From this page you can:
Home |
Search results
82 result(s) search for keyword(s) 'การไกล่เกลี่ย. พยาบาล.'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
สมรรถนะพยาบาลผู้ไกล่เกลี่ยโรงพยาบาลรัฐ / นิยดา อกนิษฐ์ / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2552
Title : สมรรถนะพยาบาลผู้ไกล่เกลี่ยโรงพยาบาลรัฐ Original title : Mediator nurses’ competencies, government hospital Material Type: printed text Authors: นิยดา อกนิษฐ์, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2552 Pagination: ก-ฎ, 175 แผ่น Layout: ตาราง Size: 30 ซม. Price: Gift. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม. [การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2552. Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]Mediation systems, Hospital
[LCSH]พยาบาล -- วิจัย
[LCSH]พยาบาล--วิชาชีพ
[LCSH]สมรรถนะ -- พยาบาลKeywords: การไกล่เกลี่ย.
พยาบาล.Class number: WY141 น564 2552 Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสมรรถนะพยาบาลผู้ไกล่เกลี่ย โรงพยาบาลรัฐ โดยใช้เทคนิคกาวิจัยเชิงอนาคตแบบ EDFR กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ให้ข้อมูลหลักประกอบด้วยผู้เชี่ยวชาญทั้งประเทศจำนวน 21 คน คัดเลือกตามคุณสมบัติที่กำหนดไว้ โดยเป็นผู้ที่มีความรู้ และประสบการณ์ตรงกับปัญหาการวิจัย และยินดีร่วมมือในการวิจัย ประกอบด้วย ผู้อำนวยการศูนย์สันติวิธีสาธารณสุข กลุ่มนักวิชาการสาธารณสุข กลุ่มผู้บริหารทางการพยาบาล กลุ่มผู้เชี่ยวชาญด้านการแพทย์ และผู้บริหารกระทรวงยุติธรรม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสัมภาษณ์ปลายเปิด ในรอบที่ 1 ส่วนรอบที่ 2 และรอบที่ 3 เป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า ใช้ระยะเวลาเก็บรวบรวมข้อมูลทั้งสิ้น 50 วัน วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่ามัธยฐาน และค่าพิสัยควอไทล์ ผลการวิจัยพบว่า สมรรถนะพยาบาลผู้ไกล่เกลี่ย โรงพยาบาลรัฐ ที่ผู้เชี่ยวชาญมีความคิดเห็นสอดคล้องกัน ประกอบด้วย สมรรถนะย่อย 60 ข้อ เป็นสมรรถนะย่อยที่มีความสำคัญระดับมากที่สุด 42 ข้อ และความสำคัญระดับมาก 18 ข้อ จำแนกเป็น 7 สมรรถนะหลัก โดยแต่ละสมรรถนะหลัก ประกอบด้วย สมรรถนะย่อยดังนี้ 1.สมรรถนะด้านการเจรจาไกล่เกลี่ยประกอบด้วย 12 ข้อ 2.สมรรถนะด้านการสื่อสารและการให้ข้อมูลประกอบด้วย 8 ข้อ 3.สมรรถนะด้านสัมพันธภาพและการเข้าใจผู้อื่นประกอบด้วย 7 ข้อ 4.สมรรถนะด้านการบริหารความขัดแย้งประกอบด้วย 9 ข้อ 5.สมรรถนะด้านจริยธรรมและการพิทักษ์สิทธิ์ประกอบด้วย 7 ข้อ 6.สมรรถนะด้านการเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงเชิงสร้างสรรค์ประกอบด้วย 10 ข้อ 7.สมรรถนะด้านการพัฒนาความรู้และการวิจัยประกอบด้วย 7 ข้อ Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23176 สมรรถนะพยาบาลผู้ไกล่เกลี่ยโรงพยาบาลรัฐ = Mediator nurses’ competencies, government hospital [printed text] / นิยดา อกนิษฐ์, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552 . - ก-ฎ, 175 แผ่น : ตาราง ; 30 ซม.
Gift.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม. [การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2552.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]Mediation systems, Hospital
[LCSH]พยาบาล -- วิจัย
[LCSH]พยาบาล--วิชาชีพ
[LCSH]สมรรถนะ -- พยาบาลKeywords: การไกล่เกลี่ย.
พยาบาล.Class number: WY141 น564 2552 Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสมรรถนะพยาบาลผู้ไกล่เกลี่ย โรงพยาบาลรัฐ โดยใช้เทคนิคกาวิจัยเชิงอนาคตแบบ EDFR กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ให้ข้อมูลหลักประกอบด้วยผู้เชี่ยวชาญทั้งประเทศจำนวน 21 คน คัดเลือกตามคุณสมบัติที่กำหนดไว้ โดยเป็นผู้ที่มีความรู้ และประสบการณ์ตรงกับปัญหาการวิจัย และยินดีร่วมมือในการวิจัย ประกอบด้วย ผู้อำนวยการศูนย์สันติวิธีสาธารณสุข กลุ่มนักวิชาการสาธารณสุข กลุ่มผู้บริหารทางการพยาบาล กลุ่มผู้เชี่ยวชาญด้านการแพทย์ และผู้บริหารกระทรวงยุติธรรม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสัมภาษณ์ปลายเปิด ในรอบที่ 1 ส่วนรอบที่ 2 และรอบที่ 3 เป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า ใช้ระยะเวลาเก็บรวบรวมข้อมูลทั้งสิ้น 50 วัน วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่ามัธยฐาน และค่าพิสัยควอไทล์ ผลการวิจัยพบว่า สมรรถนะพยาบาลผู้ไกล่เกลี่ย โรงพยาบาลรัฐ ที่ผู้เชี่ยวชาญมีความคิดเห็นสอดคล้องกัน ประกอบด้วย สมรรถนะย่อย 60 ข้อ เป็นสมรรถนะย่อยที่มีความสำคัญระดับมากที่สุด 42 ข้อ และความสำคัญระดับมาก 18 ข้อ จำแนกเป็น 7 สมรรถนะหลัก โดยแต่ละสมรรถนะหลัก ประกอบด้วย สมรรถนะย่อยดังนี้ 1.สมรรถนะด้านการเจรจาไกล่เกลี่ยประกอบด้วย 12 ข้อ 2.สมรรถนะด้านการสื่อสารและการให้ข้อมูลประกอบด้วย 8 ข้อ 3.สมรรถนะด้านสัมพันธภาพและการเข้าใจผู้อื่นประกอบด้วย 7 ข้อ 4.สมรรถนะด้านการบริหารความขัดแย้งประกอบด้วย 9 ข้อ 5.สมรรถนะด้านจริยธรรมและการพิทักษ์สิทธิ์ประกอบด้วย 7 ข้อ 6.สมรรถนะด้านการเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงเชิงสร้างสรรค์ประกอบด้วย 10 ข้อ 7.สมรรถนะด้านการพัฒนาความรู้และการวิจัยประกอบด้วย 7 ข้อ Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23176 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000355485 WY141 น564 2552 Thesis Main Library Thesis Corner Available การพัฒนาแบบประเมินสมรรถนะพยาบาลผู้ทำหน้าที่ไกล่เกลี่ย โรงพยาบาลรัฐ / อมราพร นาโควงค์ / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2554
Title : การพัฒนาแบบประเมินสมรรถนะพยาบาลผู้ทำหน้าที่ไกล่เกลี่ย โรงพยาบาลรัฐ Original title : The development of competency scale for nurses as mediators, government hospitals Material Type: printed text Authors: อมราพร นาโควงค์, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2554 Pagination: ก-ฎ, 240 แผ่น : แผนภูมิ Layout: ตารางประกอบ, แผนภูมิ Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]] --จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2554 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ความขัดแย้ง (จิตวิทยา)
[LCSH]พยาบาล -- การประเมิน
[LCSH]สมรรถนะ -- พยาบาล
[LCSH]โรงพยาบาลของรัฐ -- การบริหารKeywords: พยาบาล.
การไกล่เกลี่ย.
โรงพยาบาลของรัฐ.Class number: WY115 อ967 2554 Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาและตรวจสอบแบบประเมินสมรรถนะพยาบาลผู้ทำหน้าที่ไกล่เกลี่ย โรงพยาบาลรัฐ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย กลุ่มผู้เชี่ยวชาญทางการพยาบาล จำนวน 8 คน กลุ่มพยาบาลผู้ทำหน้าที่ไกล่เกลี่ย จำนวน 408 คน และหัวหน้างานและรองหัวหน้างานของพยาบาลผู้ทำหน้าที่ไกล่เกลี่ย จำนวน 60 คน รวมทั้งหมด 476 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 7 คน ได้ค่าความตรงเชิงเนื้อหาโดยเฉลี่ย เท่ากับ 0.85 และค่าความเที่ยงเท่ากับ .92 โดยแบ่งวิธีการศึกษาเป็น 3 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนที่ 1 สังเคราะห์ตัวประกอบและรายการสมรรถนะของพยาบาลผู้ทำหน้าที่ไกล่เกลี่ย โรงพยาบาลรัฐ โดยทบทวนวรรณกรรมและบูรณการร่วมกับข้อมูลจากการสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญทางการพยาบาล ขั้นตอนที่ 2 สร้างแบบประเมินสมรรถนะพยาบาลผู้ทำหน้าที่ไกล่เกลี่ย โรงพยาบาลรัฐ โดยรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างพยาบาลผู้ทำหน้าที่ไกล่เกลี่ย นำไปการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้เทคนิคการวิเคราะห์ตัวประกอบ สกัดตัวประกอบหลัก หมุนแกนแบบมุมแหลม ขั้นตอนที่ 3 ตรวจสอบคุณภาพของแบบประเมินสมรรถนะของพยาบาลผู้ทำหน้าที่ไกล่เกลี่ย โรงพยาบาลรัฐ โดยการรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างหัวหน้างานและรองหัวหน้างานของพยาบาลผู้ทำหน้าที่ไกล่เกลี่ย เพื่อตรวจสอบความตรง ความเที่ยง และความสอดคล้องของการประเมินระหว่างผู้ประเมิน
ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. แบบประเมินสมรรถนะของพยาบาลผู้ทำหน้าที่ไกล่เกลี่ย โรงพยาบาลรัฐ ประกอบด้วย ตัวประกอบสมรรถนะ 5 ด้าน คือ ด้านกระบวนการเจรจาไกล่เกลี่ยคนกลาง 22 ข้อ ด้านคุณธรรม จริยธรรม 12 ข้อ ด้านการพัฒนาองค์ความรู้การเจรจาไกล่เกลี่ย 9 ข้อ ด้านคุณลักษณะส่วนบุคคลและการสร้างสัมพันธภาพ 6 ข้อ และด้านการทำงานเป็นทีม 4 ข้อ รวมเป็นสมรรถนะย่อย 53 ข้อ 2. คุณภาพของแบบประเมินด้านความตรง พบว่า ทุกข้อคำถามของแบบประเมินสามารถจำแนกพยาบาลที่ทำหน้าที่ไกล่เกลี่ยที่มีสมรรถนะสูงออกจากที่มีสมรรถนะต่ำ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. คุณภาพของแบบประเมินด้านความเที่ยง พบว่า ได้ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค .94 4. คุณภาพของแบบประเมินด้านความสอดคล้องของการประเมินระหว่างผู้ประเมิน พบว่า ในโรงพยาบาลศูนย์ ได้ค่าเท่ากับ .97 และโรงพยาบาลทั่วไป ได้ค่าเท่ากับ .92Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23217 การพัฒนาแบบประเมินสมรรถนะพยาบาลผู้ทำหน้าที่ไกล่เกลี่ย โรงพยาบาลรัฐ = The development of competency scale for nurses as mediators, government hospitals [printed text] / อมราพร นาโควงค์, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554 . - ก-ฎ, 240 แผ่น : แผนภูมิ : ตารางประกอบ, แผนภูมิ ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]] --จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2554
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ความขัดแย้ง (จิตวิทยา)
[LCSH]พยาบาล -- การประเมิน
[LCSH]สมรรถนะ -- พยาบาล
[LCSH]โรงพยาบาลของรัฐ -- การบริหารKeywords: พยาบาล.
