From this page you can:
Home |
Search results
12 result(s) search for keyword(s) 'การประสานงาน, ประสิทธิผล'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
SIU IS-T. องค์ประกอบในการประสานงานที่มีผลต่อประสิทธิผลในการทำงานของเจ้าหน้าที่ที่ทำการปกครองอำเภอ จังหวัดสตูล / สายทิพย์ บุญวิโรจน์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : องค์ประกอบในการประสานงานที่มีผลต่อประสิทธิผลในการทำงานของเจ้าหน้าที่ที่ทำการปกครองอำเภอ จังหวัดสตูล Original title : Liaison Elements Influencing on Work Effectiveness of District Administrative Officers in Satul Province Material Type: printed text Authors: สายทิพย์ บุญวิโรจน์, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: vii, 62 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-25
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การประสานงาน
[LCSH]ที่ทำการปกครองอำเภอสตูล
[LCSH]เจ้าหน้าที่ที่ทำการปกครองอำเภอ -- การทำงานKeywords: การประสานงาน,
ประสิทธิผลAbstract: วัตถุประสงค์ของการศึกษาค้นคว้าอิสระในครั้งนี้เพื่อศึกษาระดับปัญหาขององค์ประกอบใน การประสานงานที่มีผลต่อประสิทธิผลในการทำงาน และหาแนวทางแก้ปัญหาในการประสานงานของเจ้าหน้าที่ที่ทำการปกครองอำเภอ จังหวัดสตูล กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ เจ้าหน้าที่ที่ทำการปกครองอำเภอ จังหวัดสตูล จำนวน 7 อำเภอ จำนวนทั้งสิ้น 132 คน ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล ใช้สถิติเชิงพรรณนาในการวิเคราะห์ข้อมูล
ผลการวิจัย พบว่า ในภาพรวมองค์ประกอบในการประสานงานมีอิทธิพลต่อประสิทธิผลในการทำงาน ของผู้ตอบแบบสอบถามมีความคิดเห็นทุกด้านอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นองค์ประกอบพบว่า องค์ประกอบที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ นโยบายอยู่ในระดับมาก ด้านบุคคลอยู่ในระดับมาก ด้านการดำเนินงานอยู่ในระดับมาก ผู้ตอบแบบสอบถามให้ข้อเสนอแนะแนวทางการประสานงานที่มีผลต่อประสิทธิผลในการทำงาน พบว่า ควรให้ความสำคัญต่อนโยบายการดำเนินงาน และการประสานนโยบายการดำเนินงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ด้านบุคคล ควรศึกษาการดำเนินงานให้เข้าใจและจัดประชุมร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อชี้แจงเป้าหมายของการดำเนินงาน จัดประชุมวางแผนการดำเนินงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และควรส่งหนังสือชี้แจงการดำเนินงานให้เจ้าหน้าที่และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบก่อนเริ่มดำเนินงานCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26906 SIU IS-T. องค์ประกอบในการประสานงานที่มีผลต่อประสิทธิผลในการทำงานของเจ้าหน้าที่ที่ทำการปกครองอำเภอ จังหวัดสตูล = Liaison Elements Influencing on Work Effectiveness of District Administrative Officers in Satul Province [printed text] / สายทิพย์ บุญวิโรจน์, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - vii, 62 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-25
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การประสานงาน
[LCSH]ที่ทำการปกครองอำเภอสตูล
[LCSH]เจ้าหน้าที่ที่ทำการปกครองอำเภอ -- การทำงานKeywords: การประสานงาน,
ประสิทธิผลAbstract: วัตถุประสงค์ของการศึกษาค้นคว้าอิสระในครั้งนี้เพื่อศึกษาระดับปัญหาขององค์ประกอบใน การประสานงานที่มีผลต่อประสิทธิผลในการทำงาน และหาแนวทางแก้ปัญหาในการประสานงานของเจ้าหน้าที่ที่ทำการปกครองอำเภอ จังหวัดสตูล กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ เจ้าหน้าที่ที่ทำการปกครองอำเภอ จังหวัดสตูล จำนวน 7 อำเภอ จำนวนทั้งสิ้น 132 คน ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล ใช้สถิติเชิงพรรณนาในการวิเคราะห์ข้อมูล
ผลการวิจัย พบว่า ในภาพรวมองค์ประกอบในการประสานงานมีอิทธิพลต่อประสิทธิผลในการทำงาน ของผู้ตอบแบบสอบถามมีความคิดเห็นทุกด้านอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นองค์ประกอบพบว่า องค์ประกอบที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ นโยบายอยู่ในระดับมาก ด้านบุคคลอยู่ในระดับมาก ด้านการดำเนินงานอยู่ในระดับมาก ผู้ตอบแบบสอบถามให้ข้อเสนอแนะแนวทางการประสานงานที่มีผลต่อประสิทธิผลในการทำงาน พบว่า ควรให้ความสำคัญต่อนโยบายการดำเนินงาน และการประสานนโยบายการดำเนินงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ด้านบุคคล ควรศึกษาการดำเนินงานให้เข้าใจและจัดประชุมร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อชี้แจงเป้าหมายของการดำเนินงาน จัดประชุมวางแผนการดำเนินงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และควรส่งหนังสือชี้แจงการดำเนินงานให้เจ้าหน้าที่และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบก่อนเริ่มดำเนินงานCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26906 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000593937 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-25 c.1 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000593960 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-25 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available SIU IS-T. บทบาทในการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดของเจ้าหน้าที่ตำรวจภูธรจังหวัดชุมพร / บุญเกื้อ พูลชัย / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU IS-T Title : บทบาทในการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดของเจ้าหน้าที่ตำรวจภูธรจังหวัดชุมพร Original title : The Roles in Drug Prevention and Suppression of Police Officers in Chumphon Material Type: printed text Authors: บุญเกื้อ พูลชัย, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; สมพร เพชรสงค์, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: ix, 77 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-35
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ความร่วมมือ
[LCSH]ยาเสพติด -- การป้องกัน -- ชุมพรKeywords: การจัดระบบสายตรวจ,
การประสานงานระหว่างภาครัฐและเอกชน,
การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด,
ความร่วมมือจากประชาชนAbstract: การวิจัยครั้งนี้ศึกษาและเปรียบเทียบบทบาทในการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดของเจ้าหน้าที่ตำรวจภูธรจังหวัดชุมพรจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลกลุ่มตัวอย่างที่ใช้คือข้าราชการตำรวจในสถานีตำรวจภูธรจังหวัดชุมพรจำนวน 171 คนใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูลใช้สถิติเชิงพรรณาในการวิเคราะห์ข้อมูลประชากรศาสตร์และพฤติกรรมของผู้ตอบแบบสอบถาม และใช้สถิติเชิงอนุมานโดยการทดสอบค่าที (t-test) และค่า F-test ในการวิเคราะห์ตัวแปรและทดสอบสมมติฐาน ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05
