From this page you can:
Home |
Search results
15 result(s) search for keyword(s) 'การฆ่าตัวตาย. ประสบการณ์. วิทยานิพนธ์.'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
ประสบการณ์ชีวิตหลังการพยายามฆ่าตัวตายของบุคคลที่อาศัยในจังหวัดกำแพงเพชร / นิภา เครือช้า / บัณฑิตวิทยาลัีย มหาวิทยาลัยนเรศวร - 2555
Title : ประสบการณ์ชีวิตหลังการพยายามฆ่าตัวตายของบุคคลที่อาศัยในจังหวัดกำแพงเพชร Original title : Lived experience after atten\mpted suicide among persons living in Kamphaeng Phet province Material Type: printed text Authors: นิภา เครือช้า, Author Publisher: บัณฑิตวิทยาลัีย มหาวิทยาลัยนเรศวร Publication Date: 2555 General note: วิทยานิพนธ์ [พย. ม [การพยาบาลเวชปฎิบัติชุมชน]] -- มหาวิทยาลัยนเรศวร 2555 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การฆ่าตัวตาย
[LCSH]การฆ่าตัวตาย -- การป้องกันKeywords: การฆ่าตัวตาย.
ประสบการณ์.
วิทยานิพนธ์.Class number: WM460.7 น536 2555 Abstract: งานวิจัยนี้ มุ่งศึกษาประสบการณ์ชีวิตหลังการพยายามฆ่าตัวตายของบุคคลที่อาศัยในจังหวัดกำแพงเพชร และศึกษาปัจจัยเชิงบวกที่มีผู้พยายามฆ่ามตัวตายไม่กลับไปฆ่าตัวตายซ้ำ จำนวน 14 ราย โดยผู้ให้ข้อมูลเป็นผู้ที่เคยมีประวัติการพยายามฆ่าตัวตายที่เข้ารัีบการบำบัดรักษาที่โรงพยาบาลกำแพงเพชร ปี 2553-2554 เป็นการเก็บข้อมูลระหว่างเดือน กันยายน 54-มินาคม 55 ใช้การสัมภาษณ์เชิงลึก การสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม การบันทึกภาคสนาม และการบันทึกเสียง วิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหา
ผลการศึกษาพบว่า ประสบการณ์ชีวิตหลังการพยายามฆ่ามตัวตายประกอบด้วย 1. เรียนรู้ประสบการณ์ที่ผ่านมาเพื่อไม่ทำซ้ำ ได้แก่ รู้ว่าการกระทครั้งนี้เป็นการกระทำที่ขาดความยั้งคิดทำให้คนอื่นวุ่นวาย รับรู้ถึงความทรมานด้านร่างกายที่ได้่รับ รู้สึกอับอาย 2 ปรัีบวิธีการเผชิญความเครียด ได้แก่้ การปรับวิธีคิดใหม่ ปฎิบัติตามความเชื่อทางศาสนา การปลง การเบี่ยงเบนความสนใจ ส่วนปัจจัยเชิงบวกที่ผู้พยายามฆ่าตัวตายไม่กลับไปทำซ้ำประกอบด้วย 1. การมีความหวัง 2 เสริมสร้างกำลังใจให้กับตนเอง 3 การมองเห็นคุณค่าของตนเอง 4 แรงสนับสนุนทางสังคม
จากผลการวิจัยครั้งนี้แสดงให้เห็นว่า ผู้พยายามฆ่าตัวตายใช้ประสบการณืที่เคยกระทำในอดีตมาปรับใช้ในการไม่กลับไปฆ่าตัวตายซ้ำอีก โดยการเรียนรู้ประสบการณ์ที่ผ่านมาร่วมกับการปรับวิธีการเผชิญความเครียดและแรงาสนับสนุนทางสังคม จึงควรนำผลการวิจัยที่ได้วางแผนในการป้องกันการพยายามฆ่าตัวตายในระบบบริการสุขภาพและชุมชน
Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23210 ประสบการณ์ชีวิตหลังการพยายามฆ่าตัวตายของบุคคลที่อาศัยในจังหวัดกำแพงเพชร = Lived experience after atten\mpted suicide among persons living in Kamphaeng Phet province [printed text] / นิภา เครือช้า, Author . - [S.l.] : บัณฑิตวิทยาลัีย มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2555.