การไกล่เกลี่ย.
โรงพยาบาลของรัฐ.Class number: WY115 อ967 2554 Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนาและตรวจสอบแบบประเมินสมรรถนะพยาบาลผู้ทำหน้าที่ไกล่เกลี่ย โรงพยาบาลรัฐ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย กลุ่มผู้เชี่ยวชาญทางการพยาบาล จำนวน 8 คน กลุ่มพยาบาลผู้ทำหน้าที่ไกล่เกลี่ย จำนวน 408 คน และหัวหน้างานและรองหัวหน้างานของพยาบาลผู้ทำหน้าที่ไกล่เกลี่ย จำนวน 60 คน รวมทั้งหมด 476 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 7 คน ได้ค่าความตรงเชิงเนื้อหาโดยเฉลี่ย เท่ากับ 0.85 และค่าความเที่ยงเท่ากับ .92 โดยแบ่งวิธีการศึกษาเป็น 3 ขั้นตอน คือ ขั้นตอนที่ 1 สังเคราะห์ตัวประกอบและรายการสมรรถนะของพยาบาลผู้ทำหน้าที่ไกล่เกลี่ย โรงพยาบาลรัฐ โดยทบทวนวรรณกรรมและบูรณการร่วมกับข้อมูลจากการสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญทางการพยาบาล ขั้นตอนที่ 2 สร้างแบบประเมินสมรรถนะพยาบาลผู้ทำหน้าที่ไกล่เกลี่ย โรงพยาบาลรัฐ โดยรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างพยาบาลผู้ทำหน้าที่ไกล่เกลี่ย นำไปการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้เทคนิคการวิเคราะห์ตัวประกอบ สกัดตัวประกอบหลัก หมุนแกนแบบมุมแหลม ขั้นตอนที่ 3 ตรวจสอบคุณภาพของแบบประเมินสมรรถนะของพยาบาลผู้ทำหน้าที่ไกล่เกลี่ย โรงพยาบาลรัฐ โดยการรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างหัวหน้างานและรองหัวหน้างานของพยาบาลผู้ทำหน้าที่ไกล่เกลี่ย เพื่อตรวจสอบความตรง ความเที่ยง และความสอดคล้องของการประเมินระหว่างผู้ประเมิน
ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. แบบประเมินสมรรถนะของพยาบาลผู้ทำหน้าที่ไกล่เกลี่ย โรงพยาบาลรัฐ ประกอบด้วย ตัวประกอบสมรรถนะ 5 ด้าน คือ ด้านกระบวนการเจรจาไกล่เกลี่ยคนกลาง 22 ข้อ ด้านคุณธรรม จริยธรรม 12 ข้อ ด้านการพัฒนาองค์ความรู้การเจรจาไกล่เกลี่ย 9 ข้อ ด้านคุณลักษณะส่วนบุคคลและการสร้างสัมพันธภาพ 6 ข้อ และด้านการทำงานเป็นทีม 4 ข้อ รวมเป็นสมรรถนะย่อย 53 ข้อ 2. คุณภาพของแบบประเมินด้านความตรง พบว่า ทุกข้อคำถามของแบบประเมินสามารถจำแนกพยาบาลที่ทำหน้าที่ไกล่เกลี่ยที่มีสมรรถนะสูงออกจากที่มีสมรรถนะต่ำ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. คุณภาพของแบบประเมินด้านความเที่ยง พบว่า ได้ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค .94 4. คุณภาพของแบบประเมินด้านความสอดคล้องของการประเมินระหว่างผู้ประเมิน พบว่า ในโรงพยาบาลศูนย์ ได้ค่าเท่ากับ .97 และโรงพยาบาลทั่วไป ได้ค่าเท่ากับ .92Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23217 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000355139 WY115 อ967 2554 Thesis Main Library Thesis Corner Available Old book collection. ความปลอดภัยและ Competency พยาบาล CVT / เพ็ญจันทร์ แสนประสาน / กรุงเทพฯ : สุขขุมวิทการพิมพ์ - 2554
in ความปลอดภัย และ Competency พยาบาล CVT / บุปผาวัลย์ ศรีล้ำ ; ดวงกมล วัตราดุลย์ / กรุงเทพฯ : สุขขุมวิทการพิมพ์ - 2551
Collection Title: Old book collection Title : ความปลอดภัยและ Competency พยาบาล CVT Material Type: printed text Authors: เพ็ญจันทร์ แสนประสาน, Editor ; ดวงกมล วัตราดุลย์, Editor ; บุปผาวัลย์ ศรีล้ำ, Editor Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 3 Publisher: กรุงเทพฯ : สุขขุมวิทการพิมพ์ Publication Date: 2554 Pagination: 182 หน้า Layout: ภาพประกอบ Size: 27 ซม. ISBN (or other code): 978-974-383-227-7 Price: บริจาค. (250.00) General note: หนังสือเล่มนี้ได้มีการปรับปรุง เพิ่มเิติมเนื้อหาเพื่อให้ทันกับปัจจุบัน และมีการแบ่งเนื้อหาออกเป็น 3 ส่วน คือ ส่วนที่ 1: กล่าวถึงระบบบริหารความเสี่ยงทางการพยาบาล ที่รวบรวมแนวคิดการบริหารความเสี่ยงระบบมาตรฐานที่เกี่ยวข้อง การจัดการทางการพยาบาลเพื่อความปลอดภัย รวมทั้งตัวอย่างการค้นหาความเสี่ยง Trigger tool การตั้งทีมเฝ้าระวัีง การใช้ระบบการสื่อสารรายงานโดยการใช้ SABAR เป็นต้น โดยการนำความรู้จากคณะทำงานมาประสานประโยชน์ในการเรียนรู้เนื้อหาวิธีการขึ้น. ส่วนที่ 2: เป็นการรวบรวมผลการแบ่งปันความรู้จากผู้เชี่ยวชาญโรคหัวใจหลอดเลือดและทรวงอกเป็นจำนวนมาก มาสร้างเป็นสมรรถนะเฉพาะของพยาบาลวิชาชีพที่สามารถประยุกต์ใช้กับพยาบาลได้ทุกระดับตั้งแต่ปฐมภูิมิื ทุติยภูมิ และตติยภูมิ โดยนำตัวอย่างจากสถาบันต่าง ๆ เป็นจำนวนมารวบรวมอย่างเป็นระบบ ส่วนที่ 3: เป็นแนวคิดการสร้างรูปแบบการพยาบาล CVT เครือข่ายโดยการใช้การจัดการความรู้สู่ประชาชน เพื่อให้ประชาชนช่วยเหลือตนเองได้โดยกรอบแนวคิดที่คณะทำงานได้จัดสร้างขึ้น 5 Module ซึ่งอาจเป็นความพยายามที่จะแก้ปัญหาของชาติในการสร้างองค์ความรู้ใหม่จากผู้ปฎิบัิติงานและประชาชนทั่วประเทศในที่สุด Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]Cardiovascular -- assessment
[LCSH]Thoracic -- assessment
[LCSH]ความปลอดภัย -- พยาบาล
[LCSH]สมรรถนะ -- พยาบาลKeywords: สมรรถนะ.
พยาบาลวิชาชีพ.
ความปลอดภัย.
CTV.Class number: WY105 ค181 2554 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23182
in ความปลอดภัย และ Competency พยาบาล CVT / บุปผาวัลย์ ศรีล้ำ ; ดวงกมล วัตราดุลย์ / กรุงเทพฯ : สุขขุมวิทการพิมพ์ - 2551
Old book collection. ความปลอดภัยและ Competency พยาบาล CVT [printed text] / เพ็ญจันทร์ แสนประสาน, Editor ; ดวงกมล วัตราดุลย์, Editor ; บุปผาวัลย์ ศรีล้ำ, Editor . - พิมพ์ครั้งที่ 3 . - กรุงเทพฯ : สุขขุมวิทการพิมพ์, 2554 . - 182 หน้า : ภาพประกอบ ; 27 ซม.
ISBN : 978-974-383-227-7 : บริจาค. (250.00)
หนังสือเล่มนี้ได้มีการปรับปรุง เพิ่มเิติมเนื้อหาเพื่อให้ทันกับปัจจุบัน และมีการแบ่งเนื้อหาออกเป็น 3 ส่วน คือ ส่วนที่ 1: กล่าวถึงระบบบริหารความเสี่ยงทางการพยาบาล ที่รวบรวมแนวคิดการบริหารความเสี่ยงระบบมาตรฐานที่เกี่ยวข้อง การจัดการทางการพยาบาลเพื่อความปลอดภัย รวมทั้งตัวอย่างการค้นหาความเสี่ยง Trigger tool การตั้งทีมเฝ้าระวัีง การใช้ระบบการสื่อสารรายงานโดยการใช้ SABAR เป็นต้น โดยการนำความรู้จากคณะทำงานมาประสานประโยชน์ในการเรียนรู้เนื้อหาวิธีการขึ้น. ส่วนที่ 2: เป็นการรวบรวมผลการแบ่งปันความรู้จากผู้เชี่ยวชาญโรคหัวใจหลอดเลือดและทรวงอกเป็นจำนวนมาก มาสร้างเป็นสมรรถนะเฉพาะของพยาบาลวิชาชีพที่สามารถประยุกต์ใช้กับพยาบาลได้ทุกระดับตั้งแต่ปฐมภูิมิื ทุติยภูมิ และตติยภูมิ โดยนำตัวอย่างจากสถาบันต่าง ๆ เป็นจำนวนมารวบรวมอย่างเป็นระบบ ส่วนที่ 3: เป็นแนวคิดการสร้างรูปแบบการพยาบาล CVT เครือข่ายโดยการใช้การจัดการความรู้สู่ประชาชน เพื่อให้ประชาชนช่วยเหลือตนเองได้โดยกรอบแนวคิดที่คณะทำงานได้จัดสร้างขึ้น 5 Module ซึ่งอาจเป็นความพยายามที่จะแก้ปัญหาของชาติในการสร้างองค์ความรู้ใหม่จากผู้ปฎิบัิติงานและประชาชนทั่วประเทศในที่สุด
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]Cardiovascular -- assessment
[LCSH]Thoracic -- assessment
[LCSH]ความปลอดภัย -- พยาบาล
[LCSH]สมรรถนะ -- พยาบาลKeywords: สมรรถนะ.
พยาบาลวิชาชีพ.
ความปลอดภัย.