ผลการวิจัยพบว่าบทบาทในการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดของเจ้าหน้าที่ตำรวจภูธรจังหวัดชุมพรอยู่ในระดับปานกลางที่ค่าเฉลี่ย (x̄ = 3.20) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านของบทบาทในการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดของเจ้าหน้าที่ตำรวจการจัดระบบสายตรวจพบว่าการแสวงหาความร่วมมือมีมากสุด ตามด้วยการประสานงานระหว่างภาครัฐและเอกชนการสืบสวนจับกุมและการสอบสวนรวบรวมพยานหลักฐานตามลำดับ ผลการเปรียบเทียบบทบาทในการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดของเจ้าหน้าที่ตำรวจภูธรจังหวัดชุมพรจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลพบว่าเจ้าหน้าที่ตำรวจที่มีปัจจัยส่วนบุคคลแตกต่างกันมีบทบาทในการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดไม่แตกต่างกันCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27145 SIU IS-T. บทบาทในการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดของเจ้าหน้าที่ตำรวจภูธรจังหวัดชุมพร = The Roles in Drug Prevention and Suppression of Police Officers in Chumphon [printed text] / บุญเกื้อ พูลชัย, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; สมพร เพชรสงค์, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - ix, 77 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-35
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ความร่วมมือ
[LCSH]ยาเสพติด -- การป้องกัน -- ชุมพรKeywords: การจัดระบบสายตรวจ,
การประสานงานระหว่างภาครัฐและเอกชน,
การป้องกันและปราบปรามยาเสพติด,
ความร่วมมือจากประชาชนAbstract: การวิจัยครั้งนี้ศึกษาและเปรียบเทียบบทบาทในการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดของเจ้าหน้าที่ตำรวจภูธรจังหวัดชุมพรจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลกลุ่มตัวอย่างที่ใช้คือข้าราชการตำรวจในสถานีตำรวจภูธรจังหวัดชุมพรจำนวน 171 คนใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูลใช้สถิติเชิงพรรณาในการวิเคราะห์ข้อมูลประชากรศาสตร์และพฤติกรรมของผู้ตอบแบบสอบถาม และใช้สถิติเชิงอนุมานโดยการทดสอบค่าที (t-test) และค่า F-test ในการวิเคราะห์ตัวแปรและทดสอบสมมติฐาน ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05
ผลการวิจัยพบว่าบทบาทในการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดของเจ้าหน้าที่ตำรวจภูธรจังหวัดชุมพรอยู่ในระดับปานกลางที่ค่าเฉลี่ย (x̄ = 3.20) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านของบทบาทในการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดของเจ้าหน้าที่ตำรวจการจัดระบบสายตรวจพบว่าการแสวงหาความร่วมมือมีมากสุด ตามด้วยการประสานงานระหว่างภาครัฐและเอกชนการสืบสวนจับกุมและการสอบสวนรวบรวมพยานหลักฐานตามลำดับ ผลการเปรียบเทียบบทบาทในการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดของเจ้าหน้าที่ตำรวจภูธรจังหวัดชุมพรจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคลพบว่าเจ้าหน้าที่ตำรวจที่มีปัจจัยส่วนบุคคลแตกต่างกันมีบทบาทในการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดไม่แตกต่างกันCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27145 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000594307 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-35 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000594315 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-35 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. ประสิทธิผลการดำเนินงานเพื่อเป็นองค์การสมรรถนะสูงของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาล / ปกิต มูลเพ็ญ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2020
Collection Title: SIU THE-T Title : ประสิทธิผลการดำเนินงานเพื่อเป็นองค์การสมรรถนะสูงของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาล Original title : Effectiveness of Operational for Enhancing High Performance Organization of Patrol and Special Operation, Metropolitan Police Bureau Material Type: printed text Authors: ปกิต มูลเพ็ญ, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2020 Pagination: x, 259 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-22
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ
[LCSH]การจัดองค์การ
[LCSH]ประสิทธิผลองค์การKeywords: ประสิทธิผลการดำเนินงาน, องค์การสมรรถนะสูง, กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ Abstract: การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านการบริหารองค์การสมัยใหม่ ลักษณะเฉพาะองค์การสมรรถนะสูง และภาวะผู้นำองค์การสมัยใหม่ของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาลกับคุณภาพการบริหารจัดการองค์การ ตามหลักเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) 2) ศึกษาปัจจัยการบริหารจัดการองค์สมัยใหม่ ภาวะผู้นำ และลักษณะเฉพาะองค์การสมรรถนะสูง ที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการดำเนินงานเพื่อเป็นองค์การสมรรถนะสูงของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาล และ 3) ศึกษาแนวทางในการกำหนดกลยุทธ์การดำเนินงานเพื่อเป็นองค์การสมรรถนะสูงของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาล การวิจัยครั้งนี้ใช้วิธีการวิจัยแบบผสานวิธี ด้วยเทคนิควิธีการเชิงปริมาณกลุ่มตัวอย่างจำนวน 310 ตัวอย่าง และเชิงคุณภาพผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จำนวน 7 ท่าน ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถาม เลือกใช้สถิติแบบอธิบาย และแบบอ้างอิงในการวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูล กล่าวคือ ค่าความถี่ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) สถิติแบบอ้างอิง สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การทดสอบค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตราฐาน และการวิเคราะห์การถดถอยพหูคูณ
ผลการศึกษา พบว่า ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านการบริหารองค์การสมัยใหม่ ลักษณะเฉพาะองค์การสมรรถนะสูง และภาวะผู้นำองค์การสมัยใหม่ของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาลกับคุณภาพการบริหารจัดการองค์การ ตามหลักเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) โดยผลการศึกษานี้สอดคล้องกับผลงานวิจัยที่พบว่า การเป็นองค์การสมรรถนะสูงนั้นจะประกอบด้วยปัจจัยด้านกลยุทธ์ขององค์การ ปัจจัยด้านภาวะผู้นำ และปัจจัยด้านบุคลากรที่มีคุณภาพ การพัฒนาบุคลากรทุกระดับให้มีความรู้ความเชี่ยวชาญ การมีโครงสร้างองค์การที่ยืดหยุ่น รวมถึงมีนำเทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการปฏิบัติงาน และปัจจัยด้านการบริหารอื่น ๆ และการศึกษาปัจจัยการบริหารจัดการองค์สมัยใหม่ ภาวะผู้นำ และลักษณะเฉพาะองค์การสมรรถนะสูง ที่ส่งผลต่อการดำเนินงานเพื่อเป็นองค์การสมรรถนะสูงของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาล โดยผลการศึกษานี้สอดคล้องกับผลงานวิจัยที่พบว่า การอำนวยการ กลยุทธ์ โครงสร้างองค์การ รูปแบบบริหารหรือการควบคุม การประสานงานหรือการสร้างทีม ทักษะบุคลากร ระบบปฏิบัติการ ค่านิยมร่วม ภาวะผู้นำ รวมถึงปัจจัยด้านการบริหารอื่น ๆ ส่งผลต่อการดำเนินงานเพื่อเป็นองค์การสมรรถนะสูง และการศึกษาสามารถบรรลุวัตถุประสงค์แนวทางในการกำหนดกลยุทธ์การดำเนินงานเพื่อเป็นองค์การสมรรถนะสูงของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาลCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28104 SIU THE-T. ประสิทธิผลการดำเนินงานเพื่อเป็นองค์การสมรรถนะสูงของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาล = Effectiveness of Operational for Enhancing High Performance Organization of Patrol and Special Operation, Metropolitan Police Bureau [printed text] / ปกิต มูลเพ็ญ, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020 . - x, 259 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-22