วิทยานิพนธ์ [พย. ม [การพยาบาลเวชปฎิบัติชุมชน]] -- มหาวิทยาลัยนเรศวร 2555
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การฆ่าตัวตาย
[LCSH]การฆ่าตัวตาย -- การป้องกันKeywords: การฆ่าตัวตาย.
ประสบการณ์.
วิทยานิพนธ์.Class number: WM460.7 น536 2555 Abstract: งานวิจัยนี้ มุ่งศึกษาประสบการณ์ชีวิตหลังการพยายามฆ่าตัวตายของบุคคลที่อาศัยในจังหวัดกำแพงเพชร และศึกษาปัจจัยเชิงบวกที่มีผู้พยายามฆ่ามตัวตายไม่กลับไปฆ่าตัวตายซ้ำ จำนวน 14 ราย โดยผู้ให้ข้อมูลเป็นผู้ที่เคยมีประวัติการพยายามฆ่าตัวตายที่เข้ารัีบการบำบัดรักษาที่โรงพยาบาลกำแพงเพชร ปี 2553-2554 เป็นการเก็บข้อมูลระหว่างเดือน กันยายน 54-มินาคม 55 ใช้การสัมภาษณ์เชิงลึก การสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม การบันทึกภาคสนาม และการบันทึกเสียง วิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหา
ผลการศึกษาพบว่า ประสบการณ์ชีวิตหลังการพยายามฆ่ามตัวตายประกอบด้วย 1. เรียนรู้ประสบการณ์ที่ผ่านมาเพื่อไม่ทำซ้ำ ได้แก่ รู้ว่าการกระทครั้งนี้เป็นการกระทำที่ขาดความยั้งคิดทำให้คนอื่นวุ่นวาย รับรู้ถึงความทรมานด้านร่างกายที่ได้่รับ รู้สึกอับอาย 2 ปรัีบวิธีการเผชิญความเครียด ได้แก่้ การปรับวิธีคิดใหม่ ปฎิบัติตามความเชื่อทางศาสนา การปลง การเบี่ยงเบนความสนใจ ส่วนปัจจัยเชิงบวกที่ผู้พยายามฆ่าตัวตายไม่กลับไปทำซ้ำประกอบด้วย 1. การมีความหวัง 2 เสริมสร้างกำลังใจให้กับตนเอง 3 การมองเห็นคุณค่าของตนเอง 4 แรงสนับสนุนทางสังคม
จากผลการวิจัยครั้งนี้แสดงให้เห็นว่า ผู้พยายามฆ่าตัวตายใช้ประสบการณืที่เคยกระทำในอดีตมาปรับใช้ในการไม่กลับไปฆ่าตัวตายซ้ำอีก โดยการเรียนรู้ประสบการณ์ที่ผ่านมาร่วมกับการปรับวิธีการเผชิญความเครียดและแรงาสนับสนุนทางสังคม จึงควรนำผลการวิจัยที่ได้วางแผนในการป้องกันการพยายามฆ่าตัวตายในระบบบริการสุขภาพและชุมชน
Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23210 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354777 WM460.7 น536 2555 Thesis Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. การส่งออกยาสีฟันสมุนไพรไทยทิพย์เข้าสู่ตลาดประเทศไนจีเรีย: ปัญหา อุปสรรค และบทเรียน / ถนัญรัชฏ์ แสนสุข / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU THE-T Title : การส่งออกยาสีฟันสมุนไพรไทยทิพย์เข้าสู่ตลาดประเทศไนจีเรีย: ปัญหา อุปสรรค และบทเรียน Original title : Exporting Thai Tip Herbal Toothpaste to the Nigerian Market: Challenges, Barriers and Lessons Learned Material Type: printed text Authors: ถนัญรัชฏ์ แสนสุข, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: xii, 313 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU THE-T: SOM-DBA-2016-02
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2559Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ยาสีฟัน -- การส่งออก