CTV.Class number: WY105 ค181 2554 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23182 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000383719 WY105 ค181 2554 Book Main Library Library Counter Available Old book collection. จริยศาสตร์สำหรับพยาบาล / สิวลี ศิริไล / [กรุงเทพฯ] : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2556
Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000389294 WY85 ส733 2556 c.2 Book Main Library General Shelf Available 32002000389302 WY85 ส733 2556 c.1 Book Main Library Library Counter Available 32002000389328 WY85 ส733 2556 c.3 Book Main Library Library Counter Available 32002000389278 WY85 ส733 2556 c.4 Book Main Library Library Counter Available 32002000389252 WY85 ส733 2556 c.5 Book Main Library Library Counter Available 32002000493229 WY85 ส733 2556 c.6 Book Main Library Library Counter Available 32002000493245 WY85 ส733 2556 c.7 Book Main Library Library Counter Available 32002000493260 WY85 ส733 2556 c.8 Book Main Library Library Counter Available 32002000493237 WY85 ส733 2556 c.9 Book Main Library Library Counter Available Old book collection. บันทึกจากหัวใจผู้เยียวยา : ๙ เรื่องเล่าอุ่นหัวัใจ / กรรณจริยา สุขรุ่ง / งานการพยาบาลกุมารเวชศาสตร์ และสาขาวิชาการพยาบาลเด็ก คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล, - 2555
Collection Title: Old book collection Title : บันทึกจากหัวใจผู้เยียวยา : ๙ เรื่องเล่าอุ่นหัวัใจ Material Type: printed text Authors: กรรณจริยา สุขรุ่ง, Editor ; อรุณศรี เตชัสหงส์, Author Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 1 Publisher: งานการพยาบาลกุมารเวชศาสตร์ และสาขาวิชาการพยาบาลเด็ก คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล, Publication Date: 2555 Pagination: 57 หน้า Layout: ภาพประกอบ Size: 21 ซม. Price: บริจาค. Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การพยาบาล -- การบันทึก
[LCSH]การพยาบาล -- รวมเรื่อง
[LCSH]การพยาบาล, การดุแลKeywords: การเยียวยา.
พยาบาล.
การดูแล.
บันทึก.Class number: WY5 บ268 2555 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23261 Old book collection. บันทึกจากหัวใจผู้เยียวยา : ๙ เรื่องเล่าอุ่นหัวัใจ [printed text] / กรรณจริยา สุขรุ่ง, Editor ; อรุณศรี เตชัสหงส์, Author . - พิมพ์ครั้งที่ 1 . - [S.l.] : งานการพยาบาลกุมารเวชศาสตร์ และสาขาวิชาการพยาบาลเด็ก คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล,, 2555 . - 57 หน้า : ภาพประกอบ ; 21 ซม.
บริจาค.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การพยาบาล -- การบันทึก
[LCSH]การพยาบาล -- รวมเรื่อง
[LCSH]การพยาบาล, การดุแลKeywords: การเยียวยา.
พยาบาล.
การดูแล.
บันทึก.Class number: WY5 บ268 2555 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23261 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000355972 WY5 บ268 2555 Book Main Library Library Counter Available SIU THE-T. ความสุขในการทำงานของพยาบาลไทย / ละมิตร์ ปีกขาว / คณะการจัดการ มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2557
Collection Title: SIU THE-T Title : ความสุขในการทำงานของพยาบาลไทย Original title : Work happiness of Thai nurses Material Type: printed text Authors: ละมิตร์ ปีกขาว, Author Publisher: คณะการจัดการ มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2557 Pagination: x, 221 หน้า Layout: ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] มหาวิทยาลัยชินวัตร. Languages : Thai (tha) Descriptors: [NLM]ความสุขในการทำงาน -- ดุษฎีนิพนธ์
[NLM]พยาบาล, ความสุขในการทำงาน
[NLM]พยาบาลวิชาชีพ -- ดุษฎีนิพนธ์Keywords: พยาบาลวิชาชีพ.
ความสุขในการทำงาน.
พยาบาลไทย.Class number: SIU THE-T SOM-DBA-2015-01 Abstract: มุ่งเน้นศึกษาความสุขของพยาบาลวิชาชีพ โดยสามารถนำมายืนยันทฤษฎีความสุขของพยาบาลว่ามาจากทฤษฎีใด มีวัตถุประสงค์เพือศึกษาสถานการณ์ความสุขในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพภาครัฐและเอกชน เพื่อเปรียบเทียบระดับความสุขของพยาบาลวิชาชีพ ศึกษาจากปัจจัยส่วนบุคคลที่มีผลต่อความสุขของพยาบาลวิชาชีพ เป็นการวิจัยเชิงพรรณาแบบผสม ระหว่างการวิจัยเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ โดยกลุ่มตัวอย่างเชิงคุณภาพเป็นพยาบาลวิชาชีพที่มีประสบการณ์ในการทำงาน 10 ปีขึ้นไป จำนวน 25 คน ภาครัฐ 15 และเอกชน 10 คน ตามลำดับ และเชิงปริมาณเป็นพยาบาลวิชาชีพ จำนวน 690 คน. การวิเคราะห์เนื่้อหาพร้อมด้วยความถี่เชิงปริมาณ ใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูลส่วนบุคคลและความสุขด้านต่าง ๆ เชิงคุณภาพวิเคราะห์เนื้อหาออกเป็นประเด็น พร้อมด้วยความถี่ เชิงปริมาณวิเคราะห์ด้วยโปรแกรมวิเคราะห์ทางสถิติสำเร็จรูป วิเคราะห์เชิงพรรณนาและทดสอบด้วย t-test ผลการวิจัย พบว่า สถานการณ์ความสุขในการทำงานพยาบาลวิชาชีพภาครัฐและภาคเอกชนมีความคิดเห็นเหมือนกันว่า การช่วยเหลือและดูแลผู้ป่วย การได้ช่วยเหลือญาติและครอบครัวของผู้ป่วย การช่วยให้ผู้ป่วยปลอดภัยในภาวะฉุกเฉิน การช่วยลดความวิตกกังวลให้ผู้ป่วยและผู้เกี่ยวข้อง การมีส่วนร่วมช่วยเหลือดูแลผู้ป่วย ผู้บาดเจ็บจากเหตุการณ์ไม่ปกติแม้เป็นเวลานอกปฏิบัติงาน ทำให้พยาบาลมีความสุขในการทำงาน โดยมีระดับความสุขมาก และไม่แตกต่างกันทั้งภาครัฐและเอกชน และปัจจัยส่วนบุคคลในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพ พบว่า ความแตกต่างของเพศ อายุ การศึกาา ประสบการณ์ทำงาน รายได้หลัก รายได้พิเศษ จำนวนบุตร สถานภาพสมรส และตำแหน่งงานไม่มีอิทธิพลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติต่อความสุขโดยรวม ข้อค้นพบทางทฤษฎี พบว่า ความสุขในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพไม่แตกต่างกันแต่ละเอียดกว่าทฤษฎีลำดับขั้นความต้องการของมาสโลว์ เพราะความสุขของพยาบาลเน้นเรื่องการช่วยเหลือดูแลผู้ป่วยและครอบครัวทั้งภาวะปกติและฉุกเฉินเป็นหลักสำคัญ ซึ่งแสดงให้เห็นว่าเป็นความสุขของพยาบาลที่ก้าวจากลำดับขั้นความต้องการของมางโลว์อย่างแท้จริง นอกจากนี้ยังพบว่า แง่ทฤษฎีประโยชน์นิยมเน้นถึงการกระทำทำให้คนส่วนใหญ่มีความสุขมากที่สุด ถือเป็นการดำเนินการของรัฐที่ใช้ได้ในระดับหนึ่ง ซึ่งนัยของทฤษฎีประโยชน์นิยมได้ชี้ให้เห็นว่ารัฐควรส่งเสิรมวิชาชีพพยาบาลให้สามารถช่วยเหลือดูแลผู้ป่วยรวมทั้งครอบครัวให้ผู้ป่วยปลอดภัย เพื่อที่สามารถทำประโยชน์ให้กับคนส่วนใหญ่ได้มากที่สุด ในขณะที่ทฤษฎีความอยู่เย็นเป็นสุขและทฤษฎีความสุขของคนไทย พบว่า เป็นผลรวมของความสุขประชาชนโดยตรง Contents note: ปีการศึกษา 2557 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25889 SIU THE-T. ความสุขในการทำงานของพยาบาลไทย = Work happiness of Thai nurses [printed text] / ละมิตร์ ปีกขาว, Author . - [S.l.] : คณะการจัดการ มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2557 . - x, 221 หน้า : ตาราง ; 30 ซม.
500.00
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] มหาวิทยาลัยชินวัตร.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [NLM]ความสุขในการทำงาน -- ดุษฎีนิพนธ์
[NLM]พยาบาล, ความสุขในการทำงาน
[NLM]พยาบาลวิชาชีพ -- ดุษฎีนิพนธ์Keywords: พยาบาลวิชาชีพ.
ความสุขในการทำงาน.
