From this page you can:
Home |
Search results
6 result(s) search for keyword(s) 'คุณภาพการให้บริการ'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
SIU IS-T. คุณภาพการให้บริการขององค์การบริหารส่วนตำบลท่าขนอน อำเภอคีรีรัฐนิคม จังหวัดสุราษฎร์ธานี / อรพรรณ พัฒนรักษา / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU IS-T Title : คุณภาพการให้บริการขององค์การบริหารส่วนตำบลท่าขนอน อำเภอคีรีรัฐนิคม จังหวัดสุราษฎร์ธานี Original title : A Research on Service Quality of the Tambol Administrative Organization of Takhanon of Kiriratnikom District, Suratthani Province Material Type: printed text Authors: อรพรรณ พัฒนรักษา, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; สมชาย รัตนโกมุท, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: viii, 81 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-11
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การควบคุมคุณภาพ
[LCSH]การบริการ -- การพัฒนา
[LCSH]องค์การบริหารส่วนตำบล -- สุราษธานี -- ท่าขนอน -- การให้บริการKeywords: คุณภาพการให้บริการ
องค์การบริหารส่วนตำบลAbstract: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระดับคุณภาพการให้บริการขององค์การบริหารส่วนตำบลท่าขนอน อำเภอคีรีรัฐนิคม จังหวัดสุราษฎร์ธานี 2) เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นของประชาชนต่อคุณภาพการให้บริการองค์การบริหารส่วนตำบลท่าขนอน อำเภอคีรีรัฐนิคม จังหวัดสุราษฎร์ธานี 3) เพื่อศึกษาปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะต่อคุณภาพการให้บริการขององค์การบริหารส่วนตำบลท่าขนอน อำเภอคีรีรัฐนิคม จังหวัดสุราษฎร์ธานี โดยใช้วิธีเชิงปริมาณ มีกลุ่มตัวอย่างจำนวน 376 คน ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย วิเคราะห์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูปเพื่อการวิเคราะห์ทางสถิติ SPSS สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลประกอบด้วย สถิติบรรยาย (descriptive statistics) ได้แก่ ความถี่ (frequency) ร้อยละ (percentage) ค่าเฉลี่ย (mean) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (standard deviation) และสถิติอ้างอิง (inferential statistics) ได้แก่ สถิติ t-test และสถิติ one way ANOVA โดยกำหนดนัยสำคัญทางสถิติไว้ที่ระดับ .05 และ .01
ผลการศึกษา พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีอายุ 21-30 ปี การศึกษาอนุปริญญา หรือเทียบเท่า มีอาชีพรับจ้างทั่วไป และรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 5,000-10,000 บาท คุณภาพการให้บริการขององค์การบริหารส่วนตำบลท่าขนอน อำเภอคีรีรัฐนิคม จังหวัดสุราษฏร์ธานี โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง ปัญหาและอุปสรรคที่ประชาชนได้รับจากการบริการ คือ เรื่องความล่าช้าในการรับบริการ เป็นปัญหาและอุปสรรคต่อคุณภาพการให้บริการมากCurricular : GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26539 SIU IS-T. คุณภาพการให้บริการขององค์การบริหารส่วนตำบลท่าขนอน อำเภอคีรีรัฐนิคม จังหวัดสุราษฎร์ธานี = A Research on Service Quality of the Tambol Administrative Organization of Takhanon of Kiriratnikom District, Suratthani Province [printed text] / อรพรรณ พัฒนรักษา, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; สมชาย รัตนโกมุท, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - viii, 81 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-11
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การควบคุมคุณภาพ
[LCSH]การบริการ -- การพัฒนา
[LCSH]องค์การบริหารส่วนตำบล -- สุราษธานี -- ท่าขนอน -- การให้บริการKeywords: คุณภาพการให้บริการ
องค์การบริหารส่วนตำบลAbstract: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาระดับคุณภาพการให้บริการขององค์การบริหารส่วนตำบลท่าขนอน อำเภอคีรีรัฐนิคม จังหวัดสุราษฎร์ธานี 2) เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นของประชาชนต่อคุณภาพการให้บริการองค์การบริหารส่วนตำบลท่าขนอน อำเภอคีรีรัฐนิคม จังหวัดสุราษฎร์ธานี 3) เพื่อศึกษาปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะต่อคุณภาพการให้บริการขององค์การบริหารส่วนตำบลท่าขนอน อำเภอคีรีรัฐนิคม จังหวัดสุราษฎร์ธานี โดยใช้วิธีเชิงปริมาณ มีกลุ่มตัวอย่างจำนวน 376 คน ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย วิเคราะห์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูปเพื่อการวิเคราะห์ทางสถิติ SPSS สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลประกอบด้วย สถิติบรรยาย (descriptive statistics) ได้แก่ ความถี่ (frequency) ร้อยละ (percentage) ค่าเฉลี่ย (mean) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (standard deviation) และสถิติอ้างอิง (inferential statistics) ได้แก่ สถิติ t-test และสถิติ one way ANOVA โดยกำหนดนัยสำคัญทางสถิติไว้ที่ระดับ .05 และ .01