[LCSH]ยาสีฟัน -- ไนจีเรีย -- การตลาดKeywords: ประสบการณ์การส่งออก,
บทเรียนการบริหารจัดการธุรกิจ,
ยาสีฟันสมุนไพรไทยทิพย์Abstract: การส่งออกสินค้าไทยไปสู่ตลาดต่างประเทศนับวันยิ่งทวีการแข่งขันขึ้นเรื่อย ๆ โดยเฉพาะการส่งออกสินค้าใหม่จำเป็นต้องใช้ศาสตร์ทางการบริหารให้สอดคล้องกับนโยบายภาครัฐ รวมทั้งต้องพึ่งพาการกำกับดูแลในขั้นตอนการแปลงนโยบายไปสู่การปฏิบัติอย่างเข้มงวด จึงจะทำให้การส่งออกประสบความสำเร็จได้ งานวิจัยนี้จึงมีคณูปการกับประเทศไทยโดยตรงต่อภาคการส่งออก เพราะเป็นเรื่องใหม่ที่ยังไม่เคยมีการศึกษากระบวนการส่งออกสินค้าไทยเข้าสู่ตลาดประเทศไนจีเรียมาก่อน รวมทั้งไม่มีกรณีศึกษาการส่งออกสินค้าไทยเข้าสู่ตลาดต่างประเทศมาเทียบเคียงโดยมีวัตถุประสงค์ 1) ถอดบทเรียนการส่งออกยาสีฟันสมุนไพรไทยทิพย์เข้าสู่ตลาดประเทศไนจีเรีย 2) วิเคระห์กระบวนการส่งออกยาสีฟันสมุนไพรไทยทิพย์เข้าสู่ตลาดประเทศไนจีเรีย 3) ศึกษาปัญหา อุปสรรค ผ่านบทเรียนการส่งออกยาสีฟันสมุนไพรไทยทิพย์เข้าสู่ตลาดประเทศไนจีเรีย 4) เสนอแนะแนวทางการทำธุรกิจเข้าสู่ตลาดทวีปแอฟริกาด้านตะวันตกโดยเฉพาะประเทศไนจีเรีย ผู้เกี่ยวข้องกับการส่งออก ได้แก่ องค์กรเอกชน 5 องค์กร องค์การภาครัฐของประเทศไทยและประเทศไนจีเรีย 10 องค์การ Curricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26377 SIU THE-T. การส่งออกยาสีฟันสมุนไพรไทยทิพย์เข้าสู่ตลาดประเทศไนจีเรีย: ปัญหา อุปสรรค และบทเรียน = Exporting Thai Tip Herbal Toothpaste to the Nigerian Market: Challenges, Barriers and Lessons Learned [printed text] / ถนัญรัชฏ์ แสนสุข, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - xii, 313 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU THE-T: SOM-DBA-2016-02
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2559
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ยาสีฟัน -- การส่งออก
[LCSH]ยาสีฟัน -- ไนจีเรีย -- การตลาดKeywords: ประสบการณ์การส่งออก,
บทเรียนการบริหารจัดการธุรกิจ,
ยาสีฟันสมุนไพรไทยทิพย์Abstract: การส่งออกสินค้าไทยไปสู่ตลาดต่างประเทศนับวันยิ่งทวีการแข่งขันขึ้นเรื่อย ๆ โดยเฉพาะการส่งออกสินค้าใหม่จำเป็นต้องใช้ศาสตร์ทางการบริหารให้สอดคล้องกับนโยบายภาครัฐ รวมทั้งต้องพึ่งพาการกำกับดูแลในขั้นตอนการแปลงนโยบายไปสู่การปฏิบัติอย่างเข้มงวด จึงจะทำให้การส่งออกประสบความสำเร็จได้ งานวิจัยนี้จึงมีคณูปการกับประเทศไทยโดยตรงต่อภาคการส่งออก เพราะเป็นเรื่องใหม่ที่ยังไม่เคยมีการศึกษากระบวนการส่งออกสินค้าไทยเข้าสู่ตลาดประเทศไนจีเรียมาก่อน รวมทั้งไม่มีกรณีศึกษาการส่งออกสินค้าไทยเข้าสู่ตลาดต่างประเทศมาเทียบเคียงโดยมีวัตถุประสงค์ 1) ถอดบทเรียนการส่งออกยาสีฟันสมุนไพรไทยทิพย์เข้าสู่ตลาดประเทศไนจีเรีย 