พยาบาลไทย.Class number: SIU THE-T SOM-DBA-2015-01 Abstract: มุ่งเน้นศึกษาความสุขของพยาบาลวิชาชีพ โดยสามารถนำมายืนยันทฤษฎีความสุขของพยาบาลว่ามาจากทฤษฎีใด มีวัตถุประสงค์เพือศึกษาสถานการณ์ความสุขในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพภาครัฐและเอกชน เพื่อเปรียบเทียบระดับความสุขของพยาบาลวิชาชีพ ศึกษาจากปัจจัยส่วนบุคคลที่มีผลต่อความสุขของพยาบาลวิชาชีพ เป็นการวิจัยเชิงพรรณาแบบผสม ระหว่างการวิจัยเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ โดยกลุ่มตัวอย่างเชิงคุณภาพเป็นพยาบาลวิชาชีพที่มีประสบการณ์ในการทำงาน 10 ปีขึ้นไป จำนวน 25 คน ภาครัฐ 15 และเอกชน 10 คน ตามลำดับ และเชิงปริมาณเป็นพยาบาลวิชาชีพ จำนวน 690 คน. การวิเคราะห์เนื่้อหาพร้อมด้วยความถี่เชิงปริมาณ ใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูลส่วนบุคคลและความสุขด้านต่าง ๆ เชิงคุณภาพวิเคราะห์เนื้อหาออกเป็นประเด็น พร้อมด้วยความถี่ เชิงปริมาณวิเคราะห์ด้วยโปรแกรมวิเคราะห์ทางสถิติสำเร็จรูป วิเคราะห์เชิงพรรณนาและทดสอบด้วย t-test ผลการวิจัย พบว่า สถานการณ์ความสุขในการทำงานพยาบาลวิชาชีพภาครัฐและภาคเอกชนมีความคิดเห็นเหมือนกันว่า การช่วยเหลือและดูแลผู้ป่วย การได้ช่วยเหลือญาติและครอบครัวของผู้ป่วย การช่วยให้ผู้ป่วยปลอดภัยในภาวะฉุกเฉิน การช่วยลดความวิตกกังวลให้ผู้ป่วยและผู้เกี่ยวข้อง การมีส่วนร่วมช่วยเหลือดูแลผู้ป่วย ผู้บาดเจ็บจากเหตุการณ์ไม่ปกติแม้เป็นเวลานอกปฏิบัติงาน ทำให้พยาบาลมีความสุขในการทำงาน โดยมีระดับความสุขมาก และไม่แตกต่างกันทั้งภาครัฐและเอกชน และปัจจัยส่วนบุคคลในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพ พบว่า ความแตกต่างของเพศ อายุ การศึกาา ประสบการณ์ทำงาน รายได้หลัก รายได้พิเศษ จำนวนบุตร สถานภาพสมรส และตำแหน่งงานไม่มีอิทธิพลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติต่อความสุขโดยรวม ข้อค้นพบทางทฤษฎี พบว่า ความสุขในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพไม่แตกต่างกันแต่ละเอียดกว่าทฤษฎีลำดับขั้นความต้องการของมาสโลว์ เพราะความสุขของพยาบาลเน้นเรื่องการช่วยเหลือดูแลผู้ป่วยและครอบครัวทั้งภาวะปกติและฉุกเฉินเป็นหลักสำคัญ ซึ่งแสดงให้เห็นว่าเป็นความสุขของพยาบาลที่ก้าวจากลำดับขั้นความต้องการของมางโลว์อย่างแท้จริง นอกจากนี้ยังพบว่า แง่ทฤษฎีประโยชน์นิยมเน้นถึงการกระทำทำให้คนส่วนใหญ่มีความสุขมากที่สุด ถือเป็นการดำเนินการของรัฐที่ใช้ได้ในระดับหนึ่ง ซึ่งนัยของทฤษฎีประโยชน์นิยมได้ชี้ให้เห็นว่ารัฐควรส่งเสิรมวิชาชีพพยาบาลให้สามารถช่วยเหลือดูแลผู้ป่วยรวมทั้งครอบครัวให้ผู้ป่วยปลอดภัย เพื่อที่สามารถทำประโยชน์ให้กับคนส่วนใหญ่ได้มากที่สุด ในขณะที่ทฤษฎีความอยู่เย็นเป็นสุขและทฤษฎีความสุขของคนไทย พบว่า เป็นผลรวมของความสุขประชาชนโดยตรง Contents note: ปีการศึกษา 2557 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25889 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000580710 SIU THE-T SOM-DBA-2015-01 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000580702 SIU THE-T SOM-DBA-2015-01 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available SIU THE-T. แนวทางการยอมรับการไกล่เกลี่ยของคู่พิพาทในศาลยุติธรรม / สมบัติ อรรถพิมล / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU THE-T Title : แนวทางการยอมรับการไกล่เกลี่ยของคู่พิพาทในศาลยุติธรรม Original title : Approaches that Lead Disputing Parties to Consensual Acceptance of Mediation in the Court of Justice Material Type: printed text Authors: สมบัติ อรรถพิมล, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; สมชาย รัตนโกมุท, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: x, 267 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2016-06
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.รป.ด.]] มหาวิทยาลัยชินวัตร.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]กระบวนการยุติธรรม -- ไทย
[LCSH]การระงับข้อพิพาท
[LCSH]การไกล่เกลี่ยKeywords: การไกล่เกลี่ย
การยอมรับ
ข้อพิพาท
ยุติธรรมทางเลือก
ศาลยุติธรรมAbstract: การระงับข้อพิพาทโดยศาลยุติธรรมดำเนินการโดย 2 ลักษณะวิธี คือ โดยการสืบพยานหลักฐานและมีคำพิพากษาหรือคำสั่งชี้ขาดตัดสิน กับโดยการไกล่เกลี่ยประนอมข้อพิพาท
วัตถุประสงค์ของการศึกษา ศึกษาสภาพปัญหาที่คู่พิพาทยอมรับการไกล่เกลี่ย หลักแนวคิด หลักทฤษฎีที่อยู่เบื้องหลังการยอมรับการไกล่เกลี่ย เพื่อนำเสนอแนวทางที่เป็นตัวแบบที่ใช้ในการไกล่เกลี่ย และศึกษาปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ วุฒิการศึกษา สถานภาพ และประสบการณ์ในการไกล่เกลี่ยที่แตกต่างกันมีผลต่อผู้เข้าเจรจาไกล่เกลี่ยแตกต่างกัน โดยผู้วิจัยเสนอแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการไกล่เกลี่ย 4 แนวคิดทฤษฎี คือ แนวคิดหลักการเจรจา แนวคิดทฤษฎีความขัดแย้ง แนวคิดทฤษฎีหลักความยุติธรรม และแนวคิดทฤษฎีหลักธรรมทางศาสนา ตัวแปรต้น ได้แก่ ปัจจัยส่วนบุคคล แนวทางการแก้ไขปัญหาและแนวคิดทฤษฎี ตัวแปรตาม คือ การยอมรับการไกล่เกลี่ย
ระเบียบวิธีวิจัย เป็นการวิจัยเชิงพรรณนาแบบผสมระหว่างวิจัยเชิงคุณภาพ กับการวิจัยเชิงปริมาณ อาศัยข้อมูลจากเอกสาร จากการสัมภาษณ์เชิงลึก จากการสังเกตการณ์ และจากคำตอบแบบสอบถามประชากรกลุ่มเป้าหมาย การวิจัยเชิงคุณภาพนอกจากข้อมูลทางเอกสารแล้วได้ข้อมูลจากการสัมภาษณ์เชิงลึกผู้บริหารศาล 3 ท่าน ได้แก่ ประธานศาลฎีกา อธิบดีผู้พิพากษาภาค 1 และผู้พิพากษาหัวหน้าศาลแขวงดุสิต และสัมภาษณ์เชิงลึกบุคคลที่เกี่ยวข้องกับคดีที่ไกล่เกลี่ยสำเร็จของศาลแขวงดุสิต 10 คดี ได้แก่ โจทก์ ทนายโจทก์ ผู้เสียหาย จำเลย ทนายจำเลย และผู้ทำหน้าที่ไกล่เกลี่ย รวม 48 คน รวมทั้งสิ้น 51 คน และจากการเข้าสังเกตการณ์การไกล่เกลี่ย ส่วนการวิจัยเชิงปริมาณได้ข้อมูลจากคำตอบแบบสอบถามประชากรกลุ่มเป้าหมายเป็นบุคคลที่เกี่ยวข้องกับคดีที่ไกล่เกลี่ยสำเร็จของศาลแขวงดุสิตในปี 2557 จำนวน 492 คดี ประชากร 2,000 คน สุ่มตัวอย่างได้ 370 คน เก็บรวบรวมข้อมูลทั้งหมดนำมาวิเคราะห์เนื้อหาความถี่ทางสถิติและความแปรปรวน สรุปเป็นข้อค้นพบ และข้อเสนอแนะ
ผลการวิจัยเชิงคุณภาพ พบว่า ผู้บริหารศาล มีความคิดเห็นที่สำคัญ 6 ประการ คือ 1) พึงพอใจในกระบวนการไกล่เกลี่ยของศาล 2) ผู้ทำหน้าที่ไกล่เกลี่ยควรเป็นผู้มีความรู้ทางด้านกฎหมายและเทคนิคการเจรจาต่อรอง 3) การไกล่เกลี่ยจำเป็นต้องอาศัยแนวคิดทฤษฎีต่าง ๆ ซึ่งเป็นวิชาการที่ถูกคิดค้น และเป็นที่ยอมรับเป็นพื้นฐานในการเจรจาไกล่เกลี่ย ได้แก่ แนวคิดหลักการเจรจา แนวคิดทฤษฎีความขัดแย้ง แนวคิดทฤษฎีหลักความยุติธรรม และแนวคิดทฤษฎีหลักธรรมทางศาสนา ประกอบกัน 4) ไม่มีทฤษฎีใดดีที่สุด แต่ใช้หลายทฤษฎีประกอบกัน 5) ไม่เห็นด้วยที่ผู้ประนีประนอมคนหนึ่งทำหน้าที่หลายศาล และไม่เห็นด้วยที่ผู้พิพากษาสมทบไปเป็นผู้ประนีประนอมในศาลอื่น 6) ประสบการณ์ของผู้ทำหน้าที่ไกล่เกลี่ยเป็นสิ่งสำคัญที่สร้างความเชื่อถือแก่คู่พิพาท ผู้พิพากษาอาวุโสเหมาะแก่การเป็นผู้ทำหน้าที่ไกล่เกลี่ย
บุคคลที่เกี่ยวข้องกับการไกล่เกลี่ยคดีตัวอย่าง 10 คดี มีความคิดเห็นที่สำคัญ 4 ประการ คือ 1) คู่พิพาทและบุคคลที่เกี่ยวข้องที่เข้าไกล่เกลี่ยทุกคนพอใจกระบวนการไกล่เกลี่ยของศาล
2) บทบาทสำคัญของผู้ทำหน้าที่ไกล่เกลี่ยคือ เสนอแนวทางการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งแก่คู่พิพาท 3) เหตุผลการยอมรับการไกล่เกลี่ยเพราะมีการผ่อนปรนลดหนี้ให้แก่กัน และเพราะเชื่อถือในความเป็นกลางของผู้ทำหน้าที่ไกล่เกลี่ย 4) แนวคิดทฤษฎีที่ใช้ในการไกล่เกลี่ย ได้แก่ แนวคิดหลักการเจรจา แนวคิดทฤษฎีความขัดแย้ง แนวคิดทฤษฎีหลักความยุติธรรม และแนวคิดทฤษฎีหลักธรรมทางศาสนา ประกอบกันCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26551 SIU THE-T. แนวทางการยอมรับการไกล่เกลี่ยของคู่พิพาทในศาลยุติธรรม = Approaches that Lead Disputing Parties to Consensual Acceptance of Mediation in the Court of Justice [printed text] / สมบัติ อรรถพิมล, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; สมชาย รัตนโกมุท, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - x, 267 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU THE-T: IPAG-DPA-2016-06
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.รป.ด.]] มหาวิทยาลัยชินวัตร.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]กระบวนการยุติธรรม -- ไทย
[LCSH]การระงับข้อพิพาท
[LCSH]การไกล่เกลี่ยKeywords: การไกล่เกลี่ย
การยอมรับ
ข้อพิพาท
ยุติธรรมทางเลือก
ศาลยุติธรรมAbstract: การระงับข้อพิพาทโดยศาลยุติธรรมดำเนินการโดย 2 ลักษณะวิธี คือ โดยการสืบพยานหลักฐานและมีคำพิพากษาหรือคำสั่งชี้ขาดตัดสิน กับโดยการไกล่เกลี่ยประนอมข้อพิพาท