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ
[LCSH]การจัดองค์การ
[LCSH]ประสิทธิผลองค์การKeywords: ประสิทธิผลการดำเนินงาน, องค์การสมรรถนะสูง, กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ Abstract: การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านการบริหารองค์การสมัยใหม่ ลักษณะเฉพาะองค์การสมรรถนะสูง และภาวะผู้นำองค์การสมัยใหม่ของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาลกับคุณภาพการบริหารจัดการองค์การ ตามหลักเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) 2) ศึกษาปัจจัยการบริหารจัดการองค์สมัยใหม่ ภาวะผู้นำ และลักษณะเฉพาะองค์การสมรรถนะสูง ที่ส่งผลต่อประสิทธิผลการดำเนินงานเพื่อเป็นองค์การสมรรถนะสูงของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาล และ 3) ศึกษาแนวทางในการกำหนดกลยุทธ์การดำเนินงานเพื่อเป็นองค์การสมรรถนะสูงของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาล การวิจัยครั้งนี้ใช้วิธีการวิจัยแบบผสานวิธี ด้วยเทคนิควิธีการเชิงปริมาณกลุ่มตัวอย่างจำนวน 310 ตัวอย่าง และเชิงคุณภาพผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จำนวน 7 ท่าน ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถาม เลือกใช้สถิติแบบอธิบาย และแบบอ้างอิงในการวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูล กล่าวคือ ค่าความถี่ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) สถิติแบบอ้างอิง สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การทดสอบค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตราฐาน และการวิเคราะห์การถดถอยพหูคูณ
ผลการศึกษา พบว่า ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านการบริหารองค์การสมัยใหม่ ลักษณะเฉพาะองค์การสมรรถนะสูง และภาวะผู้นำองค์การสมัยใหม่ของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาลกับคุณภาพการบริหารจัดการองค์การ ตามหลักเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) โดยผลการศึกษานี้สอดคล้องกับผลงานวิจัยที่พบว่า การเป็นองค์การสมรรถนะสูงนั้นจะประกอบด้วยปัจจัยด้านกลยุทธ์ขององค์การ ปัจจัยด้านภาวะผู้นำ และปัจจัยด้านบุคลากรที่มีคุณภาพ การพัฒนาบุคลากรทุกระดับให้มีความรู้ความเชี่ยวชาญ การมีโครงสร้างองค์การที่ยืดหยุ่น รวมถึงมีนำเทคโนโลยีเข้ามาช่วยในการปฏิบัติงาน และปัจจัยด้านการบริหารอื่น ๆ และการศึกษาปัจจัยการบริหารจัดการองค์สมัยใหม่ ภาวะผู้นำ และลักษณะเฉพาะองค์การสมรรถนะสูง ที่ส่งผลต่อการดำเนินงานเพื่อเป็นองค์การสมรรถนะสูงของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาล โดยผลการศึกษานี้สอดคล้องกับผลงานวิจัยที่พบว่า การอำนวยการ กลยุทธ์ โครงสร้างองค์การ รูปแบบบริหารหรือการควบคุม การประสานงานหรือการสร้างทีม ทักษะบุคลากร ระบบปฏิบัติการ ค่านิยมร่วม ภาวะผู้นำ รวมถึงปัจจัยด้านการบริหารอื่น ๆ ส่งผลต่อการดำเนินงานเพื่อเป็นองค์การสมรรถนะสูง และการศึกษาสามารถบรรลุวัตถุประสงค์แนวทางในการกำหนดกลยุทธ์การดำเนินงานเพื่อเป็นองค์การสมรรถนะสูงของกองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาลCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28104 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607335 SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-22 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available 32002000607333 SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-22 c.2 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. ประสิทธิผลของการบริหารกิจการคณะสงฆ์ / พระสมบัติ (ธมฺมิโก) สุขทวีเลิศพงศ์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU THE-T Title : ประสิทธิผลของการบริหารกิจการคณะสงฆ์ Original title : The Effectiveness of the Sangha Administration Material Type: printed text Authors: พระสมบัติ (ธมฺมิโก) สุขทวีเลิศพงศ์, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; สมชาย รัตนโกมุท, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: x, 193 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2017-02
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]คณะสงฆ์ -- การบริหาร
[LCSH]ประสิทธิผลองค์การ -- การศึกษาเฉพาะกรณี
[LCSH]ภาวะผู้นำKeywords: ประสิทธิผล,
การบริหาร,
กิจการคณะสงฆ์Abstract: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาประสิทธิผลของการบริหารกิจการคณะสงฆ์ของคณะสงฆ์ เป็นกรณีศึกษาวัดในเขตจังหวัดนครปฐม 6 ด้าน โดยเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างพระสังฆาธิการจำนวน 400 รูป จากประชากรพระสังฆาธิการจำนวน 1,273 รูป ผลการวิจัยพบว่าพระสังฆาธิการส่วนใหญ่มี อายุ 41 – 50 ปี มีพรรษา 21 – 30 พรรษา จบปริญญาตรีหรือเทียบเท่า จบนักธรรมชั้นเอกและไม่มีวุฒิทางเปรียญธรรม ประสิทธิผลของการบริหารกิจการคณะสงฆ์พบว่าอยู่ในระดับมากในทุกด้านซึ่งได้แก่ ด้านงานสาธารณูปการ ด้านงานการปกครอง ด้านงานศึกษาสงเคราะห์ ด้านงานศาสนศึกษา ด้านงานเผยแผ่ศาสนธรรมและด้านงานสาธารณสงเคราะห์
ผลการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ สรุปได้ว่า ปัจจัยที่ส่งผลให้เกิดประสิทธิผลของการบริหารกิจการคณะสงฆ์ มากที่สุดโดยลำดับได้แก่ ภาวะผู้นำของเจ้าอาวาส คุณภาพการบริหาร และการมีส่วนร่วมสนับสนุนตามลำดับ โดยมีสมการพยากรณ์ Ŷ = A 0.759 + 0.429X1 + 0.421X2+ 0.418X3 ค่า R Square = 0.761
การวิจัยนี้ ได้ค้นพบทฤษฎีสำคัญที่ส่งผลให้เกิดประสิทธิผลการบริหารกิจการคณะสงฆ์ คือ ทฤษฎีภาวะผู้นำ ทฤษฎีการบริหารและทฤษฎีการมีส่วนร่วมและได้สะท้อนให้เห็นว่าวัดยังมีการบริหารงานตามทฤษฎีองค์การในระบบปิดเพราะประสิทธิผลของการบริหารกิจการคณะสงฆ์ยังขึ้นอยู่กับภาวะผู้นำของเจ้าอาวาสเป็นหลักจึงควรที่จะเปิดการบริหารกิจการวัดให้มีผู้มีส่วนร่วมสนับสนุนจากสภาพแวดล้อมภายนอกตามทฤษฎีองค์การระบบเปิดให้มากยิ่งขึ้นและมีการปรับโครงสร้างการแบ่งงานของการบริหารวัดให้มีรองเจ้าอาวาสหรือผู้ช่วยเจ้าอาวาสผู้รับผิดชอบในด้านต่างๆและมีคณะสงฆ์ปฏิบัติหน้าที่รองรับในแต่ละด้านอย่างเป็นระบบตามหลักการจัดองค์การที่ยึดหลักกฎหมายและเหตุผลCurricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26628 SIU THE-T. ประสิทธิผลของการบริหารกิจการคณะสงฆ์ = The Effectiveness of the Sangha Administration [printed text] / พระสมบัติ (ธมฺมิโก) สุขทวีเลิศพงศ์, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; สมชาย รัตนโกมุท, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - x, 193 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU THE-T: IPAG-DPA-2017-02
