,000 บาท ระยะเวลาในการปฏิบัติงาน 6 - 15 ปี และสายงานด้านงานอำนวยการ
2) ความคิดเห็นเกี่ยวกับภาพโดยรวมของปัจจัยแรงจูงใจในการทำงานของข้าราชการตำรวจ สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการตำรวจ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ อยู่ในระดับมาก และมีค่าเฉลี่ยของของปัจจัยแรงจูงใจด้านความก้าวหน้าในตำแหน่งงานอยู่ในระดับสูงสุด รองลงมาคือด้านลักษณะงานที่ปฏิบัติและด้านการได้รับการยอมรับตามลำดับ และปัจจัยความผูกพันต่อองค์กรของข้าราชการตำรวจ สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการตำรวจ สำนักงานตำรวจแห่งชาติ อยู่ในระดับมาก และมีค่าเฉลี่ยของของปัจจัยความผูกพันต่อองค์กรด้านจิตใจอยู่ในระดับสูงสุด รองลงมาคือด้านการคงอยู่กับองค์กรและด้านบรรทัดฐานตามลำดับ
3) การทดสอบความสัมพันธ์ของปัจจัยคุณลักษณะประชากรต่อปัจจัยความผูกพันต่อองค์กรของข้าราชการตำรวจ พบว่าปัจจัยคุณลักษณะประชากร ด้านเพศ อายุ สถานภาพ ระดับการศึกษา ตำแหน่ง อัตราเงินเดือน และสายงาน ที่แตกต่างกันแต่มีความผูกพันต่อองค์กรที่ไม่แตกต่างกัน และปัจจัยแรงจูงใจในการทำงานของข้าราชการตำรวจมีความสัมพันธ์เชิงบวกต่อปัจจัยความผูกพันต่อองค์กรของข้าราชการตำรวจ ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.01 โดยมีค่าสัมประสิทธิ์ความสัมพันธ์เท่ากับ 0.762Curricular : BBA/GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26486 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000591535 SIU IS-T: SOM-MBA-2016-02 c.1 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available การปฏิบัติบทบาทของพยาบาลวิชาชีพในการสร้างเสริมสุขภาพในเขตพื้นที่ภาคกลาง / วัลยา ธรรมพนิชวัฒน์ in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.17 No.1 (Jan-Apr) 2016 ([06/20/2016])
[article]
Title : การปฏิบัติบทบาทของพยาบาลวิชาชีพในการสร้างเสริมสุขภาพในเขตพื้นที่ภาคกลาง Original title : Role performance of professional nurse in health promotion in central region Material Type: printed text Authors: วัลยา ธรรมพนิชวัฒน์, Author ; ศรีสุดา คล้ายคล่องจิตร, Author ; ณัฐา วงศ์วุฒิสาโรช, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.54-62 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.17 No.1 (Jan-Apr) 2016 [06/20/2016] . - p.54-62Keywords: พยาบาลวิชาชีพ.การปฏิบัติบทบาท.การสร้างเสริมสุขภาพ.เขตพื้นที่ภาคกลาง. Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25561 [article] การปฏิบัติบทบาทของพยาบาลวิชาชีพในการสร้างเสริมสุขภาพในเขตพื้นที่ภาคกลาง = Role performance of professional nurse in health promotion in central region [printed text] / วัลยา ธรรมพนิชวัฒน์, Author ; ศรีสุดา คล้ายคล่องจิตร, Author ; ณัฐา วงศ์วุฒิสาโรช, Author . - 2016 . - p.54-62.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.17 No.1 (Jan-Apr) 2016 [06/20/2016] . - p.54-62Keywords: พยาบาลวิชาชีพ.การปฏิบัติบทบาท.การสร้างเสริมสุขภาพ.เขตพื้นที่ภาคกลาง. Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25561 การปฏิบัติบทบาทของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชน / อุษนันท์ อินทมาศน์, / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2546
Title : การปฏิบัติบทบาทของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชน Original title : Role performance of professional nurse in community hospital Material Type: printed text Authors: อุษนันท์ อินทมาศน์, (2518-), Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2546 Pagination: ก-ฌ, 117 แผ่น Layout: ตาราง Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-175-780-3 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]].--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2546 Languages : English (eng) Descriptors: [LCSH]บทบาทที่คาดหวัง
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพ
[LCSH]วิชาชีพพยาบาล
[LCSH]โรงพยาบาลชุมชนKeywords: พยาบาลวิชาชีพ.