วัตถุประสงค์ของการศึกษา ศึกษาสภาพปัญหาที่คู่พิพาทยอมรับการไกล่เกลี่ย หลักแนวคิด หลักทฤษฎีที่อยู่เบื้องหลังการยอมรับการไกล่เกลี่ย เพื่อนำเสนอแนวทางที่เป็นตัวแบบที่ใช้ในการไกล่เกลี่ย และศึกษาปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ วุฒิการศึกษา สถานภาพ และประสบการณ์ในการไกล่เกลี่ยที่แตกต่างกันมีผลต่อผู้เข้าเจรจาไกล่เกลี่ยแตกต่างกัน โดยผู้วิจัยเสนอแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการไกล่เกลี่ย 4 แนวคิดทฤษฎี คือ แนวคิดหลักการเจรจา แนวคิดทฤษฎีความขัดแย้ง แนวคิดทฤษฎีหลักความยุติธรรม และแนวคิดทฤษฎีหลักธรรมทางศาสนา ตัวแปรต้น ได้แก่ ปัจจัยส่วนบุคคล แนวทางการแก้ไขปัญหาและแนวคิดทฤษฎี ตัวแปรตาม คือ การยอมรับการไกล่เกลี่ย
ระเบียบวิธีวิจัย เป็นการวิจัยเชิงพรรณนาแบบผสมระหว่างวิจัยเชิงคุณภาพ กับการวิจัยเชิงปริมาณ อาศัยข้อมูลจากเอกสาร จากการสัมภาษณ์เชิงลึก จากการสังเกตการณ์ และจากคำตอบแบบสอบถามประชากรกลุ่มเป้าหมาย การวิจัยเชิงคุณภาพนอกจากข้อมูลทางเอกสารแล้วได้ข้อมูลจากการสัมภาษณ์เชิงลึกผู้บริหารศาล 3 ท่าน ได้แก่ ประธานศาลฎีกา อธิบดีผู้พิพากษาภาค 1 และผู้พิพากษาหัวหน้าศาลแขวงดุสิต และสัมภาษณ์เชิงลึกบุคคลที่เกี่ยวข้องกับคดีที่ไกล่เกลี่ยสำเร็จของศาลแขวงดุสิต 10 คดี ได้แก่ โจทก์ ทนายโจทก์ ผู้เสียหาย จำเลย ทนายจำเลย และผู้ทำหน้าที่ไกล่เกลี่ย รวม 48 คน รวมทั้งสิ้น 51 คน และจากการเข้าสังเกตการณ์การไกล่เกลี่ย ส่วนการวิจัยเชิงปริมาณได้ข้อมูลจากคำตอบแบบสอบถามประชากรกลุ่มเป้าหมายเป็นบุคคลที่เกี่ยวข้องกับคดีที่ไกล่เกลี่ยสำเร็จของศาลแขวงดุสิตในปี 2557 จำนวน 492 คดี ประชากร 2,000 คน สุ่มตัวอย่างได้ 370 คน เก็บรวบรวมข้อมูลทั้งหมดนำมาวิเคราะห์เนื้อหาความถี่ทางสถิติและความแปรปรวน สรุปเป็นข้อค้นพบ และข้อเสนอแนะ
ผลการวิจัยเชิงคุณภาพ พบว่า ผู้บริหารศาล มีความคิดเห็นที่สำคัญ 6 ประการ คือ 1) พึงพอใจในกระบวนการไกล่เกลี่ยของศาล 2) ผู้ทำหน้าที่ไกล่เกลี่ยควรเป็นผู้มีความรู้ทางด้านกฎหมายและเทคนิคการเจรจาต่อรอง 3) การไกล่เกลี่ยจำเป็นต้องอาศัยแนวคิดทฤษฎีต่าง ๆ ซึ่งเป็นวิชาการที่ถูกคิดค้น และเป็นที่ยอมรับเป็นพื้นฐานในการเจรจาไกล่เกลี่ย ได้แก่ แนวคิดหลักการเจรจา แนวคิดทฤษฎีความขัดแย้ง แนวคิดทฤษฎีหลักความยุติธรรม และแนวคิดทฤษฎีหลักธรรมทางศาสนา ประกอบกัน 4) ไม่มีทฤษฎีใดดีที่สุด แต่ใช้หลายทฤษฎีประกอบกัน 5) ไม่เห็นด้วยที่ผู้ประนีประนอมคนหนึ่งทำหน้าที่หลายศาล และไม่เห็นด้วยที่ผู้พิพากษาสมทบไปเป็นผู้ประนีประนอมในศาลอื่น 6) ประสบการณ์ของผู้ทำหน้าที่ไกล่เกลี่ยเป็นสิ่งสำคัญที่สร้างความเชื่อถือแก่คู่พิพาท ผู้พิพากษาอาวุโสเหมาะแก่การเป็นผู้ทำหน้าที่ไกล่เกลี่ย
บุคคลที่เกี่ยวข้องกับการไกล่เกลี่ยคดีตัวอย่าง 10 คดี มีความคิดเห็นที่สำคัญ 4 ประการ คือ 1) คู่พิพาทและบุคคลที่เกี่ยวข้องที่เข้าไกล่เกลี่ยทุกคนพอใจกระบวนการไกล่เกลี่ยของศาล
2) บทบาทสำคัญของผู้ทำหน้าที่ไกล่เกลี่ยคือ เสนอแนวทางการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งแก่คู่พิพาท 3) เหตุผลการยอมรับการไกล่เกลี่ยเพราะมีการผ่อนปรนลดหนี้ให้แก่กัน และเพราะเชื่อถือในความเป็นกลางของผู้ทำหน้าที่ไกล่เกลี่ย 4) แนวคิดทฤษฎีที่ใช้ในการไกล่เกลี่ย ได้แก่ แนวคิดหลักการเจรจา แนวคิดทฤษฎีความขัดแย้ง แนวคิดทฤษฎีหลักความยุติธรรม และแนวคิดทฤษฎีหลักธรรมทางศาสนา ประกอบกันCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26551 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000591972 SIU THE-T: IPAG-DPA-2016-06 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000592004 SIU THE-T: IPAG-DPA-2016-06 c.2 Thesis Graduate Library Thesis Corner Available Readers who borrowed this document also borrowed:
Human resource management Mathis,, Robert L. (1944-) การจัดการทางการพยาบาลและภาวะผู้นำ / กัญญดา ประจุศิลป / กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2562
Title : การจัดการทางการพยาบาลและภาวะผู้นำ Material Type: printed text Authors: กัญญดา ประจุศิลป, Author Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 2 Publisher: กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2562 Pagination: 173 น. Size: 24 ซม. Price: 290.00 บาท General note: บทที่ 1 การพยาบาลในยุคไทยแลนด์ 4.0 -- บทที่ 2 สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการปฏิบัติงานพยาบาล -- บทที่ 3 การจัดการทรัพยากรมนุษย์ที่มีความหลากหลายรุ่นอายุ -- บทที่ 4 พฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กร -- บทที่ 5 ภาวะผู้นำทางการพยาบาล
หอสมุดปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ บริจาคจำนวน 4 เล่มLanguages : Thai (tha) Descriptors: [NLM]พยาบาล -- การบริหาร
[NLM]พยาบาล -- ภาวะผู้นำ
[NLM]ภาวะผู้นำ -- แนวคิดKeywords: ผู้นำ, พยาบาล Class number: WY105 ก417ก 2562 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28245 การจัดการทางการพยาบาลและภาวะผู้นำ [printed text] / กัญญดา ประจุศิลป, Author . - พิมพ์ครั้งที่ 2 . - [S.l.] : กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2562 . - 173 น. ; 24 ซม.
290.00 บาท
บทที่ 1 การพยาบาลในยุคไทยแลนด์ 4.0 -- บทที่ 2 สภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการปฏิบัติงานพยาบาล -- บทที่ 3 การจัดการทรัพยากรมนุษย์ที่มีความหลากหลายรุ่นอายุ -- บทที่ 4 พฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กร -- บทที่ 5 ภาวะผู้นำทางการพยาบาล
หอสมุดปรีดี พนมยงค์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ บริจาคจำนวน 4 เล่ม
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [NLM]พยาบาล -- การบริหาร
[NLM]พยาบาล -- ภาวะผู้นำ
[NLM]ภาวะผู้นำ -- แนวคิดKeywords: ผู้นำ, พยาบาล Class number: WY105 ก417ก 2562 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28245 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607295 WY105 ก417ก 2562 c.1 Book Main Library General Shelf Available 32002000607298 WY105 ก417ก 2562 c.2 Book Main Library General Shelf Available 32002000607297 WY105 ก417ก 2562 c.3 Book Main Library General Shelf Available 32002000607296 WY105 ก417ก 2562 c.4 Book Main Library General Shelf Available การจัดการเรียนการสอนเพื่อควบคุมการบริโภคยาสูบ: หมวดวิชาการพยาบาลพื้นฐาน / ศธัญญา ธิติศักดิ์ / กรุงเทพฯ: เครือข่ายพยาบาลเพื่อการควบคุมยาสูบแห่งประเทศไทย - 2563
Title : การจัดการเรียนการสอนเพื่อควบคุมการบริโภคยาสูบ: หมวดวิชาการพยาบาลพื้นฐาน Material Type: printed text Authors: ศธัญญา ธิติศักดิ์, Author Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 2 Publisher: กรุงเทพฯ: เครือข่ายพยาบาลเพื่อการควบคุมยาสูบแห่งประเทศไทย Publication Date: 2563 Pagination: 97 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 25.9 ซม. ISBN (or other code): 978-6-16-931394-6 Price: - General note: บทที่ 1 ความสำคัญของการควบคุมยาสูบในรายวิชาการพยาบาลพื้นฐาน -- บทที่ 2 พิษภัยจากยาสูบและแนวทางการควบคุมยาสูบ -- บทที่ 3 การจัดการเรียนการสอนเพื่อการควบคุมการบริโภคยาสูบในรายวิชาการพยาบาลพื้นฐาน -- หน่วยที่ 1 การควบคุมการบริโภคยาสูบกับการรับผู้รับบริการใหม่และการจำหน่ายผู้รับบริการกลับบ้าน -- หน่วยที่ 2 การควบคุมการบริโภคยาสูบกับการประเมินสัญญาณชีพ -- หน่วยที่ 3 การควบคุมการบริโภคยาสูบกับการดูแลสุขวิทยาส่วนบุคคลและสิ่งแวดล้อม -- หน่วยที่ 4 การควบคุมการบริโภคยาสูบกับการดูแลผู้รับบริการให้ได้รับสารอาหาร -- หน่วยที่ 5 การควบคุมการบริโภคยาสูบกับการดูแลผู้รับบริการให้มีกิจกรรมและการพักผ่อน -- หน่วยที่ 6 การควบคุมการบริโภคยาสูบกับการดูแลผู้รับบริการในการขับถ่าย -- หน่วยที่ 7 การควบคุมการบริโภคยาสูบกับการดูแลผู้รับบริการให้ได้รับออกซิเจน -- หน่วยที่ 8 การควบคุมการบริโภคยาสูบกับการดูแลผู้รับบริการที่มีบาดแผล -- หน่วยที่ 9 การควบคุมการบริโภคยาสูบกับการป้องกันควบคุมป้องกันการติดเชื้อ -- หน่วยที่ 10 การควบคุมการบริโภคยาสูบกับการดูแลผู้รับบริการในการบริหารยา
สมาคมพยาบาล เครือข่ายพยาบาลเพื่อการควบคุมยาสูบแห่งประเทศไทย บริจาคจำนวน 5 เล่มLanguages : Thai (tha) Descriptors: [NLM]การพยาบาลพื้นฐาน
[NLM]การศึกษาพยาบาล
[NLM]การสูบบุหรี่ -- การป้องกันและควบคุม
[NLM]บุหรี่ -- การควบคุมการบริโภคKeywords: พยาบาล, การศึกษา Class number: WY100 ศ122ก 2563 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28240 การจัดการเรียนการสอนเพื่อควบคุมการบริโภคยาสูบ: หมวดวิชาการพยาบาลพื้นฐาน [printed text] / ศธัญญา ธิติศักดิ์, Author . - พิมพ์ครั้งที่ 2 . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: เครือข่ายพยาบาลเพื่อการควบคุมยาสูบแห่งประเทศไทย, 2563 . - 97 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 25.9 ซม.