ผลการศึกษา พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีอายุ 21-30 ปี การศึกษาอนุปริญญา หรือเทียบเท่า มีอาชีพรับจ้างทั่วไป และรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 5,000-10,000 บาท คุณภาพการให้บริการขององค์การบริหารส่วนตำบลท่าขนอน อำเภอคีรีรัฐนิคม จังหวัดสุราษฏร์ธานี โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง ปัญหาและอุปสรรคที่ประชาชนได้รับจากการบริการ คือ เรื่องความล่าช้าในการรับบริการ เป็นปัญหาและอุปสรรคต่อคุณภาพการให้บริการมากCurricular : GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26539 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000591832 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-11 c.1 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available SIU IS-T. คุณภาพการให้บริการประชาชนของสถานีตำรวจภูธร อำเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี / ณรงค์ฤทธิ์ นาคคง / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2014
Collection Title: SIU IS-T Title : คุณภาพการให้บริการประชาชนของสถานีตำรวจภูธร อำเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี Original title : Quality of Public Service at the Police Station in Phunphin District, Surat Thani Province Material Type: printed text Authors: ณรงค์ฤทธิ์ นาคคง, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; สมพร เพชรสงค์, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2014 Pagination: vii, 61 หน้า Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-22
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ตำรวจ -- สุราษฎร์ธานี -- พุนพิน
[LCSH]บริการKeywords: คุณภาพการให้บริการ Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาระดับคุณภาพการให้บริการประชาชนของสถานีตำรวจภูธรพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี ศึกษาข้อเสนอแนะ และแนวทางในการพัฒนาคุณภาพการให้
บริการประชาชนCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26115 SIU IS-T. คุณภาพการให้บริการประชาชนของสถานีตำรวจภูธร อำเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี = Quality of Public Service at the Police Station in Phunphin District, Surat Thani Province [printed text] / ณรงค์ฤทธิ์ นาคคง, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; สมพร เพชรสงค์, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014 . - vii, 61 หน้า : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-22
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ตำรวจ -- สุราษฎร์ธานี -- พุนพิน
[LCSH]บริการKeywords: คุณภาพการให้บริการ Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาระดับคุณภาพการให้บริการประชาชนของสถานีตำรวจภูธรพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี ศึกษาข้อเสนอแนะ และแนวทางในการพัฒนาคุณภาพการให้
บริการประชาชนCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26115 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000590339 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-22 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available 32002000590347 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-22 c.2 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. การพัฒนากิจการตามแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมธุรกิจบริการสุขภาพ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ: กรณีศึกษา กิจการสปา เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร / กุลิสรา บริณตพงษ์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : การพัฒนากิจการตามแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมธุรกิจบริการสุขภาพ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ: กรณีศึกษา กิจการสปา เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร Original title : The Study on Business Development towards Strategic Plan for Health Service Promotion, Department of Health Service Support, Case Study: Spa Business in Wattana, Bangkok Material Type: printed text Authors: กุลิสรา บริณตพงษ์, Author ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name ; วรเดช จันทรศร, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: x, 108 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-08
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]บริหารธุรกิจ
[LCSH]แผนกลยุทธ์Keywords: การพัฒนา,
คุณภาพการให้บริการ,
กิจการสปาAbstract: การศึกษาการพัฒนากิจการตามแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมธุรกิจบริการสุขภาพ
กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ: กรณีศึกษา กิจการสปา เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการพัฒนากิจการและปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนากิจการตามแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมธุรกิจบริการสุขภาพ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ: กรณีศึกษา กิจการสปา เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร ประชากรในการศึกษาครั้งนี้ คือ ผู้ใช้บริการกิจการสปา เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร จำนวน 400 คน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล และคำนวณค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ต่อจากนั้นนำมาวิเคราะห์เพื่อทดสอบสมมติฐานแต่ละข้อดังนี้ การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ใช้การทดสอบไคสแควร์ ในส่วนกลยุทธ์ด้านการตลาดและบริหารงานต่อการพัฒนากิจการตามแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมธุรกิจบริการสุขภาพ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ: กรณีศึกษา กิจการสปา เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร ใช้สถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน
ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนมากเป็นเพศหญิง มีอายุมากกว่า 30-40 ปี สถานภาพสมรส ระดับการศึกษาปริญญาตรี อาชีพพนักงานบริษัทเอกชน (ร้อยละ 36.8) รายได้เฉลี่ยต่อเดือน 15,001 – 25,000 บาท กลยุทธ์ด้านการตลาดอยู่ระดับมาก การบริหารงาน อยู่ระดับมาก และการพัฒนากิจการตามแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมธุรกิจบริการสุขภาพ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ: กรณีศึกษา กิจการสปา เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร อยู่ระดับมาก การทดสอบสมมุติฐาน พบว่า ปัจจัยส่วนบุคคล ประกอบด้วย รายได้เฉลี่ยต่อเดือน กลยุทธ์ด้านการตลาด ประกอบด้วยด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ด้านการส่งเสริมการขาย และการบริหารงาน ประกอบด้วยด้านคุณภาพการบริการ ด้านการดูแลและติดตามผล ด้านนวัตกรรม ด้านสิ่งแวดล้อม และด้านความพึงพอใจมีความสัมพันธ์กับการพัฒนากิจการตามแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมธุรกิจบริการสุขภาพ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ: กรณีศึกษา กิจการสปา เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05
ข้อเสนอแนะในการวิจัย เพื่อเป็นการยกระดับกิจการสปาให้ได้มาตรฐานและเป็นที่ยอมรับทั้งภายในและต่างประเทศ ควรมีโครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกิจการสปาเพื่อส่งเสริมกิจการสปา (ความรู้พื้นฐานที่จำเป็นต้องได้รับการพัฒนา) โครงการสัมมนาวิชาการด้านบริการส่งเสริมสุขภาพแบบองค์รวมระดับประเทศ (เช่น การประชุมวิชาการประจำปี/การสัมมนาสปานานาชาติ/การศึกษาดูงาน/การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เป็นต้น) และโครงการตรวจประเมินและรับรองหลักสูตรฯ
Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26721 SIU IS-T. การพัฒนากิจการตามแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมธุรกิจบริการสุขภาพ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ: กรณีศึกษา กิจการสปา เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร = The Study on Business Development towards Strategic Plan for Health Service Promotion, Department of Health Service Support, Case Study: Spa Business in Wattana, Bangkok [printed text] / กุลิสรา บริณตพงษ์, Author ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name ; วรเดช จันทรศร, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - x, 108 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-08
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]บริหารธุรกิจ
[LCSH]แผนกลยุทธ์Keywords: การพัฒนา,
คุณภาพการให้บริการ,
กิจการสปาAbstract: การศึกษาการพัฒนากิจการตามแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมธุรกิจบริการสุขภาพ
กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ: กรณีศึกษา กิจการสปา เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการพัฒนากิจการและปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนากิจการตามแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมธุรกิจบริการสุขภาพ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ: กรณีศึกษา กิจการสปา เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร ประชากรในการศึกษาครั้งนี้ คือ ผู้ใช้บริการกิจการสปา เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร จำนวน 400 คน โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล และคำนวณค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ต่อจากนั้นนำมาวิเคราะห์เพื่อทดสอบสมมติฐานแต่ละข้อดังนี้ การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ใช้การทดสอบไคสแควร์ ในส่วนกลยุทธ์ด้านการตลาดและบริหารงานต่อการพัฒนากิจการตามแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมธุรกิจบริการสุขภาพ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ: กรณีศึกษา กิจการสปา เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร ใช้สถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน
ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนมากเป็นเพศหญิง มีอายุมากกว่า 30-40 ปี สถานภาพสมรส ระดับการศึกษาปริญญาตรี อาชีพพนักงานบริษัทเอกชน (ร้อยละ 36.8) รายได้เฉลี่ยต่อเดือน 15,001 – 25,000 บาท กลยุทธ์ด้านการตลาดอยู่ระดับมาก การบริหารงาน อยู่ระดับมาก และการพัฒนากิจการตามแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมธุรกิจบริการสุขภาพ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ: กรณีศึกษา กิจการสปา เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร อยู่ระดับมาก การทดสอบสมมุติฐาน พบว่า ปัจจัยส่วนบุคคล ประกอบด้วย รายได้เฉลี่ยต่อเดือน กลยุทธ์ด้านการตลาด ประกอบด้วยด้านผลิตภัณฑ์ ด้านราคา ด้านการส่งเสริมการขาย และการบริหารงาน ประกอบด้วยด้านคุณภาพการบริการ ด้านการดูแลและติดตามผล ด้านนวัตกรรม ด้านสิ่งแวดล้อม และด้านความพึงพอใจมีความสัมพันธ์กับการพัฒนากิจการตามแผนยุทธศาสตร์การส่งเสริมธุรกิจบริการสุขภาพ กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ: กรณีศึกษา กิจการสปา เขตวัฒนา กรุงเทพมหานคร ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05
ข้อเสนอแนะในการวิจัย เพื่อเป็นการยกระดับกิจการสปาให้ได้มาตรฐานและเป็นที่ยอมรับทั้งภายในและต่างประเทศ ควรมีโครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรกิจการสปาเพื่อส่งเสริมกิจการสปา (ความรู้พื้นฐานที่จำเป็นต้องได้รับการพัฒนา) โครงการสัมมนาวิชาการด้านบริการส่งเสริมสุขภาพแบบองค์รวมระดับประเทศ (เช่น การประชุมวิชาการประจำปี/การสัมมนาสปานานาชาติ/การศึกษาดูงาน/การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ เป็นต้น) และโครงการตรวจประเมินและรับรองหลักสูตรฯ
Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26721 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000593267 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-08 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ความคาดหวังและความพึงพอใจของผู้พิการทางการเคลื่อนไหว ต่อการให้บริการของเจ้าหน้าที่ที่ว่าการอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ / ถิรภัทร ประภาสิทธิ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU IS-T Title : ความคาดหวังและความพึงพอใจของผู้พิการทางการเคลื่อนไหว ต่อการให้บริการของเจ้าหน้าที่ที่ว่าการอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ Original title : Expectation and Satisfaction of Physical Disability in Public Service Of District Officer at Chiang Mai District Office Material Type: printed text Authors: ถิรภัทร ประภาสิทธิ, Author ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name ; วรเดช จันทรศร, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: x,88 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-14
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริการ -- การพัฒนา
[LCSH]คนพิการ -- สวัสดิการ -- เชียงใหม่
[LCSH]เจ้าหน้าที่ที่ว่าการอำเภอ -- การให้บริการ -- เชียงใหม่Keywords: ผู้พิการทางการเคลื่อนไหว
ความคาดหวังและความพึงพอใจ
คุณภาพการให้บริการAbstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาความคาดหวังและความพึงพอใจของผู้พิการทางการเคลื่อนไหวต่อการให้บริการของเจ้าหน้าที่ที่ว่าการอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 2) เพื่อเปรียบเทียบระหว่างปัจจัยด้านประชากรศาสตร์กับความคาดหวังและความพึงพอใจของผู้พิการทางการเคลื่อนไหวต่อการให้บริการของเจ้าหน้าที่ที่ว่าการอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 3) เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาการบริการผู้พิการทางการเคลื่อนไหวอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล โดยผู้วิจัยใช้วิธีการศึกษาวิจัยเชิงปริมาณ ผลการวิจัยพบว่า ข้อมูลด้านประชากรศาสตร์ของผู้พิการทางการเคลื่อนไหวต่อการให้บริการของเจ้าหน้าที่ที่ว่าการอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ได้แก่ 1. เพศ 2. อายุ 3. สถานภาพสมรส 4. การศึกษา 5. อาชีพ 6. รายได้ จากผู้ตอบแบสอบถามจำนวน 229 คน ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุตั้งแต่ 40 ปีขึ้นไป มีสถานภาพโสด มีระดับการศึกษาต่ำกว่าอนุปริญญา/ประกาศนียบัตรชั้นสูง มีอาชีพประกอบธุรกิจส่วนตัว เช่น ขายลอตเตอร์ลี่ รับจ้างทำสื่อสิ่งพิมพ์ต่าง ๆ ธุรกิจร้านเกม ธุรกิจร้านอินเตอร์เน็ต ร้านหนังสือให้เช่า มีห้องให้เช่า เป็นต้น มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 15,001 – 25,000 บาท ส่วนปัจจัยทางด้านความคาดหวังของผู้พิการทางการเคลื่อนไหวต่อการให้บริการของเจ้าหน้าที่ที่ว่าการอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ จากการศึกษา พบว่า มีความคาดหวังต่อการให้บริการของเจ้าหน้าที่ที่ว่าการอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ด้านความเชื่อมั่นในคุณภาพการให้บริการของเจ้าหน้าที่อยู่ในระดับสูงสุด รองลงมาได้แก่ ด้านลักษณะทางกายภาพ ถัดมาคือ ด้านการตอบสนองอย่างรวดเร็วในการให้บริการของเจ้าหน้าที่ และลำดับสุดท้าย ได้แก่ ด้านความเอาใจใส่และมีอัธยาศัยไมตรีต่อผู้รับบริการ แต่อย่างไรก็ตามความคาดหวังของผู้พิการทางการเคลื่อนไหวต่อการให้บริการของเจ้าหน้าที่ที่ว่าการอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ โดยรวมอยู่ในระดับมาก ข้อเสนอแนะในการทำวิจัยควรจัดให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลในด้านการเปิดเผยข้อมูล ด้านระเบียบ ข้อบังคับ และกฎหมายในการปฏิบัติงาน ด้านการกำหนดระยะเวลาปฏิบัติงานประกาศให้ผู้ใช้บริการทราบ ด้านกระบวนการ และด้านโครงการที่ที่ว่าการอำเภอเมืองได้จัดทำเพื่อบริการผู้พิการทางการเคลื่อนไหว ควรมีการขยายขอบเขตในด้านสถานที่ในการศึกษาเพิ่มเติม ควรทำการศึกษาในแนวลึกลงไปถึงประเด็นที่เกี่ยวข้องในด้านต่าง ๆ ให้ละเอียดและครอบคลุมมากขึ้นถึงสาเหตุดังกล่าว ควรมีการขยายขอบเขตในด้านเนื้อหาของการศึกษาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับผู้ใช้บริการเพิ่มเติม เช่น ประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการให้บริการกับผู้พิการทางการเคลื่อนไหวด้านต่าง ๆ เพื่อจะได้ส่งมอบการอำนวยความสะดวกในการให้บริการให้ตรงกับพฤติกรรมของผู้บริการต่อไป Curricular : GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26532 SIU IS-T. ความคาดหวังและความพึงพอใจของผู้พิการทางการเคลื่อนไหว ต่อการให้บริการของเจ้าหน้าที่ที่ว่าการอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ = Expectation and Satisfaction of Physical Disability in Public Service Of District Officer at Chiang Mai District Office [printed text] / ถิรภัทร ประภาสิทธิ, Author ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name ; วรเดช จันทรศร, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - x,88 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-14
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริการ -- การพัฒนา
[LCSH]คนพิการ -- สวัสดิการ -- เชียงใหม่
[LCSH]เจ้าหน้าที่ที่ว่าการอำเภอ -- การให้บริการ -- เชียงใหม่Keywords: ผู้พิการทางการเคลื่อนไหว
ความคาดหวังและความพึงพอใจ
คุณภาพการให้บริการAbstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาความคาดหวังและความพึงพอใจของผู้พิการทางการเคลื่อนไหวต่อการให้บริการของเจ้าหน้าที่ที่ว่าการอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 2) เพื่อเปรียบเทียบระหว่างปัจจัยด้านประชากรศาสตร์กับความคาดหวังและความพึงพอใจของผู้พิการทางการเคลื่อนไหวต่อการให้บริการของเจ้าหน้าที่ที่ว่าการอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 3) เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาการบริการผู้พิการทางการเคลื่อนไหวอย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล โดยผู้วิจัยใช้วิธีการศึกษาวิจัยเชิงปริมาณ ผลการวิจัยพบว่า ข้อมูลด้านประชากรศาสตร์ของผู้พิการทางการเคลื่อนไหวต่อการให้บริการของเจ้าหน้าที่ที่ว่าการอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ได้แก่ 1. เพศ 2. อายุ 3. สถานภาพสมรส 4. การศึกษา 5. อาชีพ 6. รายได้ จากผู้ตอบแบสอบถามจำนวน 229 คน ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุตั้งแต่ 40 ปีขึ้นไป มีสถานภาพโสด มีระดับการศึกษาต่ำกว่าอนุปริญญา/ประกาศนียบัตรชั้นสูง มีอาชีพประกอบธุรกิจส่วนตัว เช่น ขายลอตเตอร์ลี่ รับจ้างทำสื่อสิ่งพิมพ์ต่าง ๆ ธุรกิจร้านเกม ธุรกิจร้านอินเตอร์เน็ต ร้านหนังสือให้เช่า มีห้องให้เช่า เป็นต้น มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน 15,001 – 25,000 บาท ส่วนปัจจัยทางด้านความคาดหวังของผู้พิการทางการเคลื่อนไหวต่อการให้บริการของเจ้าหน้าที่ที่ว่าการอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ จากการศึกษา พบว่า มีความคาดหวังต่อการให้บริการของเจ้าหน้าที่ที่ว่าการอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ด้านความเชื่อมั่นในคุณภาพการให้บริการของเจ้าหน้าที่อยู่ในระดับสูงสุด รองลงมาได้แก่ ด้านลักษณะทางกายภาพ ถัดมาคือ ด้านการตอบสนองอย่างรวดเร็วในการให้บริการของเจ้าหน้าที่ และลำดับสุดท้าย ได้แก่ ด้านความเอาใจใส่และมีอัธยาศัยไมตรีต่อผู้รับบริการ แต่อย่างไรก็ตามความคาดหวังของผู้พิการทางการเคลื่อนไหวต่อการให้บริการของเจ้าหน้าที่ที่ว่าการอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ โดยรวมอยู่ในระดับมาก ข้อเสนอแนะในการทำวิจัยควรจัดให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลในด้านการเปิดเผยข้อมูล ด้านระเบียบ ข้อบังคับ และกฎหมายในการปฏิบัติงาน ด้านการกำหนดระยะเวลาปฏิบัติงานประกาศให้ผู้ใช้บริการทราบ ด้านกระบวนการ และด้านโครงการที่ที่ว่าการอำเภอเมืองได้จัดทำเพื่อบริการผู้พิการทางการเคลื่อนไหว ควรมีการขยายขอบเขตในด้านสถานที่ในการศึกษาเพิ่มเติม ควรทำการศึกษาในแนวลึกลงไปถึงประเด็นที่เกี่ยวข้องในด้านต่าง ๆ ให้ละเอียดและครอบคลุมมากขึ้นถึงสาเหตุดังกล่าว ควรมีการขยายขอบเขตในด้านเนื้อหาของการศึกษาอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับผู้ใช้บริการเพิ่มเติม เช่น ประสิทธิภาพและประสิทธิผลในการให้บริการกับผู้พิการทางการเคลื่อนไหวด้านต่าง ๆ เพื่อจะได้ส่งมอบการอำนวยความสะดวกในการให้บริการให้ตรงกับพฤติกรรมของผู้บริการต่อไป Curricular : GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26532 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000591766 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-14 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000591758 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-14 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ความพึงพอใจต่อคุณภาพการให้บริการของสหกรณ์ออมทรัพย์ ตำรวจกำลังพล จำกัด / จตุรงค์ สุขะเต / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : ความพึงพอใจต่อคุณภาพการให้บริการของสหกรณ์ออมทรัพย์ ตำรวจกำลังพล จำกัด Original title : Satisfaction towards Service of Police Human Resources Cooperative Limited Material Type: printed text Authors: จตุรงค์ สุขะเต, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: viii, 71 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-06
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริการ -- ความพอใจ
[LCSH]สหกรณ์ออมทรัพย์Keywords: ความพึงพอใจ,
คุณภาพการให้บริการAbstract: การศึกษาค้นคว้าอิสระครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความพึงพอใจของสมาชิกสหกรณ์ที่มีต่อคุณภาพการให้บริการของสหกรณ์ออมทรัพย์ตำรวจกำลังพล จำกัด และเพื่อเปรียบเทียบความพึงพอใจของสมาชิกสหกรณ์ที่มีต่อคุณภาพการให้บริการของสหกรณ์ออมทรัพย์ตำรวจกำลังพล จำกัด จำแนกตาม เพศ อายุ สถานภาพ ระดับการศึกษา อัตราเงินเดือน ตำแหน่ง และระยะเวลาการเป็นสมาชิก ใช้วิธีการวิจัยเชิงปริมาณ โดยวิธีการสุ่มตัวอย่างตามสะดวก กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ สมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์ตำรวจกำลังพล จำกัด จำนวน 400 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน t-test และ One-way ANOVA
ผลการศึกษา พบว่า ความพึงพอใจต่อคุณภาพการให้บริการของสหกรณ์ออมทรัพย์ตำรวจกำลังพล จำกัด ทั้ง 5 ด้าน ในภาพรวมมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก เมื่อแยกเป็นรายด้าน พบว่า สมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์ตำรวจกำลังพล จำกัด มีความพึงพอใจในด้านบุคลากรผู้ให้บริการเป็นอันดับแรก รองลงมาคือ ด้านสิ่งอำนวยความสะดวก ด้านการบริการและขั้นตอนการให้บริการ ด้านการประชาสัมพันธ์ และอันดับสุดท้ายด้านทรัพยากรสารสนเทศ ตามลำดับ ผลการทดสอบสมมติฐานเพื่อเปรียบเทียบความพึงพอใจของสมาชิกสหกรณ์ที่มีต่อคุณภาพการให้บริการของสหกรณ์ออมทรัพย์ตำรวจกำลังพล จำกัด พบว่า สมาชิกสหกรณ์ที่มีสถานภาพ ระดับการศึกษา และตำแหน่งแตกต่างกันมีความพึงพอใจ ไม่แตกต่างกัน ส่วนสมาชิกสหกรณ์ที่มีเพศ อายุ อัตราเงินเดือน และระยะเวลาการเป็นสมาชิกแตกต่างกันมีความพึงพอใจต่อคุณภาพการให้บริการ แตกต่างกัน ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26793 SIU IS-T. ความพึงพอใจต่อคุณภาพการให้บริการของสหกรณ์ออมทรัพย์ ตำรวจกำลังพล จำกัด = Satisfaction towards Service of Police Human Resources Cooperative Limited [printed text] / จตุรงค์ สุขะเต, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - viii, 71 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-06
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริการ -- ความพอใจ
[LCSH]สหกรณ์ออมทรัพย์Keywords: ความพึงพอใจ,
คุณภาพการให้บริการAbstract: การศึกษาค้นคว้าอิสระครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความพึงพอใจของสมาชิกสหกรณ์ที่มีต่อคุณภาพการให้บริการของสหกรณ์ออมทรัพย์ตำรวจกำลังพล จำกัด และเพื่อเปรียบเทียบความพึงพอใจของสมาชิกสหกรณ์ที่มีต่อคุณภาพการให้บริการของสหกรณ์ออมทรัพย์ตำรวจกำลังพล จำกัด จำแนกตาม เพศ อายุ สถานภาพ ระดับการศึกษา อัตราเงินเดือน ตำแหน่ง และระยะเวลาการเป็นสมาชิก ใช้วิธีการวิจัยเชิงปริมาณ โดยวิธีการสุ่มตัวอย่างตามสะดวก กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ สมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์ตำรวจกำลังพล จำกัด จำนวน 400 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน t-test และ One-way ANOVA