โรงพยาบาลชุมชน.
บทบาท.
หน้าที่.Class number: WY100 อ948 2546 Abstract: การวิจัยเชิงคุณภาพนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสบการณ์การปฏิบัติบทบาทของพยาบาลวิชาชีพ และศึกษาเงื่อนไขหรือปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติบทบาทของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชน โดยศึกษาในโรงพยาบาลชุมชน ขนาด 30 เตียง ในเขตภาคเหนือตอนล่าง จำนวน 1 แห่ง ใช้วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (Indepth interview) จากพยาบาลวิชาชีพที่มีประสบการณ์การปฏิบัติงาน 3 ปี ขึ้นไป จำนวน 16 คน แล้ววิเคราะห์เนื้อหาจากข้อมูลที่ได้ ผลการศึกษาพบว่า พยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชนมีการปฏิบัติบทบาทด้านการบริการสุขภาพประกอบด้วยบทบาทด้านการปฏิบัติการพยาบาล บทบาทด้านการบริหารจัดการ และบทบาทด้านวิชาการ ซึ่ง พยาบาลวิชาชีพมีการปฏิบัติหน้าที่เกินขอบเขตในเรื่องการรักษาโรค โดยพยาบาลวิชาชีพได้ให้บริการรักษานอกเวลาราชการแก่ผู้รับบริการที่เจ็บป่วยเล็กน้อยถึงรุนแรง การปฏิบัติบทบาทเกินขอบเขตทำให้พยาบาลวิชาชีพมีความคับข้องใจและไม่มั่นใจในการทำงานพยาบาลวิชาชีพรับรู้บทบาทหน้าที่ของตนและต้องการให้งานการพยาบาลเป็นไปตามขอบเขตที่กำหนด แต่ด้วยความจำเป็นด้านบุคลากร ทำให้พยาบาลวิชาชีพต้องปฏิบัติหน้าที่ด้านการรักษาต่อไป ในการปฏิบัติบทบาทด้านการบริหารงานพบว่า พยาบาลวิชาชีพมีบทบาทเป็นผู้นำในการบริหารงาน มีส่วนร่วมหรือเป็นผู้ประสานงานด้านการบริหาร และการบริหารงานในโครงการเฉพาะกิจ ภาระงานที่มีปริมาณมากเกินขีดความสามารถ ประกอบกับเวลาที่จำกัดทำให้พยาบาลวิชาชีพรู้สึกไม่มีเวลาในการพักผ่อน อีกทั้งการได้รับมอบหมายงานที่ไม่มีความสนใจ ทำให้ไม่มีความกระตือรือร้นในการปฏิบัติงาน การทำงานไม่ครบถ้วนสมบูรณ์และขาดประสิทธิภาพ อนึ่งภาระงานที่เหมาะสมจะเป็นการท้าทายความสามารถและก่อให้เกิดการพัฒนาความสามารถได้ ทางด้านการปฏิบัติบทบาทด้านวิชาการพบว่า พยาบาลวิชาชีพรับรู้ว่าตนปฏิบัติบทบาทด้านวิชาการแก่ผู้รับบริการอย่างสม่ำเสมอ โดยเฉพาะการให้ความรู้เป็นรายบุคคลแก่ผู้รับบริการในแผนกที่ตนปฏิบัติงานอยู่ แต่การปฏิบัติบทบาทด้านวิชาการในหน่วยงานมีน้อย เนื่องจากนโยบายด้านวิชาการของหน่วยงานไม่ชัดเจน ขาดการสนับสนุนให้มีการพัฒนาตนเอง ซึ่งพยาบาลวิชาชีพมีความต้องการพัฒนาตนเองอยู่เสมอและพยายามที่จะแสวงหาโอกาสการพัฒนาด้วยตนเอง แม้ว่าพยาบาลวิชาชีพจะมีความคับข้องใจที่ต้องปฏิบัติบทบาทเกินขอบเขตหน้าที่ แต่ก็จำเป็นต้องปฏิบัติ โดยมีมุมมองในเชิงบวกว่าเป็นเพราะหน่วยงานขาดแคลนบุคลากร อีกทั้งต้องการให้หน่วยงานเป็นที่ยอมรับของผู้รับบริการ พยาบาลวิชาชีพต้องการพัฒนาศักยภาพของตน เกี่ยวกับความรู้และทักษะด้านเวชปฏิบัติเพื่อนำมาใช้ในการปฏิบัติงานด้านการรักษา นอกจากนี้ได้เสนอแนะว่าการปฏิบัติงานด้านการรักษาโรค ควรมีการมอบหมายงานและกำหนดขอบเขตเป็นลายลักษณ์อักษร มีการควบคุมดูแลโดยแพทย์อย่างใกล้ชิดเพื่อไม่ให้เกิดข้อผิดพลาดในการปฏิบัติงาน Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23174 การปฏิบัติบทบาทของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชน = Role performance of professional nurse in community hospital [printed text] / อุษนันท์ อินทมาศน์, (2518-), Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546 . - ก-ฌ, 117 แผ่น : ตาราง ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-175-780-3 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]].--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2546
Languages : English (eng)
Descriptors: [LCSH]บทบาทที่คาดหวัง
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพ
[LCSH]วิชาชีพพยาบาล
[LCSH]โรงพยาบาลชุมชนKeywords: พยาบาลวิชาชีพ.