ISBN : 978-6-16-931394-6 : -
บทที่ 1 ความสำคัญของการควบคุมยาสูบในรายวิชาการพยาบาลพื้นฐาน -- บทที่ 2 พิษภัยจากยาสูบและแนวทางการควบคุมยาสูบ -- บทที่ 3 การจัดการเรียนการสอนเพื่อการควบคุมการบริโภคยาสูบในรายวิชาการพยาบาลพื้นฐาน -- หน่วยที่ 1 การควบคุมการบริโภคยาสูบกับการรับผู้รับบริการใหม่และการจำหน่ายผู้รับบริการกลับบ้าน -- หน่วยที่ 2 การควบคุมการบริโภคยาสูบกับการประเมินสัญญาณชีพ -- หน่วยที่ 3 การควบคุมการบริโภคยาสูบกับการดูแลสุขวิทยาส่วนบุคคลและสิ่งแวดล้อม -- หน่วยที่ 4 การควบคุมการบริโภคยาสูบกับการดูแลผู้รับบริการให้ได้รับสารอาหาร -- หน่วยที่ 5 การควบคุมการบริโภคยาสูบกับการดูแลผู้รับบริการให้มีกิจกรรมและการพักผ่อน -- หน่วยที่ 6 การควบคุมการบริโภคยาสูบกับการดูแลผู้รับบริการในการขับถ่าย -- หน่วยที่ 7 การควบคุมการบริโภคยาสูบกับการดูแลผู้รับบริการให้ได้รับออกซิเจน -- หน่วยที่ 8 การควบคุมการบริโภคยาสูบกับการดูแลผู้รับบริการที่มีบาดแผล -- หน่วยที่ 9 การควบคุมการบริโภคยาสูบกับการป้องกันควบคุมป้องกันการติดเชื้อ -- หน่วยที่ 10 การควบคุมการบริโภคยาสูบกับการดูแลผู้รับบริการในการบริหารยา
สมาคมพยาบาล เครือข่ายพยาบาลเพื่อการควบคุมยาสูบแห่งประเทศไทย บริจาคจำนวน 5 เล่ม
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [NLM]การพยาบาลพื้นฐาน
[NLM]การศึกษาพยาบาล
[NLM]การสูบบุหรี่ -- การป้องกันและควบคุม
[NLM]บุหรี่ -- การควบคุมการบริโภคKeywords: พยาบาล, การศึกษา Class number: WY100 ศ122ก 2563 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28240 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607242 WY100 ศ122ก 2563 c.5 Book Main Library General Shelf Available 32002000607244 WY100 ศ122ก 2563 c.1 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000607243 WY100 ศ122ก 2563 c.2 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000607240 WY100 ศ122ก 2563 c.3 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000607241 WY100 ศ122ก 2563 c.4 Book Main Library Nursing Shelf Available การจัดการเรียนการสอนเพื่อควบคุมการบริโภคยาสูบ: หมวดวิชาการพยาบาลพื้นฐาน / ศธัญญา ธิติศักดิ์ / กรุงเทพฯ: เครือข่ายพยาบาลเพื่อการควบคุมยาสูบแห่งประเทศไทย - 2560
Title : การจัดการเรียนการสอนเพื่อควบคุมการบริโภคยาสูบ: หมวดวิชาการพยาบาลพื้นฐาน Material Type: printed text Authors: ศธัญญา ธิติศักดิ์, Author Publisher: กรุงเทพฯ: เครือข่ายพยาบาลเพื่อการควบคุมยาสูบแห่งประเทศไทย Publication Date: 2560 Pagination: 97 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 25.9 ซม. Price: - General note: บทที่ 1 ความสำคัญของการควบคุมยาสูบในรายวิชาการพยาบาลพื้นฐาน -- บทที่ 2 พิษภัยจากยาสูบและแนวทางการควบคุมยาสูบ -- บทที่ 3 การจัดการเรียนการสอนเพื่อการควบคุมการบริโภคยาสูบในรายวิชาการพยาบาลพื้นฐาน -- หน่วยที่ 1 การควบคุมการบริโภคยาสูบกับการรับผู้รับบริการใหม่และการจำหน่ายผู้รับบริการกลับบ้าน -- หน่วยที่ 2 การควบคุมการบริโภคยาสูบกับการประเมินสัญญาณชีพ -- หน่วยที่ 3 การควบคุมการบริโภคยาสูบกับการดูแลสุขวิทยาส่วนบุคคลและสิ่งแวดล้อม -- หน่วยที่ 4 การควบคุมการบริโภคยาสูบกับการดูแลผู้รับบริการให้ได้รับสารอาหาร -- หน่วยที่ 5 การควบคุมการบริโภคยาสูบกับการดูแลผู้รับบริการให้มีกิจกรรมและการพักผ่อน -- หน่วยที่ 6 การควบคุมการบริโภคยาสูบกับการดูแลผู้รับบริการในการขับถ่าย -- หน่วยที่ 7 การควบคุมการบริโภคยาสูบกับการดูแลผู้รับบริการให้ได้รับออกซิเจน -- หน่วยที่ 8 การควบคุมการบริโภคยาสูบกับการดูแลผู้รับบริการที่มีบาดแผล -- หน่วยที่ 9 การควบคุมการบริโภคยาสูบกับการป้องกันควบคุมป้องกันการติดเชื้อ -- หน่วยที่ 10 การควบคุมการบริโภคยาสูบกับการดูแลผู้รับบริการในการบริหารยา
สมาคมพยาบาล เครือข่ายพยาบาลเพื่อการควบคุมยาสูบแห่งประเทศไทย บริจาคจำนวน 5 เล่มLanguages : Thai (tha) Descriptors: [NLM]การพยาบาลพื้นฐาน
[NLM]การศึกษาพยาบาล
[NLM]การสูบบุหรี่ -- การป้องกันและควบคุม
[NLM]บุหรี่ -- การควบคุมการบริโภคKeywords: พยาบาล, การศึกษา Class number: WY100 ศ122ก 2560 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28249 การจัดการเรียนการสอนเพื่อควบคุมการบริโภคยาสูบ: หมวดวิชาการพยาบาลพื้นฐาน [printed text] / ศธัญญา ธิติศักดิ์, Author . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: เครือข่ายพยาบาลเพื่อการควบคุมยาสูบแห่งประเทศไทย, 2560 . - 97 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 25.9 ซม.
-
บทที่ 1 ความสำคัญของการควบคุมยาสูบในรายวิชาการพยาบาลพื้นฐาน -- บทที่ 2 พิษภัยจากยาสูบและแนวทางการควบคุมยาสูบ -- บทที่ 3 การจัดการเรียนการสอนเพื่อการควบคุมการบริโภคยาสูบในรายวิชาการพยาบาลพื้นฐาน -- หน่วยที่ 1 การควบคุมการบริโภคยาสูบกับการรับผู้รับบริการใหม่และการจำหน่ายผู้รับบริการกลับบ้าน -- หน่วยที่ 2 การควบคุมการบริโภคยาสูบกับการประเมินสัญญาณชีพ -- หน่วยที่ 3 การควบคุมการบริโภคยาสูบกับการดูแลสุขวิทยาส่วนบุคคลและสิ่งแวดล้อม -- หน่วยที่ 4 การควบคุมการบริโภคยาสูบกับการดูแลผู้รับบริการให้ได้รับสารอาหาร -- หน่วยที่ 5 การควบคุมการบริโภคยาสูบกับการดูแลผู้รับบริการให้มีกิจกรรมและการพักผ่อน -- หน่วยที่ 6 การควบคุมการบริโภคยาสูบกับการดูแลผู้รับบริการในการขับถ่าย -- หน่วยที่ 7 การควบคุมการบริโภคยาสูบกับการดูแลผู้รับบริการให้ได้รับออกซิเจน -- หน่วยที่ 8 การควบคุมการบริโภคยาสูบกับการดูแลผู้รับบริการที่มีบาดแผล -- หน่วยที่ 9 การควบคุมการบริโภคยาสูบกับการป้องกันควบคุมป้องกันการติดเชื้อ -- หน่วยที่ 10 การควบคุมการบริโภคยาสูบกับการดูแลผู้รับบริการในการบริหารยา
สมาคมพยาบาล เครือข่ายพยาบาลเพื่อการควบคุมยาสูบแห่งประเทศไทย บริจาคจำนวน 5 เล่ม
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [NLM]การพยาบาลพื้นฐาน
[NLM]การศึกษาพยาบาล
[NLM]การสูบบุหรี่ -- การป้องกันและควบคุม
[NLM]บุหรี่ -- การควบคุมการบริโภคKeywords: พยาบาล, การศึกษา Class number: WY100 ศ122ก 2560 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28249 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607076 WY100 ศ122ก 2560 c.1 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000607096 WY100 ศ122ก 2560 c.2 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000607246 WY100 ศ122ก 2560 c.3 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000607092 WY100 ศ122ก 2560 c.4 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000607102 WY100 ศ122ก 2560 c.5 Book Main Library Nursing Shelf Available การทำงานร่วมกันของพยาบาลและแพทย์ / สงกราน มาประสพ / คณะพยาบาลศา่สตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2544
Title : การทำงานร่วมกันของพยาบาลและแพทย์ Original title : Working relation of nurses an physicians Material Type: printed text Authors: สงกราน มาประสพ, Author Publisher: คณะพยาบาลศา่สตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2544 Pagination: ญ, 120 แผ่น Layout: ตาราง Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-031-732-4 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]]- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2544 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การพยาบาล
[LCSH]ความสัมพันธ์ระหว่างแพทย์และพยาบาล
[LCSH]พยาบาล -- การทำงาน
[LCSH]แพทย์ -- การทำงานKeywords: แพทย์.
พยาบาล.
การทำงาน.
วิทยานิพนธ์.Class number: WY18 ส821 2544 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23115 การทำงานร่วมกันของพยาบาลและแพทย์ = Working relation of nurses an physicians [printed text] / สงกราน มาประสพ, Author . - [S.l.] : คณะพยาบาลศา่สตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544 . - ญ, 120 แผ่น : ตาราง ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-031-732-4 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]]- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2544
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การพยาบาล
[LCSH]ความสัมพันธ์ระหว่างแพทย์และพยาบาล
[LCSH]พยาบาล -- การทำงาน
[LCSH]แพทย์ -- การทำงานKeywords: แพทย์.
พยาบาล.
การทำงาน.
วิทยานิพนธ์.Class number: WY18 ส821 2544 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23115 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354348 WY18 ส821 2544 Thesis Main Library Thesis Corner Available การปฏิบัติบทบาทของพยาบาลวิชาชีพในการสร้างเสริมสุขภาพในเขตพื้นที่ภาคกลาง / วัลยา ธรรมพนิชวัฒน์ in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.17 No.1 (Jan-Apr) 2016 ([06/20/2016])
[article]
Title : การปฏิบัติบทบาทของพยาบาลวิชาชีพในการสร้างเสริมสุขภาพในเขตพื้นที่ภาคกลาง Original title : Role performance of professional nurse in health promotion in central region Material Type: printed text Authors: วัลยา ธรรมพนิชวัฒน์, Author ; ศรีสุดา คล้ายคล่องจิตร, Author ; ณัฐา วงศ์วุฒิสาโรช, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.54-62 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.17 No.1 (Jan-Apr) 2016 [06/20/2016] . - p.54-62Keywords: พยาบาลวิชาชีพ.การปฏิบัติบทบาท.การสร้างเสริมสุขภาพ.เขตพื้นที่ภาคกลาง. Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25561 [article] การปฏิบัติบทบาทของพยาบาลวิชาชีพในการสร้างเสริมสุขภาพในเขตพื้นที่ภาคกลาง = Role performance of professional nurse in health promotion in central region [printed text] / วัลยา ธรรมพนิชวัฒน์, Author ; ศรีสุดา คล้ายคล่องจิตร, Author ; ณัฐา วงศ์วุฒิสาโรช, Author . - 2016 . - p.54-62.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.17 No.1 (Jan-Apr) 2016 [06/20/2016] . - p.54-62Keywords: พยาบาลวิชาชีพ.การปฏิบัติบทบาท.การสร้างเสริมสุขภาพ.เขตพื้นที่ภาคกลาง. Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25561 การปฏิบัติบทบาทของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชน / อุษนันท์ อินทมาศน์, / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2546
Title : การปฏิบัติบทบาทของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชน Original title : Role performance of professional nurse in community hospital Material Type: printed text Authors: อุษนันท์ อินทมาศน์, (2518-), Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2546 Pagination: ก-ฌ, 117 แผ่น Layout: ตาราง Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-175-780-3 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]].--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2546 Languages : English (eng) Descriptors: [LCSH]บทบาทที่คาดหวัง
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพ
[LCSH]วิชาชีพพยาบาล
[LCSH]โรงพยาบาลชุมชนKeywords: พยาบาลวิชาชีพ.
