From this page you can:
Home |
Search results
1 result(s) search for keyword(s) 'การประเมินหลักสูตร.พยาบาลกู้ชีพ.คณะพยาบาลศาสตร์ เกื้อการุณย์'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
การประเมินหลักสูตรพยาบาลกู้ชีพของคณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์ / บุญทิวา สู่วิทย์ in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 ([09/07/2015])
[article]
Title : การประเมินหลักสูตรพยาบาลกู้ชีพของคณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์ : มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช Original title : An Evaluation of emergency medical service nursing course of Kuakarun Faculty of nursing Navamindradhiraj university Material Type: printed text Authors: บุญทิวา สู่วิทย์, Author ; เสาวลักษณ์ ทำมาก, Author ; นิรมนต์ เหลาสุภาพ, Author ; พิสมัย พิทักษาวราการ, Author Publication Date: 2015 Article on page: p.41-49 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 [09/07/2015] . - p.41-49Keywords: การประเมินหลักสูตร.พยาบาลกู้ชีพ.คณะพยาบาลศาสตร์ เกื้อการุณย์ Abstract: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อประเมินหลักสูตรพยาบาลกู้ชีพของคณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณยื มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช ในด้านบริบท ปัจจัยนำเข้า กระบวนการ และผลผลิต โดยกลุ่มตัวอย่างคือ ผู้เข้ารับการอบรมรุ่นทีี่ 1 และ 2 ในปี พ.ศ. 2557 จำนวน 62 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรพยาบาลกู้ชีพของคณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์ มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา (content validity) โดยคำนวณหาค่า IOC (Index of Item Objective Congruence) ได้ค่า = 0.67 -1 นำมาหาค่าความเชื่อมั่น (reliability) ของแบบสอบถาม โดยใช้สูตรสัมประสิทธิ์แอลฟา (Conbach's Alpha Coefficient) ได้ค่าความเชื่อมั่น = 0.81 ส่วนแบบวัดความรู้เกี่ยวกับการพยาบาลกู้ชีพเป็นข้อสอบแบบเลือกตอบนำมาคำนวณหาค่าความเชื่อมั่นโดยใช้สูตร KR-20 ของรุ่นที่ 1 และ 2 ได้ค่า = 0.57, 0.66 จากนั้นวิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสถิติ t-test แบบ dependent ผลการวิจัย พบว่า ความคิดเห็นต่อหลักสูตรพยาบาลกู้ชีพของผู้เข้ารับการอบรมรุ่นที่ 1 และ 2 ในปี พ.ศ. 2557 ทุกด้าน คือ ด้านบริบท ปัจจัยนำเข้า กระบวนการ และผลผลิต อยู่ในระดับมาก โดยกระบวนการ มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ค่า (Mean 4.69, SD 0.56) และ ค่า (Mean 4.54, SD 0.50) รองลงมาคือ ด้านบริบท (Mean 4.51, SD 047 และ Mean 4.36, SD 0.41) ผลผลิต (Mean 4.28, SD 0.55 และ Mean 4.33, SD 0.45) และปัจจัยนำเข้าตามลำดับ (Mean 3.97, SD 0.37 และ Mean 3.99, SD 0.45) สำหรับความรู้เกี่ยวกับการพยาบาลกู้ชีพพบว่า หลังการอบรมผู้เข้ารับการอบรมมีความรุ้เกี่ยวกับการพยาบาลกู้ชีพสูงกว่าก่อนเข้ารับการอบรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 อย่างไรก็ตามผู้เข้ารับการอบรมได้แนะว่า ควรเพิ่มระยะเวลาการอบรม ความรู้ และทัักษะการพยาบาลกู้ชีพในเด็ก ซึ่งผู้รับผิดชอบหลักสูตรควรนำมาเป็นแนวทางในการพัฒนาหลักสูตรให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นต่อไป Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24940 [article] การประเมินหลักสูตรพยาบาลกู้ชีพของคณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์ = An Evaluation of emergency medical service nursing course of Kuakarun Faculty of nursing Navamindradhiraj university : มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช [printed text] / บุญทิวา สู่วิทย์, Author ; เสาวลักษณ์ ทำมาก, Author ; นิรมนต์ เหลาสุภาพ, Author ; พิสมัย พิทักษาวราการ, Author . - 2015 . - p.41-49.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 [09/07/2015] . - p.41-49Keywords: การประเมินหลักสูตร.พยาบาลกู้ชีพ.คณะพยาบาลศาสตร์ เกื้อการุณย์ Abstract: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อประเมินหลักสูตรพยาบาลกู้ชีพของคณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณยื มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช ในด้านบริบท ปัจจัยนำเข้า กระบวนการ และผลผลิต โดยกลุ่มตัวอย่างคือ ผู้เข้ารับการอบรมรุ่นทีี่ 1 และ 2 ในปี พ.ศ. 2557 จำนวน 62 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรพยาบาลกู้ชีพของคณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์ มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช ผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา (content validity) โดยคำนวณหาค่า IOC (Index of Item Objective Congruence) ได้ค่า = 0.67 -1 นำมาหาค่าความเชื่อมั่น (reliability) ของแบบสอบถาม โดยใช้สูตรสัมประสิทธิ์แอลฟา (Conbach's Alpha Coefficient) ได้ค่าความเชื่อมั่น = 0.81 ส่วนแบบวัดความรู้เกี่ยวกับการพยาบาลกู้ชีพเป็นข้อสอบแบบเลือกตอบนำมาคำนวณหาค่าความเชื่อมั่นโดยใช้สูตร KR-20 ของรุ่นที่ 1 และ 2 ได้ค่า = 0.57, 0.66 จากนั้นวิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสถิติ t-test แบบ dependent ผลการวิจัย พบว่า ความคิดเห็นต่อหลักสูตรพยาบาลกู้ชีพของผู้เข้ารับการอบรมรุ่นที่ 1 และ 2 ในปี พ.ศ. 2557 ทุกด้าน คือ ด้านบริบท ปัจจัยนำเข้า กระบวนการ และผลผลิต อยู่ในระดับมาก โดยกระบวนการ มีค่าเฉลี่ยสูงสุด ค่า (Mean 4.69, SD 0.56) และ ค่า (Mean 4.54, SD 0.50) รองลงมาคือ ด้านบริบท (Mean 4.51, SD 047 และ Mean 4.36, SD 0.41) ผลผลิต (Mean 4.28, SD 0.55 และ Mean 4.33, SD 0.45) และปัจจัยนำเข้าตามลำดับ (Mean 3.97, SD 0.37 และ Mean 3.99, SD 0.45) สำหรับความรู้เกี่ยวกับการพยาบาลกู้ชีพพบว่า หลังการอบรมผู้เข้ารับการอบรมมีความรุ้เกี่ยวกับการพยาบาลกู้ชีพสูงกว่าก่อนเข้ารับการอบรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 อย่างไรก็ตามผู้เข้ารับการอบรมได้แนะว่า ควรเพิ่มระยะเวลาการอบรม ความรู้ และทัักษะการพยาบาลกู้ชีพในเด็ก ซึ่งผู้รับผิดชอบหลักสูตรควรนำมาเป็นแนวทางในการพัฒนาหลักสูตรให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นต่อไป Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24940