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]คณะสงฆ์ -- การบริหาร
[LCSH]ประสิทธิผลองค์การ -- การศึกษาเฉพาะกรณี
[LCSH]ภาวะผู้นำKeywords: ประสิทธิผล,
การบริหาร,
กิจการคณะสงฆ์Abstract: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาประสิทธิผลของการบริหารกิจการคณะสงฆ์ของคณะสงฆ์ เป็นกรณีศึกษาวัดในเขตจังหวัดนครปฐม 6 ด้าน โดยเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างพระสังฆาธิการจำนวน 400 รูป จากประชากรพระสังฆาธิการจำนวน 1,273 รูป ผลการวิจัยพบว่าพระสังฆาธิการส่วนใหญ่มี อายุ 41 – 50 ปี มีพรรษา 21 – 30 พรรษา จบปริญญาตรีหรือเทียบเท่า จบนักธรรมชั้นเอกและไม่มีวุฒิทางเปรียญธรรม ประสิทธิผลของการบริหารกิจการคณะสงฆ์พบว่าอยู่ในระดับมากในทุกด้านซึ่งได้แก่ ด้านงานสาธารณูปการ ด้านงานการปกครอง ด้านงานศึกษาสงเคราะห์ ด้านงานศาสนศึกษา ด้านงานเผยแผ่ศาสนธรรมและด้านงานสาธารณสงเคราะห์
ผลการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ สรุปได้ว่า ปัจจัยที่ส่งผลให้เกิดประสิทธิผลของการบริหารกิจการคณะสงฆ์ มากที่สุดโดยลำดับได้แก่ ภาวะผู้นำของเจ้าอาวาส คุณภาพการบริหาร และการมีส่วนร่วมสนับสนุนตามลำดับ โดยมีสมการพยากรณ์ Ŷ = A 0.759 + 0.429X1 + 0.421X2+ 0.418X3 ค่า R Square = 0.761
การวิจัยนี้ ได้ค้นพบทฤษฎีสำคัญที่ส่งผลให้เกิดประสิทธิผลการบริหารกิจการคณะสงฆ์ คือ ทฤษฎีภาวะผู้นำ ทฤษฎีการบริหารและทฤษฎีการมีส่วนร่วมและได้สะท้อนให้เห็นว่าวัดยังมีการบริหารงานตามทฤษฎีองค์การในระบบปิดเพราะประสิทธิผลของการบริหารกิจการคณะสงฆ์ยังขึ้นอยู่กับภาวะผู้นำของเจ้าอาวาสเป็นหลักจึงควรที่จะเปิดการบริหารกิจการวัดให้มีผู้มีส่วนร่วมสนับสนุนจากสภาพแวดล้อมภายนอกตามทฤษฎีองค์การระบบเปิดให้มากยิ่งขึ้นและมีการปรับโครงสร้างการแบ่งงานของการบริหารวัดให้มีรองเจ้าอาวาสหรือผู้ช่วยเจ้าอาวาสผู้รับผิดชอบในด้านต่างๆและมีคณะสงฆ์ปฏิบัติหน้าที่รองรับในแต่ละด้านอย่างเป็นระบบตามหลักการจัดองค์การที่ยึดหลักกฎหมายและเหตุผลCurricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26628 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000592814 SIU THE-T: IPAG-DPA-2017-02 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000592848 SIU THE-T: IPAG-DPA-2017-02 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิผลในการควบคุมฝูงชนของเจ้าหน้าที่ตำรวจ กองบังคับการสืบสวนสอบสวนตำรวจภูธร ภาค 8 / ไพรวัลย์ ทิพย์พิมล / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU IS-T Title : ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิผลในการควบคุมฝูงชนของเจ้าหน้าที่ตำรวจ กองบังคับการสืบสวนสอบสวนตำรวจภูธร ภาค 8 Original title : Factors Influence on the Efficiency of Crowd Control of Police Officers at Investigation Police Sub-Division, 8th Region Material Type: printed text Authors: ไพรวัลย์ ทิพย์พิมล, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; สมพร เพชรสงค์, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: vii, 72 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-30
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ตำรวจ -- การทำงาน
[LCSH]ฝูงชน -- การควบคุมKeywords: ประสิทธิผลในการควบคุมฝูงชนของเจ้าหน้าที่ตำรวจ Abstract: การศึกษาครั้งนี้เพื่อศึกษาระดับปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิผลในการควบคุมฝูงชนของเจ้าหน้าที่ตำรวจ 2) เปรียบเทียบปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิผลในการควบคุมฝูงชนของเจ้าหน้าที่ตำรวจ จำแนกตามอายุ ระดับการศึกษา ระดับชั้นยศ ประสบการณ์การทำงาน กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ข้าราชการตำรวจ กองบังคับการสืบสวนสอบสวนตำรวจภูธร ภาค 8 จำนวน 155 นาย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามแบบมาตรประมาณค่า สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบค่าที (t-test) ค่าเอฟ (F-test) และความแปรปรวนทางเดียว (One-Way Anova) เปรียบเทียบรายคู่ด้วยวิธีการของ LSD (LSD post hoc comparison)
ผลการวิจัยพบว่า โดยภาพรวมระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับมากทุกด้าน เรียงลำดับจากมากไปหาน้อย คือ 1) ด้านโครงสร้างหน่วยงาน 2) ด้านกฎหมาย มาตรการ และนโยบาย 3) ด้านบุคลากร 4) ด้านอาวุธ ยุทโธปกรณ์และเครื่องมือ เครื่องใช้ เมื่อเปรียบเทียบระดับปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิผลในการควบคุมฝูงชนของเจ้าหน้าที่ตำรวจ จำแนกตามระดับชั้นยศ โดยภาพรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน จำแนกตามอายุ โดยภาพรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน จำแนกตามระดับการศึกษา พบว่า โดยรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านอาวุธ ยุทโธปกรณ์และเครื่องมือ เครื่องใช้แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สำหรับด้านอื่นๆ พบว่า ไม่แตกต่างกัน จำแนกตามประสบการณ์การทำงาน พบว่า โดยรวมและรายด้านไม่แตกต่างกันเมื่อทำการทดสอบรายคู่ พบว่า ด้านอาวุธ ยุทโธปกรณ์และเครื่องมือ เครื่องใช้ ที่มีระดับการศึกษาต่างกัน พบว่า ระดับการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรี มีประสิทธิผลในการควบคุมฝูงชนของเจ้าหน้าที่ตำรวจมากกว่าระดับการศึกษาปริญญาโทหรือสูงกว่า
Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26950 SIU IS-T. ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิผลในการควบคุมฝูงชนของเจ้าหน้าที่ตำรวจ กองบังคับการสืบสวนสอบสวนตำรวจภูธร ภาค 8 = Factors Influence on the Efficiency of Crowd Control of Police Officers at Investigation Police Sub-Division, 8th Region [printed text] / ไพรวัลย์ ทิพย์พิมล, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; สมพร เพชรสงค์, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - vii, 72 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-30
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ตำรวจ -- การทำงาน
[LCSH]ฝูงชน -- การควบคุมKeywords: ประสิทธิผลในการควบคุมฝูงชนของเจ้าหน้าที่ตำรวจ Abstract: การศึกษาครั้งนี้เพื่อศึกษาระดับปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิผลในการควบคุมฝูงชนของเจ้าหน้าที่ตำรวจ 2) เปรียบเทียบปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิผลในการควบคุมฝูงชนของเจ้าหน้าที่ตำรวจ จำแนกตามอายุ ระดับการศึกษา ระดับชั้นยศ ประสบการณ์การทำงาน กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ข้าราชการตำรวจ กองบังคับการสืบสวนสอบสวนตำรวจภูธร ภาค 8 จำนวน 155 นาย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามแบบมาตรประมาณค่า สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบค่าที (t-test) ค่าเอฟ (F-test) และความแปรปรวนทางเดียว (One-Way Anova) เปรียบเทียบรายคู่ด้วยวิธีการของ LSD (LSD post hoc comparison)