โรงพยาบาลชุมชน.
บทบาท.
หน้าที่.Class number: WY100 อ948 2546 Abstract: การวิจัยเชิงคุณภาพนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสบการณ์การปฏิบัติบทบาทของพยาบาลวิชาชีพ และศึกษาเงื่อนไขหรือปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติบทบาทของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชน โดยศึกษาในโรงพยาบาลชุมชน ขนาด 30 เตียง ในเขตภาคเหนือตอนล่าง จำนวน 1 แห่ง ใช้วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (Indepth interview) จากพยาบาลวิชาชีพที่มีประสบการณ์การปฏิบัติงาน 3 ปี ขึ้นไป จำนวน 16 คน แล้ววิเคราะห์เนื้อหาจากข้อมูลที่ได้ ผลการศึกษาพบว่า พยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชนมีการปฏิบัติบทบาทด้านการบริการสุขภาพประกอบด้วยบทบาทด้านการปฏิบัติการพยาบาล บทบาทด้านการบริหารจัดการ และบทบาทด้านวิชาการ ซึ่ง พยาบาลวิชาชีพมีการปฏิบัติหน้าที่เกินขอบเขตในเรื่องการรักษาโรค โดยพยาบาลวิชาชีพได้ให้บริการรักษานอกเวลาราชการแก่ผู้รับบริการที่เจ็บป่วยเล็กน้อยถึงรุนแรง การปฏิบัติบทบาทเกินขอบเขตทำให้พยาบาลวิชาชีพมีความคับข้องใจและไม่มั่นใจในการทำงานพยาบาลวิชาชีพรับรู้บทบาทหน้าที่ของตนและต้องการให้งานการพยาบาลเป็นไปตามขอบเขตที่กำหนด แต่ด้วยความจำเป็นด้านบุคลากร ทำให้พยาบาลวิชาชีพต้องปฏิบัติหน้าที่ด้านการรักษาต่อไป ในการปฏิบัติบทบาทด้านการบริหารงานพบว่า พยาบาลวิชาชีพมีบทบาทเป็นผู้นำในการบริหารงาน มีส่วนร่วมหรือเป็นผู้ประสานงานด้านการบริหาร และการบริหารงานในโครงการเฉพาะกิจ ภาระงานที่มีปริมาณมากเกินขีดความสามารถ ประกอบกับเวลาที่จำกัดทำให้พยาบาลวิชาชีพรู้สึกไม่มีเวลาในการพักผ่อน อีกทั้งการได้รับมอบหมายงานที่ไม่มีความสนใจ ทำให้ไม่มีความกระตือรือร้นในการปฏิบัติงาน การทำงานไม่ครบถ้วนสมบูรณ์และขาดประสิทธิภาพ อนึ่งภาระงานที่เหมาะสมจะเป็นการท้าทายความสามารถและก่อให้เกิดการพัฒนาความสามารถได้ ทางด้านการปฏิบัติบทบาทด้านวิชาการพบว่า พยาบาลวิชาชีพรับรู้ว่าตนปฏิบัติบทบาทด้านวิชาการแก่ผู้รับบริการอย่างสม่ำเสมอ โดยเฉพาะการให้ความรู้เป็นรายบุคคลแก่ผู้รับบริการในแผนกที่ตนปฏิบัติงานอยู่ แต่การปฏิบัติบทบาทด้านวิชาการในหน่วยงานมีน้อย เนื่องจากนโยบายด้านวิชาการของหน่วยงานไม่ชัดเจน ขาดการสนับสนุนให้มีการพัฒนาตนเอง ซึ่งพยาบาลวิชาชีพมีความต้องการพัฒนาตนเองอยู่เสมอและพยายามที่จะแสวงหาโอกาสการพัฒนาด้วยตนเอง แม้ว่าพยาบาลวิชาชีพจะมีความคับข้องใจที่ต้องปฏิบัติบทบาทเกินขอบเขตหน้าที่ แต่ก็จำเป็นต้องปฏิบัติ โดยมีมุมมองในเชิงบวกว่าเป็นเพราะหน่วยงานขาดแคลนบุคลากร อีกทั้งต้องการให้หน่วยงานเป็นที่ยอมรับของผู้รับบริการ พยาบาลวิชาชีพต้องการพัฒนาศักยภาพของตน เกี่ยวกับความรู้และทักษะด้านเวชปฏิบัติเพื่อนำมาใช้ในการปฏิบัติงานด้านการรักษา นอกจากนี้ได้เสนอแนะว่าการปฏิบัติงานด้านการรักษาโรค ควรมีการมอบหมายงานและกำหนดขอบเขตเป็นลายลักษณ์อักษร มีการควบคุมดูแลโดยแพทย์อย่างใกล้ชิดเพื่อไม่ให้เกิดข้อผิดพลาดในการปฏิบัติงาน Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23174 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000355493 WY100 อ948 2546 Thesis Main Library Thesis Corner Available การประยุกต์ใช้นวตกรรมการดูแลโรคเรื้อร้งขององค์การอนามัยโลก / นงนุช โอบะ in วารสารการพยาบาลและสุขภาพ, Vol.13 No.2 (Apr-Jun) 2019 ([11/14/2019])
การพยาบาลเพื่อความปลอดภัย / เพ็ญจันทร์ แสนประสาน / กรุงเทพฯ : สุขขุมวิทการพิมพ์ - 2558
in ความปลอดภัย และ Competency พยาบาล CVT / บุปผาวัลย์ ศรีล้ำ ; ดวงกมล วัตราดุลย์ / กรุงเทพฯ : สุขขุมวิทการพิมพ์ - 2551
Title : การพยาบาลเพื่อความปลอดภัย : สมรรถนะพยาบาล CVT Material Type: printed text Authors: เพ็ญจันทร์ แสนประสาน, Editor ; ดวงกมล วัตราดุลย์, Editor ; บุปผาวัลย์ ศรีล้ำ, Editor Edition statement: ปรับปรุงครั้งที่ 1 Publisher: กรุงเทพฯ : สุขขุมวิทการพิมพ์ Publication Date: 2558 Pagination: 182 หน้า Layout: ภาพประกอบ Size: 27 ซม. ISBN (or other code): 978-974-383-227-7 Price: บริจาค (250.00) Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]Thoracic -- assessment
[NLM]Cardiovascular -- assessment
[NLM]Thoracic -- assessment
[NLM]ความปลอดภัย -- พยาบาล
[NLM]สมรรถนะ -- พยาบาลKeywords: สมรรถนะ.
พยาบาลวิชาชีพ.
ความปลอดภัย.
CTV.Class number: WY105 ก181 2558 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27644
in ความปลอดภัย และ Competency พยาบาล CVT / บุปผาวัลย์ ศรีล้ำ ; ดวงกมล วัตราดุลย์ / กรุงเทพฯ : สุขขุมวิทการพิมพ์ - 2551
การพยาบาลเพื่อความปลอดภัย : สมรรถนะพยาบาล CVT [printed text] / เพ็ญจันทร์ แสนประสาน, Editor ; ดวงกมล วัตราดุลย์, Editor ; บุปผาวัลย์ ศรีล้ำ, Editor . - ปรับปรุงครั้งที่ 1 . - กรุงเทพฯ : สุขขุมวิทการพิมพ์, 2558 . - 182 หน้า : ภาพประกอบ ; 27 ซม.
ISBN : 978-974-383-227-7 : บริจาค (250.00)
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]Thoracic -- assessment
[NLM]Cardiovascular -- assessment
[NLM]Thoracic -- assessment
[NLM]ความปลอดภัย -- พยาบาล
[NLM]สมรรถนะ -- พยาบาลKeywords: สมรรถนะ.
พยาบาลวิชาชีพ.
ความปลอดภัย.
CTV.Class number: WY105 ก181 2558 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27644 Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000520526 WY105 ก181 2558 Book Main Library General Shelf Not for loan