โรงพยาบาลชุมชน.
บทบาท.
หน้าที่.Class number: WY100 อ948 2546 Abstract: การวิจัยเชิงคุณภาพนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสบการณ์การปฏิบัติบทบาทของพยาบาลวิชาชีพ และศึกษาเงื่อนไขหรือปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติบทบาทของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชน โดยศึกษาในโรงพยาบาลชุมชน ขนาด 30 เตียง ในเขตภาคเหนือตอนล่าง จำนวน 1 แห่ง ใช้วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (Indepth interview) จากพยาบาลวิชาชีพที่มีประสบการณ์การปฏิบัติงาน 3 ปี ขึ้นไป จำนวน 16 คน แล้ววิเคราะห์เนื้อหาจากข้อมูลที่ได้ ผลการศึกษาพบว่า พยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชนมีการปฏิบัติบทบาทด้านการบริการสุขภาพประกอบด้วยบทบาทด้านการปฏิบัติการพยาบาล บทบาทด้านการบริหารจัดการ และบทบาทด้านวิชาการ ซึ่ง พยาบาลวิชาชีพมีการปฏิบัติหน้าที่เกินขอบเขตในเรื่องการรักษาโรค โดยพยาบาลวิชาชีพได้ให้บริการรักษานอกเวลาราชการแก่ผู้รับบริการที่เจ็บป่วยเล็กน้อยถึงรุนแรง การปฏิบัติบทบาทเกินขอบเขตทำให้พยาบาลวิชาชีพมีความคับข้องใจและไม่มั่นใจในการทำงานพยาบาลวิชาชีพรับรู้บทบาทหน้าที่ของตนและต้องการให้งานการพยาบาลเป็นไปตามขอบเขตที่กำหนด แต่ด้วยความจำเป็นด้านบุคลากร ทำให้พยาบาลวิชาชีพต้องปฏิบัติหน้าที่ด้านการรักษาต่อไป ในการปฏิบัติบทบาทด้านการบริหารงานพบว่า พยาบาลวิชาชีพมีบทบาทเป็นผู้นำในการบริหารงาน มีส่วนร่วมหรือเป็นผู้ประสานงานด้านการบริหาร และการบริหารงานในโครงการเฉพาะกิจ ภาระงานที่มีปริมาณมากเกินขีดความสามารถ ประกอบกับเวลาที่จำกัดทำให้พยาบาลวิชาชีพรู้สึกไม่มีเวลาในการพักผ่อน อีกทั้งการได้รับมอบหมายงานที่ไม่มีความสนใจ ทำให้ไม่มีความกระตือรือร้นในการปฏิบัติงาน การทำงานไม่ครบถ้วนสมบูรณ์และขาดประสิทธิภาพ อนึ่งภาระงานที่เหมาะสมจะเป็นการท้าทายความสามารถและก่อให้เกิดการพัฒนาความสามารถได้ ทางด้านการปฏิบัติบทบาทด้านวิชาการพบว่า พยาบาลวิชาชีพรับรู้ว่าตนปฏิบัติบทบาทด้านวิชาการแก่ผู้รับบริการอย่างสม่ำเสมอ โดยเฉพาะการให้ความรู้เป็นรายบุคคลแก่ผู้รับบริการในแผนกที่ตนปฏิบัติงานอยู่ แต่การปฏิบัติบทบาทด้านวิชาการในหน่วยงานมีน้อย เนื่องจากนโยบายด้านวิชาการของหน่วยงานไม่ชัดเจน ขาดการสนับสนุนให้มีการพัฒนาตนเอง ซึ่งพยาบาลวิชาชีพมีความต้องการพัฒนาตนเองอยู่เสมอและพยายามที่จะแสวงหาโอกาสการพัฒนาด้วยตนเอง แม้ว่าพยาบาลวิชาชีพจะมีความคับข้องใจที่ต้องปฏิบัติบทบาทเกินขอบเขตหน้าที่ แต่ก็จำเป็นต้องปฏิบัติ โดยมีมุมมองในเชิงบวกว่าเป็นเพราะหน่วยงานขาดแคลนบุคลากร อีกทั้งต้องการให้หน่วยงานเป็นที่ยอมรับของผู้รับบริการ พยาบาลวิชาชีพต้องการพัฒนาศักยภาพของตน เกี่ยวกับความรู้และทักษะด้านเวชปฏิบัติเพื่อนำมาใช้ในการปฏิบัติงานด้านการรักษา นอกจากนี้ได้เสนอแนะว่าการปฏิบัติงานด้านการรักษาโรค ควรมีการมอบหมายงานและกำหนดขอบเขตเป็นลายลักษณ์อักษร มีการควบคุมดูแลโดยแพทย์อย่างใกล้ชิดเพื่อไม่ให้เกิดข้อผิดพลาดในการปฏิบัติงาน Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23174 การปฏิบัติบทบาทของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชน = Role performance of professional nurse in community hospital [printed text] / อุษนันท์ อินทมาศน์, (2518-), Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546 . - ก-ฌ, 117 แผ่น : ตาราง ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-175-780-3 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]].--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2546
Languages : English (eng)
Descriptors: [LCSH]บทบาทที่คาดหวัง
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพ
[LCSH]วิชาชีพพยาบาล
[LCSH]โรงพยาบาลชุมชนKeywords: พยาบาลวิชาชีพ.
โรงพยาบาลชุมชน.
บทบาท.
หน้าที่.Class number: WY100 อ948 2546 Abstract: การวิจัยเชิงคุณภาพนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสบการณ์การปฏิบัติบทบาทของพยาบาลวิชาชีพ และศึกษาเงื่อนไขหรือปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติบทบาทของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชน โดยศึกษาในโรงพยาบาลชุมชน ขนาด 30 เตียง ในเขตภาคเหนือตอนล่าง จำนวน 1 แห่ง ใช้วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (Indepth interview) จากพยาบาลวิชาชีพที่มีประสบการณ์การปฏิบัติงาน 3 ปี ขึ้นไป จำนวน 16 คน แล้ววิเคราะห์เนื้อหาจากข้อมูลที่ได้ ผลการศึกษาพบว่า พยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชนมีการปฏิบัติบทบาทด้านการบริการสุขภาพประกอบด้วยบทบาทด้านการปฏิบัติการพยาบาล บทบาทด้านการบริหารจัดการ และบทบาทด้านวิชาการ ซึ่ง พยาบาลวิชาชีพมีการปฏิบัติหน้าที่เกินขอบเขตในเรื่องการรักษาโรค โดยพยาบาลวิชาชีพได้ให้บริการรักษานอกเวลาราชการแก่ผู้รับบริการที่เจ็บป่วยเล็กน้อยถึงรุนแรง การปฏิบัติบทบาทเกินขอบเขตทำให้พยาบาลวิชาชีพมีความคับข้องใจและไม่มั่นใจในการทำงานพยาบาลวิชาชีพรับรู้บทบาทหน้าที่ของตนและต้องการให้งานการพยาบาลเป็นไปตามขอบเขตที่กำหนด แต่ด้วยความจำเป็นด้านบุคลากร ทำให้พยาบาลวิชาชีพต้องปฏิบัติหน้าที่ด้านการรักษาต่อไป ในการปฏิบัติบทบาทด้านการบริหารงานพบว่า พยาบาลวิชาชีพมีบทบาทเป็นผู้นำในการบริหารงาน มีส่วนร่วมหรือเป็นผู้ประสานงานด้านการบริหาร และการบริหารงานในโครงการเฉพาะกิจ ภาระงานที่มีปริมาณมากเกินขีดความสามารถ ประกอบกับเวลาที่จำกัดทำให้พยาบาลวิชาชีพรู้สึกไม่มีเวลาในการพักผ่อน อีกทั้งการได้รับมอบหมายงานที่ไม่มีความสนใจ ทำให้ไม่มีความกระตือรือร้นในการปฏิบัติงาน การทำงานไม่ครบถ้วนสมบูรณ์และขาดประสิทธิภาพ อนึ่งภาระงานที่เหมาะสมจะเป็นการท้าทายความสามารถและก่อให้เกิดการพัฒนาความสามารถได้ ทางด้านการปฏิบัติบทบาทด้านวิชาการพบว่า พยาบาลวิชาชีพรับรู้ว่าตนปฏิบัติบทบาทด้านวิชาการแก่ผู้รับบริการอย่างสม่ำเสมอ โดยเฉพาะการให้ความรู้เป็นรายบุคคลแก่ผู้รับบริการในแผนกที่ตนปฏิบัติงานอยู่ แต่การปฏิบัติบทบาทด้านวิชาการในหน่วยงานมีน้อย เนื่องจากนโยบายด้านวิชาการของหน่วยงานไม่ชัดเจน ขาดการสนับสนุนให้มีการพัฒนาตนเอง ซึ่งพยาบาลวิชาชีพมีความต้องการพัฒนาตนเองอยู่เสมอและพยายามที่จะแสวงหาโอกาสการพัฒนาด้วยตนเอง แม้ว่าพยาบาลวิชาชีพจะมีความคับข้องใจที่ต้องปฏิบัติบทบาทเกินขอบเขตหน้าที่ แต่ก็จำเป็นต้องปฏิบัติ โดยมีมุมมองในเชิงบวกว่าเป็นเพราะหน่วยงานขาดแคลนบุคลากร อีกทั้งต้องการให้หน่วยงานเป็นที่ยอมรับของผู้รับบริการ พยาบาลวิชาชีพต้องการพัฒนาศักยภาพของตน เกี่ยวกับความรู้และทักษะด้านเวชปฏิบัติเพื่อนำมาใช้ในการปฏิบัติงานด้านการรักษา นอกจากนี้ได้เสนอแนะว่าการปฏิบัติงานด้านการรักษาโรค ควรมีการมอบหมายงานและกำหนดขอบเขตเป็นลายลักษณ์อักษร มีการควบคุมดูแลโดยแพทย์อย่างใกล้ชิดเพื่อไม่ให้เกิดข้อผิดพลาดในการปฏิบัติงาน Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23174 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000355493 WY100 อ948 2546 Thesis Main Library Thesis Corner Available การประยุกต์ใช้นวตกรรมการดูแลโรคเรื้อร้งขององค์การอนามัยโลก / นงนุช โอบะ in วารสารการพยาบาลและสุขภาพ, Vol.13 No.2 (Apr-Jun) 2019 ([11/14/2019])
[article]
Title : การประยุกต์ใช้นวตกรรมการดูแลโรคเรื้อร้งขององค์การอนามัยโลก : ตามบทบาทของพยาบาลวิชาชีพในระบบบริการปฐมภูมิ Material Type: printed text Authors: นงนุช โอบะ, Author Publication Date: 2019 Article on page: น.1-10 Languages : English (eng)
in วารสารการพยาบาลและสุขภาพ > Vol.13 No.2 (Apr-Jun) 2019 [11/14/2019] . - น.1-10Keywords: โรคเรื้อรังเป็นปัญหาที่สำคัญของสาธารณสุขทั่วโลกซึ่งรวมทั้งประเทศไทยด้วย การป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง การลดปัจจัยเสี่ยงของโรคได้อย่างมีประสิทธิภาพ พยาบาลวิชาชีพในระบบบริการปฐมภูมิเป็นทีมสุขภาพสำคัญที่ทำให้เกิดการป้องกันและควบคุมโรคเรื้องรังให้บรรลุตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ นวตกรรมการดูแลรักษาโรคเรื้อรังของอองค์การอนามัยโลก (WHO) เป็นรูปแบบการดูแลที่องค์การอนามัยโลกพัฒนาขึ้นเพื่อให้เหมาะสมกับบริบทของประเทศต่าง ๆ ซึ่งก่อให้เกิดผลลัพธิ์ทางสุขภาพที่ดีแก่ผู้ป่วยโรคเรื้อรังประกอบด้วย การจัดการดูแล 3 ระดับ ได้แก่ ระดับของผู้ป่วยและครอบครัว ระดับระบบริการสุขภาพและชุมชน และดับนโยบาย พยาบาลวิชาชีพในระบบริการปฐมภูมิสามารถประยุกต์ใช้นวตกรรมการดูแลโรคเรื้อรัง ประกอบด้วย 1) บทบาทในการสร้าเสริมการดูแลตนเอง แก่ผู้ป่วย โดยครอบครัวมีส่วนร่วม 2) บทบาทในการจัดระบบการบริการผู้ป่วยโรคเรื้อรังในสถานบริการและในชุมชน และ 3) บทบาทด้านการขับเคลื่อนนโยบาย ซึ่งทำให้การดำเนินการป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรังมีความครอบคลุมและเกิดผลลัพธ์ที่ดีแก่ผู้ใช้บริการ Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27916 [article] การประยุกต์ใช้นวตกรรมการดูแลโรคเรื้อร้งขององค์การอนามัยโลก : ตามบทบาทของพยาบาลวิชาชีพในระบบบริการปฐมภูมิ [printed text] / นงนุช โอบะ, Author . - 2019 . - น.1-10.