ผลการวิจัยพบว่า โดยภาพรวมระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับมากทุกด้าน เรียงลำดับจากมากไปหาน้อย คือ 1) ด้านโครงสร้างหน่วยงาน 2) ด้านกฎหมาย มาตรการ และนโยบาย 3) ด้านบุคลากร 4) ด้านอาวุธ ยุทโธปกรณ์และเครื่องมือ เครื่องใช้ เมื่อเปรียบเทียบระดับปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิผลในการควบคุมฝูงชนของเจ้าหน้าที่ตำรวจ จำแนกตามระดับชั้นยศ โดยภาพรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน จำแนกตามอายุ โดยภาพรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน จำแนกตามระดับการศึกษา พบว่า โดยรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านอาวุธ ยุทโธปกรณ์และเครื่องมือ เครื่องใช้แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สำหรับด้านอื่นๆ พบว่า ไม่แตกต่างกัน จำแนกตามประสบการณ์การทำงาน พบว่า โดยรวมและรายด้านไม่แตกต่างกันเมื่อทำการทดสอบรายคู่ พบว่า ด้านอาวุธ ยุทโธปกรณ์และเครื่องมือ เครื่องใช้ ที่มีระดับการศึกษาต่างกัน พบว่า ระดับการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรี มีประสิทธิผลในการควบคุมฝูงชนของเจ้าหน้าที่ตำรวจมากกว่าระดับการศึกษาปริญญาโทหรือสูงกว่า
Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26950 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000594232 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-30 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000594240 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-30 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available การจูงใจที่เป็นเลิศ / สปิทเซอร์ ดีน อาร์ / กรุงเทพฯ : สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ - 2551
Title : การจูงใจที่เป็นเลิศ Original title : Supermotivation Material Type: printed text Authors: สปิทเซอร์ ดีน อาร์, Author ; Spitzer Dean R., Author ; ยุทธนา ไชยจูกุล Publisher: กรุงเทพฯ : สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ Publication Date: 2551 Pagination: 221 หน้า Layout: ภาพประกอบ ISBN (or other code): 97808144202863 Price: 350.00 General note: แปลจาก Supermotivation: a blueprint for energizing your organization from top to bottom. Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การจูงใจในการทำงาน
[LCSH]ประสิทธิผลองค์การKeywords: ประสิทธิผลองค์การ, การจูงใจในการทำงาน Class number: HF5549.5.M63 Abstract: แปลจาก Supermotivation: a blueprint for energizing your organization from top to bottom. Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=22774 การจูงใจที่เป็นเลิศ = Supermotivation [printed text] / สปิทเซอร์ ดีน อาร์, Author ; Spitzer Dean R., Author ; ยุทธนา ไชยจูกุล . - กรุงเทพฯ : สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 2551 . - 221 หน้า : ภาพประกอบ.
ISSN : 97808144202863 : 350.00
แปลจาก Supermotivation: a blueprint for energizing your organization from top to bottom.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การจูงใจในการทำงาน
[LCSH]ประสิทธิผลองค์การKeywords: ประสิทธิผลองค์การ, การจูงใจในการทำงาน Class number: HF5549.5.M63 Abstract: แปลจาก Supermotivation: a blueprint for energizing your organization from top to bottom. Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=22774 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000369916 HF5549.5 ส223 2551 Book Main Library General Shelf Available การศึกษาตัวชี้วัดประสิทธิผลขององค์การพยาบาล / ศิรินภา ชี้ทางให้ / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2543
Title : การศึกษาตัวชี้วัดประสิทธิผลขององค์การพยาบาล Original title : A study of indicators of nursing organization effectiveness Material Type: printed text Authors: ศิรินภา ชี้ทางให้, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2543 Pagination: ฌ, 183 แผ่น Layout: ตาราง Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974130-100-6 Price: บริจาค General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม. [การบริหารการพยาบาล]]-จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2543 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]Health services administration
[LCSH]ประสิทธิผลองค์กร
[LCSH]องค์การ, ประสิทธิผลKeywords: ประสิทธิผลองค์กร.
ตัวชี้วัด.
การพยาบาล.Class number: W84.1 ศ837 2543 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23118 การศึกษาตัวชี้วัดประสิทธิผลขององค์การพยาบาล = A study of indicators of nursing organization effectiveness [printed text] / ศิรินภา ชี้ทางให้, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543 . - ฌ, 183 แผ่น : ตาราง ; 30 ซม.
ISSN : 978-974130-100-6 : บริจาค
วิทยานิพนธ์ [พย.ม. [การบริหารการพยาบาล]]-จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2543
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]Health services administration
[LCSH]ประสิทธิผลองค์กร
[LCSH]องค์การ, ประสิทธิผลKeywords: ประสิทธิผลองค์กร.
ตัวชี้วัด.
การพยาบาล.Class number: W84.1 ศ837 2543 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23118 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354330 W84.1 ศ837 2543 Thesis Main Library Thesis Corner Available ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย ภาวะผู้ตามที่มีประสิทธิผลของพยาบาลประจำการ กับประสิทธิผลของหอผู้ป่วย ตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการโรงพยาบาลรัฐ กรุงเทพมหานคร / พรจันทร์ เทพพิทักษ์ / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2548
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย ภาวะผู้ตามที่มีประสิทธิผลของพยาบาลประจำการ กับประสิทธิผลของหอผู้ป่วย ตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการโรงพยาบาลรัฐ กรุงเทพมหานคร Original title : Relationships between transformational leadership of head nurses, effective followership of staff nurses and effecteveness of patient units as perceived by staff nurses, governmental hospitals, Bangkok Metropolis Material Type: printed text Authors: พรจันทร์ เทพพิทักษ์, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2548 Pagination: ก-ฎ, 127 แผ่น Layout: ตารางประกอบ Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-532-023-4 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม. [การบริหารการพยาบาล]].-จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2548 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ประสิทธิผลองค์กร
[LCSH]พยาบาล -- การทำงาน
[LCSH]ภาวะผู้นำ
[LCSH]โรงพยาบาล -- การบริหารKeywords: โรงพยาบาล.
พยาบาล.
ประสิทธิผลองค์การ.