2) วิเคระห์กระบวนการส่งออกยาสีฟันสมุนไพรไทยทิพย์เข้าสู่ตลาดประเทศไนจีเรีย 3) ศึกษาปัญหา อุปสรรค ผ่านบทเรียนการส่งออกยาสีฟันสมุนไพรไทยทิพย์เข้าสู่ตลาดประเทศไนจีเรีย 4) เสนอแนะแนวทางการทำธุรกิจเข้าสู่ตลาดทวีปแอฟริกาด้านตะวันตกโดยเฉพาะประเทศไนจีเรีย ผู้เกี่ยวข้องกับการส่งออก ได้แก่ องค์กรเอกชน 5 องค์กร องค์การภาครัฐของประเทศไทยและประเทศไนจีเรีย 10 องค์การ Curricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26377 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000591337 SIU THE-T: SOM-DBA-2016-02 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000591345 SIU THE-T: SOM-DBA-2016-02 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available Architecture thesis 2014 / Faculty of Architecture Chiang Mai University / Chiang Mai University - 2014
Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000470219 NA2460 .T5 T43 2014 c.1 Book Main Library General Shelf Available 32002000470243 NA2460 .T5 T43 2014 c.2 Book Main Library General Shelf Available การทำงานร่วมกันของพยาบาลและแพทย์ / สงกราน มาประสพ / คณะพยาบาลศา่สตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2544
Title : การทำงานร่วมกันของพยาบาลและแพทย์ Original title : Working relation of nurses an physicians Material Type: printed text Authors: สงกราน มาประสพ, Author Publisher: คณะพยาบาลศา่สตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2544 Pagination: ญ, 120 แผ่น Layout: ตาราง Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-031-732-4 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]]- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2544 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การพยาบาล
[LCSH]ความสัมพันธ์ระหว่างแพทย์และพยาบาล
[LCSH]พยาบาล -- การทำงาน
[LCSH]แพทย์ -- การทำงานKeywords: แพทย์.
พยาบาล.
การทำงาน.
วิทยานิพนธ์.Class number: WY18 ส821 2544 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23115 การทำงานร่วมกันของพยาบาลและแพทย์ = Working relation of nurses an physicians [printed text] / สงกราน มาประสพ, Author . - [S.l.] : คณะพยาบาลศา่สตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544 . - ญ, 120 แผ่น : ตาราง ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-031-732-4 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]]- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2544
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การพยาบาล
[LCSH]ความสัมพันธ์ระหว่างแพทย์และพยาบาล
[LCSH]พยาบาล -- การทำงาน
[LCSH]แพทย์ -- การทำงานKeywords: แพทย์.
พยาบาล.
การทำงาน.