Languages : English (eng)
in วารสารการพยาบาลและสุขภาพ > Vol.13 No.2 (Apr-Jun) 2019 [11/14/2019] . - น.1-10Keywords: โรคเรื้อรังเป็นปัญหาที่สำคัญของสาธารณสุขทั่วโลกซึ่งรวมทั้งประเทศไทยด้วย การป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรัง การลดปัจจัยเสี่ยงของโรคได้อย่างมีประสิทธิภาพ พยาบาลวิชาชีพในระบบบริการปฐมภูมิเป็นทีมสุขภาพสำคัญที่ทำให้เกิดการป้องกันและควบคุมโรคเรื้องรังให้บรรลุตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ นวตกรรมการดูแลรักษาโรคเรื้อรังของอองค์การอนามัยโลก (WHO) เป็นรูปแบบการดูแลที่องค์การอนามัยโลกพัฒนาขึ้นเพื่อให้เหมาะสมกับบริบทของประเทศต่าง ๆ ซึ่งก่อให้เกิดผลลัพธิ์ทางสุขภาพที่ดีแก่ผู้ป่วยโรคเรื้อรังประกอบด้วย การจัดการดูแล 3 ระดับ ได้แก่ ระดับของผู้ป่วยและครอบครัว ระดับระบบริการสุขภาพและชุมชน และดับนโยบาย พยาบาลวิชาชีพในระบบริการปฐมภูมิสามารถประยุกต์ใช้นวตกรรมการดูแลโรคเรื้อรัง ประกอบด้วย 1) บทบาทในการสร้าเสริมการดูแลตนเอง แก่ผู้ป่วย โดยครอบครัวมีส่วนร่วม 2) บทบาทในการจัดระบบการบริการผู้ป่วยโรคเรื้อรังในสถานบริการและในชุมชน และ 3) บทบาทด้านการขับเคลื่อนนโยบาย ซึ่งทำให้การดำเนินการป้องกันและควบคุมโรคเรื้อรังมีความครอบคลุมและเกิดผลลัพธ์ที่ดีแก่ผู้ใช้บริการ Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27916 การประเมินหลักสูตรพยาบาลกู้ชีพของคณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์ / บุญทิวา สู่วิทย์ in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 ([09/07/2015])
[article]
Title : การประเมินหลักสูตรพยาบาลกู้ชีพของคณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์ : มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช Original title : An Evaluation of emergency medical service nursing course of Kuakarun Faculty of nursing Navamindradhiraj university Material Type: printed text Authors: บุญทิวา สู่วิทย์, Author ; เสาวลักษณ์ ทำมาก, Author ; นิรมนต์ เหลาสุภาพ, Author ; พิสมัย พิทักษาวราการ, Author Publication Date: 2015 Article on page: p.41-49 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 [09/07/2015] . - p.41-49Keywords: การประเมินหลักสูตร.พยาบาลกู้ชีพ.คณะพยาบาลศาสตร์ เกื้อการุณย์ Abstract: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อประเมินหลักสูตรพยาบาลกู้ชีพของคณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณยื มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช ในด้านบริบท ปัจจัยนำเข้า กระบวนการ และผลผลิต โดยกลุ่มตัวอย่างคือ ผู้เข้ารับการอบรมรุ่นทีี่ 1 และ 2 ในปี พ.ศ. 2557 จำนวน 62 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรพยาบาลกู้ชีพของคณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์ มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา (content validity) โดยคำนวณหาค่า IOC (Index of Item Objective Congruence) ได้ค่า = 0.67 -1 นำมาหาค่าความเชื่อมั่น (reliability) ของแบบสอบถาม โดยใช้สูตรสัมประสิทธิ์แอลฟา (Conbach's Alpha Coefficient) ได้ค่าความเชื่อมั่น = 0.81 ส่วนแบบวัดความรู้เกี่ยวกับการพยาบาลกู้ชีพเป็นข้อสอบแบบเลือกตอบนำมาคำนวณหาค่าความเชื่อมั่นโดยใช้สูตร KR-20 ของรุ่นที่ 1 และ 2 ได้ค่า = 0.57, 0.66 จากนั้นวิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสถิติ t-test แบบ dependent ผลการวิจัย พบว่า ความคิดเห็นต่อหลักสูตรพยาบาลกู้ชีพของผู้เข้ารับการอบรมรุ่นที่ 1 และ 2 ในปี พ.ศ. 2557 ทุกด้าน คือ ด้านบริบท ปัจจัยนำเข้า กระบวนการ และผลผลิต อยู่ในระดับมาก โดยกระบวนการ มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ค่า (Mean 4.69, SD 0.56) และ ค่า (Mean 4.54, SD 0.50) รองลงมาคือ ด้านบริบท (Mean 4.51, SD 047 และ Mean 4.36, SD 0.41) ผลผลิต (Mean 4.28, SD 0.55 และ Mean 4.33, SD 0.45) และปัจจัยนำเข้าตามลำดับ (Mean 3.97, SD 0.37 และ Mean 3.99, SD 0.45) สำหรับความรู้เกี่ยวกับการพยาบาลกู้ชีพพบว่า หลังการอบรมผู้เข้ารับการอบรมมีความรุ้เกี่ยวกับการพยาบาลกู้ชีพสูงกว่าก่อนเข้ารับการอบรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 อย่างไรก็ตามผู้เข้ารับการอบรมได้แนะว่า ควรเพิ่มระยะเวลาการอบรม ความรู้ และทัักษะการพยาบาลกู้ชีพในเด็ก ซึ่งผู้รับผิดชอบหลักสูตรควรนำมาเป็นแนวทางในการพัฒนาหลักสูตรให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นต่อไป Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24940 [article] การประเมินหลักสูตรพยาบาลกู้ชีพของคณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์ = An Evaluation of emergency medical service nursing course of Kuakarun Faculty of nursing Navamindradhiraj university : มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช [printed text] / บุญทิวา สู่วิทย์, Author ; เสาวลักษณ์ ทำมาก, Author ; นิรมนต์ เหลาสุภาพ, Author ; พิสมัย พิทักษาวราการ, Author . - 2015 . - p.41-49.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 [09/07/2015] . - p.41-49Keywords: การประเมินหลักสูตร.พยาบาลกู้ชีพ.คณะพยาบาลศาสตร์ เกื้อการุณย์ Abstract: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อประเมินหลักสูตรพยาบาลกู้ชีพของคณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณยื มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช ในด้านบริบท ปัจจัยนำเข้า กระบวนการ และผลผลิต โดยกลุ่มตัวอย่างคือ ผู้เข้ารับการอบรมรุ่นทีี่ 1 และ 2 ในปี พ.ศ. 2557 จำนวน 62 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรพยาบาลกู้ชีพของคณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์ มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา (content validity) โดยคำนวณหาค่า IOC (Index of Item Objective Congruence) ได้ค่า = 0.67 -1 นำมาหาค่าความเชื่อมั่น (reliability) ของแบบสอบถาม โดยใช้สูตรสัมประสิทธิ์แอลฟา (Conbach's Alpha Coefficient) ได้ค่าความเชื่อมั่น = 0.81 ส่วนแบบวัดความรู้เกี่ยวกับการพยาบาลกู้ชีพเป็นข้อสอบแบบเลือกตอบนำมาคำนวณหาค่าความเชื่อมั่นโดยใช้สูตร KR-20 ของรุ่นที่ 1 และ 2 ได้ค่า = 0.57, 0.66 จากนั้นวิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสถิติ t-test แบบ dependent ผลการวิจัย พบว่า ความคิดเห็นต่อหลักสูตรพยาบาลกู้ชีพของผู้เข้ารับการอบรมรุ่นที่ 1 และ 2 ในปี พ.ศ. 2557 ทุกด้าน คือ ด้านบริบท ปัจจัยนำเข้า กระบวนการ และผลผลิต อยู่ในระดับมาก โดยกระบวนการ มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ค่า (Mean 4.69, SD 0.56) และ ค่า (Mean 4.54, SD 0.50) รองลงมาคือ ด้านบริบท (Mean 4.51, SD 047 และ Mean 4.36, SD 0.41) ผลผลิต (Mean 4.28, SD 0.55 และ Mean 4.33, SD 0.45) และปัจจัยนำเข้าตามลำดับ (Mean 3.97, SD 0.37 และ Mean 3.99, SD 0.45) สำหรับความรู้เกี่ยวกับการพยาบาลกู้ชีพพบว่า หลังการอบรมผู้เข้ารับการอบรมมีความรุ้เกี่ยวกับการพยาบาลกู้ชีพสูงกว่าก่อนเข้ารับการอบรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 อย่างไรก็ตามผู้เข้ารับการอบรมได้แนะว่า ควรเพิ่มระยะเวลาการอบรม ความรู้ และทัักษะการพยาบาลกู้ชีพในเด็ก ซึ่งผู้รับผิดชอบหลักสูตรควรนำมาเป็นแนวทางในการพัฒนาหลักสูตรให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นต่อไป Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24940