ภาวะผู้นำ.Class number: WY18 พ672 2548 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23154 ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย ภาวะผู้ตามที่มีประสิทธิผลของพยาบาลประจำการ กับประสิทธิผลของหอผู้ป่วย ตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการโรงพยาบาลรัฐ กรุงเทพมหานคร = Relationships between transformational leadership of head nurses, effective followership of staff nurses and effecteveness of patient units as perceived by staff nurses, governmental hospitals, Bangkok Metropolis [printed text] / พรจันทร์ เทพพิทักษ์, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548 . - ก-ฎ, 127 แผ่น : ตารางประกอบ ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-532-023-4 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม. [การบริหารการพยาบาล]].-จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2548
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ประสิทธิผลองค์กร
[LCSH]พยาบาล -- การทำงาน
[LCSH]ภาวะผู้นำ
[LCSH]โรงพยาบาล -- การบริหารKeywords: โรงพยาบาล.
พยาบาล.
ประสิทธิผลองค์การ.
ภาวะผู้นำ.Class number: WY18 พ672 2548 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23154 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354397 WY18 พ672 2548 Thesis Main Library Thesis Corner Available ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะของทีมงาน กับประสิทธิผลของทีมการพยาบาล / วารี พูลทรัพย์ / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2544
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะของทีมงาน กับประสิทธิผลของทีมการพยาบาล : ตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลรัฐ กรุงเทพมหานคร Original title : Rekationships between work gropu characteristics and nursing team effectiveness as preceived by staff nurses governmental hospitals Bangkok metropolis Material Type: printed text Authors: วารี พูลทรัพย์, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2544 Pagination: ก-ญ,169 แผ่น Layout: ตารางประกอบ, แผนภูมิ Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-170-460-7 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์. (พย. ม (การบริหารการพยาบาล)).-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การพยาบาลเป็นทีม
[LCSH]พยาบาลประจำการ
[LCSH]โรงพยาบาล -- ไทย -- ภาครัฐKeywords: การพยาบาล.
พยาบาลประจำการ.
โรงพยาบาลรัฐ.
ประสิทธิผล.
ทีมการพยาบาล.Class number: WY18 ว727 2544 Abstract: การวิจัยครั้งนี้ เป็นวิจัยเชิงความสัมพันธ์ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาค่าเฉลี่ยประสิทธิผลของทีมการพยาบาลโรงพยาบาลรัฐ กรุงเทพมหานคร และศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทีมงานกับประสิทธิผลของทีมการพยาบาล ตลอดจนศึกษาตัวแปรที่สามารถร่วมกันพยากรณ์ประสิทธิผลของทีมการพยาบาล กลุ่มตัวอย่างคือ ทีมการพยาบาล ซึ่งไ้ด้จากการสุ่มแบบหลายขั้นตอน จำนวน 184 ทีม มีจำนวนรวม 920 คน เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย แบบสอบถามลักษณะของทีมงาน และแบบสอบถามประสิทธิผลของทีมการพยาบาล ซึ่งได้ผ่านการตรวจสอบความตรง และความเที่ยงเท่ากับ .094 และ .91 ตามลำดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ สถิติวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐาน สถิติวิเคราะห์ความสัมพันธ์แบบเพียร์สัน การวิเคราะห์ถดถอบพหุคูณ
ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
1. ค่าเฉลี่ยประสิทธิผลของทีมการพยาบาล โรงพยาบาลรัฐ กรุงเทพมหานคร อยู่ในระดับสูง ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.75
2 ค่าสหสัมพันธ์ระหว่างลักษณะของทีมงาน กัีบประสิทธิผลของทีมการพยาบาล โรงพยาบาลรัฐ กรุงเทพมหานคร โดยรวมอยู่ในระดับสูง และมีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (r=.832) โดยมีความสัมพันธ์รายด้านดังนี้ คือ กระบวนการทำงานเป็นทีม การออกแบบงาน การพึ่งพาช่วยเหลือกัน องค์ประกอบของทีม และบริบทเชิงบริหาร (r= .800 .731 .689 .665 และ .657 ตามลำดับ
3. ตัวแปรที่สามารถร่วมกันพยากรณ์ ประสิทธิผลของทีมการพยาบาล โรงพยาบาลรัฐ กรุงเทพมหานคร ได้แก่ กระบวนการทำงานเป็นทีม การออกแบบงาน บริบทเชิงบริหาร การพึ่งพาช่วยเหลือกันของสมาชิก และองค์ประกอบของทีม ซึ่งสามารถร่วมกันพยากรณ์ประสิทธิผลของทีมการพยาบาลได้ร้อยละ 74.2 (R ยกกำลังสอง = .743 p < .05) โดยมีสมการพยากรณ์ประสิทธิผลของทีมการพยาบาล ในรูปคะแนนมาตรฐานCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23327 ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะของทีมงาน กับประสิทธิผลของทีมการพยาบาล = Rekationships between work gropu characteristics and nursing team effectiveness as preceived by staff nurses governmental hospitals Bangkok metropolis : ตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลรัฐ กรุงเทพมหานคร [printed text] / วารี พูลทรัพย์, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544 . - ก-ญ,169 แผ่น : ตารางประกอบ, แผนภูมิ ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-170-460-7 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์. (พย. ม (การบริหารการพยาบาล)).-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การพยาบาลเป็นทีม
[LCSH]พยาบาลประจำการ
[LCSH]โรงพยาบาล -- ไทย -- ภาครัฐKeywords: การพยาบาล.
พยาบาลประจำการ.
โรงพยาบาลรัฐ.
ประสิทธิผล.