ผลการศึกษา พบว่า ความพึงพอใจต่อคุณภาพการให้บริการของสหกรณ์ออมทรัพย์ตำรวจกำลังพล จำกัด ทั้ง 5 ด้าน ในภาพรวมมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก เมื่อแยกเป็นรายด้าน พบว่า สมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์ตำรวจกำลังพล จำกัด มีความพึงพอใจในด้านบุคลากรผู้ให้บริการเป็นอันดับแรก รองลงมาคือ ด้านสิ่งอำนวยความสะดวก ด้านการบริการและขั้นตอนการให้บริการ ด้านการประชาสัมพันธ์ และอันดับสุดท้ายด้านทรัพยากรสารสนเทศ ตามลำดับ ผลการทดสอบสมมติฐานเพื่อเปรียบเทียบความพึงพอใจของสมาชิกสหกรณ์ที่มีต่อคุณภาพการให้บริการของสหกรณ์ออมทรัพย์ตำรวจกำลังพล จำกัด พบว่า สมาชิกสหกรณ์ที่มีสถานภาพ ระดับการศึกษา และตำแหน่งแตกต่างกันมีความพึงพอใจ ไม่แตกต่างกัน ส่วนสมาชิกสหกรณ์ที่มีเพศ อายุ อัตราเงินเดือน และระยะเวลาการเป็นสมาชิกแตกต่างกันมีความพึงพอใจต่อคุณภาพการให้บริการ แตกต่างกัน ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26793 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000593507 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-06 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000593473 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-06 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการเลือกใช้บริการโรงแรมระดับห้าดาวของนักท่องเที่ยวชาวไทยในอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ / นงนภัส จุลเปมะ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2019
Collection Title: SIU IS-T Title : ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการเลือกใช้บริการโรงแรมระดับห้าดาวของนักท่องเที่ยวชาวไทยในอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ Original title : Factors Influencing Thai Tourist Decision Making on Choosing Five-Star Hotel in Amphoe Muang, Chiang Mai Material Type: printed text Authors: นงนภัส จุลเปมะ, Author ; มณฑิรา ชุนลิ้ม, Associated Name ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2019 Pagination: viii, 77 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU IS-T: SOM-MBA-2019-04
Independent Study. [MS[MBA]]--Shinawatra University, 2019.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ผู้บริโภค -- การตัดสินใจ
[LCSH]ส่วนประสมการตลาด
[LCSH]โรงแรมKeywords: ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด,
คุณภาพการให้บริการ,
การตัดสินใจเลือกใช้บริการ,
โรงแรมระดับห้าดาวAbstract: ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการเลือกใช้บริการโรงแรมระดับห้าดาวของนักท่องเที่ยวชาวไทยในอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางด้านประชากรศาสตร์ที่มีผลต่อการเลือกใช้บริการโรงแรมระดับห้าดาว อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 2) เพื่อศึกษาถึงปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการโรงแรมระดับห้าดาว อำเภอเมืองจังหวัดเชียงใหม่ และ 3) เพื่อศึกษาถึงปัจจัยคุณภาพบริการที่ส่งผลต่อการเลือกใช้บริการโรงแรมระดับห้าดาว อำเภอเมืองจังหวัดเชียงใหม่ เป็นงานวิจัยเชิงปริมาณ ใช้วิธีการศึกษาเชิงสำรวจ รวบรวมข้อมูลจากแบบสอบถาม ซึ่งกลุ่มตัวอย่างคือนักท่องเที่ยวชาวไทยที่มาพักค้างในอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 400 คน โดยใช้สถิติวิเคราะห์ผลเชิงพรรณนา ได้แก่ การแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติวิเคราะห์ผลเชิงอนุมาน ทดสอบความแตกต่างโดยใช้สถิติแบบ t–test, F–test และทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ วิธีการทดสอบ Least Significant Difference (LSD) test และทดสอบความสัมพันธ์ใช้สถิติทดสอบแบบ Chi-Square test
ผลวิจัยพบว่าลักษณะประชากรศาสตร์ ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงมากกว่าเพศชายและมีอายุ 31 – 40 ปี มีระดับการศึกษาปริญญาตรี มีอาชีพเป็นพนักงานบริษัทเอกชน มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน มากกว่า 60,000 บาท 1) ปัจจัยส่วนประสมการตลาดบริการให้ความสำคัญในระดับมากที่สุด ได้แก่ ด้านการสร้างและนำเสนอลักษณะทางกายภาพ ด้านบุคลากร ด้านราคา ด้านกระบวนการ ด้านสถานที่หรือช่องทางจัดจำหน่าย และด้านการส่งเสริมการตลาดตามลำดับ และด้านผลิตภัณฑ์ให้ความสำคัญในระดับมาก 2) ด้านปัจจัยคุณภาพการให้บริการให้ความสำคัญระดับมากที่สุด ได้แก่ ด้านการตอบสนองต่อลูกค้า ด้านความน่าเชื่อถือ ด้านการให้ความเชื่อมั่นต่อลูกค้า ด้านการรู้จักและเอาใจลูกค้า และด้านความเป็นรูปธรรมของบริการ ตามลำดับ 3) การตัดสินใจใช้บริการในระดับมากที่สุด คือ ด้านความพึงพอใจต่อการให้บริการของโรงแรม ผลการทดสอบสมมติฐานพบว่า 1)ปัจจัยลักษณะประชากรศาสตร์ด้านระดับการศึกษามีผลต่อการเลือกใช้บริการโรงแรมแตกต่างกัน โดยกลุ่มนักท่องเที่ยวระดับการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรีเลือกใช้บริการโรงแรมต่ำกว่า กลุ่มระดับการศึกษาปริญญาตรีและสูงกว่าปริญญาตรี 2) ผลทดสอบความสัมพันธ์ปัจจัยส่วนประสมการตลาดบริการโรงแรมมีความสัมพันธ์กับการเลือกใช้บริการโรงแรม โดยด้านบุคลากร มีความสัมพันธ์สูงสุด รองลงมา คือ ด้านกระบวนการ ด้านการสร้างและนำเสนอลักษณะทางกายภาพ ด้านการส่งเสริมการตลาด ด้านสถานที่หรือช่องทางจัดจำหน่าย ด้านราคา และด้านผลิตภัณฑ์ ตามลำดับ 3) ปัจจัยคุณภาพการให้บริการมีความสัมพันธ์กับการเลือกใช้บริการโรงแรมของนักท่องเที่ยวชาวไทยในอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ด้านการรู้จักและเอาใจลูกค้า มีความสัมพันธ์สูงสุด รองลงมาคือด้านการตอบสนองต่อลูกค้า ด้านความน่าเชื่อถือ ด้านการให้ความเชื่อมั่นต่อลูกค้า และด้านความเป็นรูปธรรมของบริการ ตามลำดับCurricular : BBA/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27993 SIU IS-T. ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการเลือกใช้บริการโรงแรมระดับห้าดาวของนักท่องเที่ยวชาวไทยในอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ = Factors Influencing Thai Tourist Decision Making on Choosing Five-Star Hotel in Amphoe Muang, Chiang Mai [printed text] / นงนภัส จุลเปมะ, Author ; มณฑิรา ชุนลิ้ม, Associated Name ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019 . - viii, 77 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU IS-T: SOM-MBA-2019-04
Independent Study. [MS[MBA]]--Shinawatra University, 2019.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ผู้บริโภค -- การตัดสินใจ
[LCSH]ส่วนประสมการตลาด
[LCSH]โรงแรมKeywords: ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาด,
คุณภาพการให้บริการ,
การตัดสินใจเลือกใช้บริการ,
โรงแรมระดับห้าดาวAbstract: ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการเลือกใช้บริการโรงแรมระดับห้าดาวของนักท่องเที่ยวชาวไทยในอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทางด้านประชากรศาสตร์ที่มีผลต่อการเลือกใช้บริการโรงแรมระดับห้าดาว อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 2) เพื่อศึกษาถึงปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการโรงแรมระดับห้าดาว อำเภอเมืองจังหวัดเชียงใหม่ และ 3) เพื่อศึกษาถึงปัจจัยคุณภาพบริการที่ส่งผลต่อการเลือกใช้บริการโรงแรมระดับห้าดาว อำเภอเมืองจังหวัดเชียงใหม่ เป็นงานวิจัยเชิงปริมาณ ใช้วิธีการศึกษาเชิงสำรวจ รวบรวมข้อมูลจากแบบสอบถาม ซึ่งกลุ่มตัวอย่างคือนักท่องเที่ยวชาวไทยที่มาพักค้างในอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 400 คน โดยใช้สถิติวิเคราะห์ผลเชิงพรรณนา ได้แก่ การแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และ ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติวิเคราะห์ผลเชิงอนุมาน ทดสอบความแตกต่างโดยใช้สถิติแบบ t–test, F–test และทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยเป็นรายคู่ วิธีการทดสอบ Least Significant Difference (LSD) test และทดสอบความสัมพันธ์ใช้สถิติทดสอบแบบ Chi-Square test
ผลวิจัยพบว่าลักษณะประชากรศาสตร์ ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงมากกว่าเพศชายและมีอายุ 31 – 40 ปี มีระดับการศึกษาปริญญาตรี มีอาชีพเป็นพนักงานบริษัทเอกชน มีรายได้เฉลี่ยต่อเดือน มากกว่า 60,000 บาท 1) ปัจจัยส่วนประสมการตลาดบริการให้ความสำคัญในระดับมากที่สุด ได้แก่ ด้านการสร้างและนำเสนอลักษณะทางกายภาพ ด้านบุคลากร ด้านราคา ด้านกระบวนการ ด้านสถานที่หรือช่องทางจัดจำหน่าย และด้านการส่งเสริมการตลาดตามลำดับ และด้านผลิตภัณฑ์ให้ความสำคัญในระดับมาก 2) ด้านปัจจัยคุณภาพการให้บริการให้ความสำคัญระดับมากที่สุด ได้แก่ ด้านการตอบสนองต่อลูกค้า ด้านความน่าเชื่อถือ ด้านการให้ความเชื่อมั่นต่อลูกค้า ด้านการรู้จักและเอาใจลูกค้า และด้านความเป็นรูปธรรมของบริการ ตามลำดับ 3) การตัดสินใจใช้บริการในระดับมากที่สุด คือ ด้านความพึงพอใจต่อการให้บริการของโรงแรม ผลการทดสอบสมมติฐานพบว่า 1)ปัจจัยลักษณะประชากรศาสตร์ด้านระดับการศึกษามีผลต่อการเลือกใช้บริการโรงแรมแตกต่างกัน โดยกลุ่มนักท่องเที่ยวระดับการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรีเลือกใช้บริการโรงแรมต่ำกว่า กลุ่มระดับการศึกษาปริญญาตรีและสูงกว่าปริญญาตรี 2) ผลทดสอบความสัมพันธ์ปัจจัยส่วนประสมการตลาดบริการโรงแรมมีความสัมพันธ์กับการเลือกใช้บริการโรงแรม โดยด้านบุคลากร มีความสัมพันธ์สูงสุด รองลงมา คือ ด้านกระบวนการ ด้านการสร้างและนำเสนอลักษณะทางกายภาพ ด้านการส่งเสริมการตลาด ด้านสถานที่หรือช่องทางจัดจำหน่าย ด้านราคา และด้านผลิตภัณฑ์ ตามลำดับ 3) ปัจจัยคุณภาพการให้บริการมีความสัมพันธ์กับการเลือกใช้บริการโรงแรมของนักท่องเที่ยวชาวไทยในอำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ด้านการรู้จักและเอาใจลูกค้า มีความสัมพันธ์สูงสุด รองลงมาคือด้านการตอบสนองต่อลูกค้า ด้านความน่าเชื่อถือ ด้านการให้ความเชื่อมั่นต่อลูกค้า และด้านความเป็นรูปธรรมของบริการ ตามลำดับCurricular : BBA/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27993 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607456 SIU IS-T: SOM-MBA-2019-04 c.1 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000607455 SIU IS-T: SOM-MBA-2019-04 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available