ทีมการพยาบาล.Class number: WY18 ว727 2544 Abstract: การวิจัยครั้งนี้ เป็นวิจัยเชิงความสัมพันธ์ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาค่าเฉลี่ยประสิทธิผลของทีมการพยาบาลโรงพยาบาลรัฐ กรุงเทพมหานคร และศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทีมงานกับประสิทธิผลของทีมการพยาบาล ตลอดจนศึกษาตัวแปรที่สามารถร่วมกันพยากรณ์ประสิทธิผลของทีมการพยาบาล กลุ่มตัวอย่างคือ ทีมการพยาบาล ซึ่งไ้ด้จากการสุ่มแบบหลายขั้นตอน จำนวน 184 ทีม มีจำนวนรวม 920 คน เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย แบบสอบถามลักษณะของทีมงาน และแบบสอบถามประสิทธิผลของทีมการพยาบาล ซึ่งได้ผ่านการตรวจสอบความตรง และความเที่ยงเท่ากับ .094 และ .91 ตามลำดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ สถิติวิเคราะห์ข้อมูลพื้นฐาน สถิติวิเคราะห์ความสัมพันธ์แบบเพียร์สัน การวิเคราะห์ถดถอบพหุคูณ
ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
1. ค่าเฉลี่ยประสิทธิผลของทีมการพยาบาล โรงพยาบาลรัฐ กรุงเทพมหานคร อยู่ในระดับสูง ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.75
2 ค่าสหสัมพันธ์ระหว่างลักษณะของทีมงาน กัีบประสิทธิผลของทีมการพยาบาล โรงพยาบาลรัฐ กรุงเทพมหานคร โดยรวมอยู่ในระดับสูง และมีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (r=.832) โดยมีความสัมพันธ์รายด้านดังนี้ คือ กระบวนการทำงานเป็นทีม การออกแบบงาน การพึ่งพาช่วยเหลือกัน องค์ประกอบของทีม และบริบทเชิงบริหาร (r= .800 .731 .689 .665 และ .657 ตามลำดับ
3. ตัวแปรที่สามารถร่วมกันพยากรณ์ ประสิทธิผลของทีมการพยาบาล โรงพยาบาลรัฐ กรุงเทพมหานคร ได้แก่ กระบวนการทำงานเป็นทีม การออกแบบงาน บริบทเชิงบริหาร การพึ่งพาช่วยเหลือกันของสมาชิก และองค์ประกอบของทีม ซึ่งสามารถร่วมกันพยากรณ์ประสิทธิผลของทีมการพยาบาลได้ร้อยละ 74.2 (R ยกกำลังสอง = .743 p < .05) โดยมีสมการพยากรณ์ประสิทธิผลของทีมการพยาบาล ในรูปคะแนนมาตรฐานCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23327 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000357309 THE WY18 ว727 2544 Thesis Main Library Thesis Corner Available ประสิทธิผลของการใช้กระบวนการเรียนรู้จากการถอดบทเรียน หลังการปฏิบัติงานวิชาปฏิบัติการพยาบาลอนามัยชุมชน / วัลยา ตูพานิช in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.17 No.1 (Jan-Apr) 2016 ([06/20/2016])
[article]
Title : ประสิทธิผลของการใช้กระบวนการเรียนรู้จากการถอดบทเรียน หลังการปฏิบัติงานวิชาปฏิบัติการพยาบาลอนามัยชุมชน Original title : Effectiveness of learning process based on after action review on community health nursing practice Material Type: printed text Authors: วัลยา ตูพานิช, Author ; อุบล ศรุตธนาเจริญ, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.17-25 General note: การวิจัยเป็นแบบกึ่งทดลอง เพื่อศึกษาประสิทธิผลของการใช้กระบวนการเรียนรู้จากการถอดบทเรียนหลังการปฏิบัตงานวิชาปฏิบัติการพยาบาลอนามัยชุมชน ส่งเสริมความสามารถในการปฏิบัติงานตามกระบวนการพยาบาลในการฝึกปฏิบัติงานการวินิจฉัยชุมชน การดูแลสุขภาพที่บ้านและงานอนามัยโรงเรียนของนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 4 คณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์ มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช ใช้การสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง ตามคุณสมบัติที่กำหนด จำนวน 96 คน และใช้เกณฑ์จับคู่ แบ่งเป็นกลุ่มควบคุมที่ได้รับกระบวนการฝึกปฏิบัติงานตามปกติและกลุ่มทดลองที่ได้รับการใช้กระบวนการเรียนร้จากการถอดถอนบทเรียนหลังการปฏิบัติ กลุ่มละ 48 คน ดำเนินการศึกาา 8 สัปดาห์ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบประเมินความสามารถในการปฏิบัติงานตามกระบวนการพยาบาลของนักศึกษา และแบบสอบถามความพึงพอใจของนักศึกษาพยาบาลต่อการปฏิบัติงานอนามัยชุมชน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ สถิติการทดสอบค่าที ผลการวิจัย พบว่า กลุ่มทดลองมีคะแนนค่าเฉลี่ยความสามารถในการปฎิบัติงานตามกระบวนการพยาบาลในการปฏิบัติงานการวินิจฉัยชุมชน การดูแลสุขภาพที่บ้านและงานอนามัยโรงเรียนสูงกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และกลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยความพึงพอใจต่อการปฏิบัติงานอนามัยชุมชนสูงกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.17 No.1 (Jan-Apr) 2016 [06/20/2016] . - p.17-25Keywords: ประสิทธิผล.การใช้กระบวนการเรียนรู้.การถอดบทเรียน.การฝึกปฏิบัติงาน.วิชาการปฏิบัติการพยาบาล.การพยาบาลอนามัยชุมชน. Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25526 [article] ประสิทธิผลของการใช้กระบวนการเรียนรู้จากการถอดบทเรียน หลังการปฏิบัติงานวิชาปฏิบัติการพยาบาลอนามัยชุมชน = Effectiveness of learning process based on after action review on community health nursing practice [printed text] / วัลยา ตูพานิช, Author ; อุบล ศรุตธนาเจริญ, Author . - 2016 . - p.17-25.
การวิจัยเป็นแบบกึ่งทดลอง เพื่อศึกษาประสิทธิผลของการใช้กระบวนการเรียนรู้จากการถอดบทเรียนหลังการปฏิบัตงานวิชาปฏิบัติการพยาบาลอนามัยชุมชน ส่งเสริมความสามารถในการปฏิบัติงานตามกระบวนการพยาบาลในการฝึกปฏิบัติงานการวินิจฉัยชุมชน การดูแลสุขภาพที่บ้านและงานอนามัยโรงเรียนของนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 4 คณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์ มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช ใช้การสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง ตามคุณสมบัติที่กำหนด จำนวน 96 คน และใช้เกณฑ์จับคู่ แบ่งเป็นกลุ่มควบคุมที่ได้รับกระบวนการฝึกปฏิบัติงานตามปกติและกลุ่มทดลองที่ได้รับการใช้กระบวนการเรียนร้จากการถอดถอนบทเรียนหลังการปฏิบัติ กลุ่มละ 48 คน ดำเนินการศึกาา 8 สัปดาห์ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบประเมินความสามารถในการปฏิบัติงานตามกระบวนการพยาบาลของนักศึกษา และแบบสอบถามความพึงพอใจของนักศึกษาพยาบาลต่อการปฏิบัติงานอนามัยชุมชน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ สถิติการทดสอบค่าที ผลการวิจัย พบว่า กลุ่มทดลองมีคะแนนค่าเฉลี่ยความสามารถในการปฎิบัติงานตามกระบวนการพยาบาลในการปฏิบัติงานการวินิจฉัยชุมชน การดูแลสุขภาพที่บ้านและงานอนามัยโรงเรียนสูงกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และกลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยความพึงพอใจต่อการปฏิบัติงานอนามัยชุมชนสูงกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
Languages : Thai (tha)ประสิทธิผลชุดการเรียนรายวิชาการผดุงครรภ์ 1 / มาลีวัล เลิศสาครศิริ in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.17 No.1 (Jan-Apr) 2016 ([06/20/2016])
[article]
Title : ประสิทธิผลชุดการเรียนรายวิชาการผดุงครรภ์ 1 Original title : The effectiveness of instructional package on the midwifery 1 subject Material Type: printed text Authors: มาลีวัล เลิศสาครศิริ, Author ; แก้วตะวัน ศิริลักขณานันท์, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.26-35 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.17 No.1 (Jan-Apr) 2016 [06/20/2016] . - p.26-35Keywords: ประสิทธิผล.ชุดการเรียนรายวิชาการผดุงครรภ์. Abstract: การวิจัยเป็นการวิจัยกึ่งทดลองชนิด 2 กลุ่มทดสอบและหลังการคลอด เพื่อสร้างและพัฒนาชุดการเรียนรู้ เนื้อหาวิชาการผดุงครรภ์ 1 และเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เจตคติต่อการเรียนวิชาการผดุงครรภ์ 1 และความมั่นใจต่อการปฏิบัติการพยาบาลมารดา ทารกและการผดุงครรภ์ในห้องปฏิบัติการพยาบาล กลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกาาพยาบาลชั้นปีที่ 2 จำนวน 118 คน วิทยาลัยเซนต์หลุยส์ ที่ลงทะเบี่ยนเรียนวิชาการผดุงครรภ์ 1 ในปีการศึกษา 2557 แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือกลุ่มควบคุม และกลุ่มทดลอง จำนวนกลุ่มละ 59 คน ด้วยวิธีการจับคู่คะแนนเฉลี่ยสะสม เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง คือ ชุดการเรียนรู้วิชาการผดุงครรภ์ 1 ประกอบด้วย บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนและหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม ประกอบด้วย แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แบบวัดเจคติต่อการเรียนนวิชาการผดุงครรภ์ 1 แบบประเมินความมั่นใจต่อการปฏิบัติการพยาบาลมารดา ทารก และการผดุงครรภ์ในห้องปฎิบัติการพยาบาล และแบบประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อชุดการเรียนรู้ ผ่านการตรวจความตรงเชิงเนื้อหาและประสิทธิผลของเครื่องมือโดยผู้ทรงคุณวุฒิ 3 ท่าน และค่าความเที่ยงได้เท่ากับ .816 .939 และ .947 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ความแตกต่างของค่าเฉลี่ยด้วยสถิติทดสอบที
ผลการวิจัย พบว่า นศ ชั้นปีที่ 2 ที่ได้รับการเรียนรู้โดยใช้ชุดการเรียนรู้ มีคะแนนค่าเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ค่าเฉลี่ย = 57.20 คะแนนเจตคติต่อการเรียนวิชาผดุงครรภ์ 1 ค่าเฉลี่ย = 4.08 ... สรุปได้ว่า การใช้ชุดการเรียนรายวิชาผดุงครรภ์ 1 ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อผู้เรียนเป็นอย่างมาก สามารถเรียนรู้ได้ตลอดเวลา ไม่มีข้อจำกัดด้านเวลา และสถานที่ สามารถทบทวนขั้นตอนต่าง ๆ ตั้งแต่เริ่มต้นจนถึงขั้นตอนสุดท้าย ทำให้เกิดเจตคติที่ดี เกิดความมั่นใจในการฝึกปฏิบัติเพิ่มมากขึ้นมีความพึงพอใจในการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพLink for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25558 [article] ประสิทธิผลชุดการเรียนรายวิชาการผดุงครรภ์ 1 = The effectiveness of instructional package on the midwifery 1 subject [printed text] / มาลีวัล เลิศสาครศิริ, Author ; แก้วตะวัน ศิริลักขณานันท์, Author . - 2016 . - p.26-35.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.17 No.1 (Jan-Apr) 2016 [06/20/2016] . - p.26-35Keywords: ประสิทธิผล.ชุดการเรียนรายวิชาการผดุงครรภ์. Abstract: การวิจัยเป็นการวิจัยกึ่งทดลองชนิด 2 กลุ่มทดสอบและหลังการคลอด เพื่อสร้างและพัฒนาชุดการเรียนรู้ เนื้อหาวิชาการผดุงครรภ์ 1 และเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เจตคติต่อการเรียนวิชาการผดุงครรภ์ 1 และความมั่นใจต่อการปฏิบัติการพยาบาลมารดา ทารกและการผดุงครรภ์ในห้องปฏิบัติการพยาบาล กลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกาาพยาบาลชั้นปีที่ 2 จำนวน 118 คน วิทยาลัยเซนต์หลุยส์ ที่ลงทะเบี่ยนเรียนวิชาการผดุงครรภ์ 1 ในปีการศึกษา 2557 แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือกลุ่มควบคุม และกลุ่มทดลอง จำนวนกลุ่มละ 59 คน ด้วยวิธีการจับคู่คะแนนเฉลี่ยสะสม เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง คือ ชุดการเรียนรู้วิชาการผดุงครรภ์ 1 ประกอบด้วย บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนและหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม ประกอบด้วย แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แบบวัดเจคติต่อการเรียนนวิชาการผดุงครรภ์ 1 แบบประเมินความมั่นใจต่อการปฏิบัติการพยาบาลมารดา ทารก และการผดุงครรภ์ในห้องปฎิบัติการพยาบาล และแบบประเมินความพึงพอใจของนักศึกษาที่มีต่อชุดการเรียนรู้ ผ่านการตรวจความตรงเชิงเนื้อหาและประสิทธิผลของเครื่องมือโดยผู้ทรงคุณวุฒิ 3 ท่าน และค่าความเที่ยงได้เท่ากับ .816 .939 และ .947 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ความแตกต่างของค่าเฉลี่ยด้วยสถิติทดสอบที
ผลการวิจัย พบว่า นศ ชั้นปีที่ 2 ที่ได้รับการเรียนรู้โดยใช้ชุดการเรียนรู้ มีคะแนนค่าเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ค่าเฉลี่ย = 57.20 คะแนนเจตคติต่อการเรียนวิชาผดุงครรภ์ 1 ค่าเฉลี่ย = 4.08 ... สรุปได้ว่า การใช้ชุดการเรียนรายวิชาผดุงครรภ์ 1 ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อผู้เรียนเป็นอย่างมาก สามารถเรียนรู้ได้ตลอดเวลา ไม่มีข้อจำกัดด้านเวลา และสถานที่ สามารถทบทวนขั้นตอนต่าง ๆ ตั้งแต่เริ่มต้นจนถึงขั้นตอนสุดท้าย ทำให้เกิดเจตคติที่ดี เกิดความมั่นใจในการฝึกปฏิบัติเพิ่มมากขึ้นมีความพึงพอใจในการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพLink for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25558 ผลของการใช้โปรแกรมการทำงานเป็นทีมเพื่อป้องกันความผิดพลาดในห้องผ่าตัดศัลยกรรมต่อประสิทธิผลของงาน / รุ้งสวรรค์ สุวัฒโน in วารสารพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, Vol.27 No.3 (Sep-Dec) 2015/2558 ([06/27/2016])
[article]
Title : ผลของการใช้โปรแกรมการทำงานเป็นทีมเพื่อป้องกันความผิดพลาดในห้องผ่าตัดศัลยกรรมต่อประสิทธิผลของงาน Original title : The effect of teamwork for advance events prevention program in surgical operating theater on work effectiveness Material Type: printed text Authors: รุ้งสวรรค์ สุวัฒโน, Author ; สุวิณี วิวัฒน์วานิช, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.146-155 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย > Vol.27 No.3 (Sep-Dec) 2015/2558 [06/27/2016] . - p.146-155Keywords: ห้องผ่าตัดศัลยกรรม.การทำงานเป็นทีม.ความผิดพลาดในห้องผ่าตัด.ประสิทธิผลของงาน. Link for e-copy: http://tci-thaijo.org/index.php/CUNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25540 [article] ผลของการใช้โปรแกรมการทำงานเป็นทีมเพื่อป้องกันความผิดพลาดในห้องผ่าตัดศัลยกรรมต่อประสิทธิผลของงาน = The effect of teamwork for advance events prevention program in surgical operating theater on work effectiveness [printed text] / รุ้งสวรรค์ สุวัฒโน, Author ; สุวิณี วิวัฒน์วานิช, Author . - 2016 . - p.146-155.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)