วิทยานิพนธ์.Class number: WY18 ส821 2544 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23115 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354348 WY18 ส821 2544 Thesis Main Library Thesis Corner Available ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านมารดา และปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อมกับความผูกผัน / วิวัน เข่งคุ้ม / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2542
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านมารดา และปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อมกับความผูกผัน : ต่อทารกในครรภ์ของมารดานอกสมรส Original title : Relationships between meternal-factors and environmental factors with meternal fetal attachment of unmarried mothers Material Type: printed text Authors: วิวัน เข่งคุ้ม, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2542 Pagination: ฌ, 121 แผ่น. Layout: ตาราง Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-333-362-2 Price: บริจาค General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]]-จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2542 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การตั้งครรภ์
[LCSH]ทารกในครรภ์
[LCSH]ทารกในครรภ์ -- การดูแล
[LCSH]บุตรนอกกฎหมาย
[LCSH]วิทยานิพนธ์Keywords: การตั้งครรภ์.
บุตรนอกกฎหมาย.
วิทยานิพนธ์.Class number: WQ200 ว737 2542 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23111 ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านมารดา และปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อมกับความผูกผัน = Relationships between meternal-factors and environmental factors with meternal fetal attachment of unmarried mothers : ต่อทารกในครรภ์ของมารดานอกสมรส [printed text] / วิวัน เข่งคุ้ม, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542 . - ฌ, 121 แผ่น. : ตาราง ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-333-362-2 : บริจาค
วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]]-จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2542
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การตั้งครรภ์
[LCSH]ทารกในครรภ์
[LCSH]ทารกในครรภ์ -- การดูแล
[LCSH]บุตรนอกกฎหมาย
[LCSH]วิทยานิพนธ์Keywords: การตั้งครรภ์.
บุตรนอกกฎหมาย.
วิทยานิพนธ์.Class number: WQ200 ว737 2542 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23111 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354538 WQ200 ว737 2542 Thesis Main Library Thesis Corner Available ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ค่านิยมทางสุขภาพและสภาพแวดล้อมในสถาบัน / ปาริชาติ สุขสวัสดิพร / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2543
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ค่านิยมทางสุขภาพและสภาพแวดล้อมในสถาบัน : กับพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของนักศึกษาพยาบาล สถาบันการศึกษาพยาบาลเขตกรุงเทพมหานคร Original title : Relationships between personal factors health values and institutional environment : with health promoting behaviors of nursing students in educational nursing institution Bangkok metropolis Material Type: printed text Authors: ปาริชาติ สุขสวัสดิพร, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2543 Pagination: ฎ, 157 แผ่น Layout: ตาราง Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-131-045-5 Price: บริจาค General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การพยาบาลศึกษา]]-จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2543. Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การส่งเสริมสุขภาพ
[LCSH]ความเชื่อด้านสุขภาพ
[LCSH]พฤติกรรมสุขภาพ -- ไทย
[LCSH]วิทยานิพนธ์Keywords: การส่งเสริมสุขภาพ.
วิทยานิพนธ์.
สุขภาพ.Class number: RA776.9 ป527 2543 Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ค่านิยมทางสุขภาพ และสภาพแวดล้อมในสถาบัน กับพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของนักศึกษาพยาบาล สถาบันการศึกษาพยาบาล เขตกรุงเทพมหานคร และศึกษาปัจจัยที่ร่วมกันพยากรณ์พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของนักศึกษาพยาบาล กลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษาพยาบาลที่กำลังศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต ปีการศึกษา 2543 ในชั้นปีที่ 2, 3 และ 4 จำนวน 394 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามจำนวน 1 ชุด แบ่งเป็น 4 ตอน คือ ข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามค่านิยมทางสุขภาพ แบบสอบถามสภาพแวดล้อมในสถาบัน และแบบสอบถามพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของนักศึกษาพยาบาล ตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาและหาค่าความเที่ยงของแบบสอบถามได้ .83, .88 และ .80 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การแจกแจงความถี่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติไคสแควร์ สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของนักศึกษาพยาบาล สถาบันการศึกษาพยาบาล เขตกรุงเทพมหานครอยู่ในระดับดี 2. ค่านิยมทางสุขภาพของนักศึกษาพยาบาลอยู่ในระดับสูง และสภาพแวดล้อมในสถาบันอยู่ในระดับดี 3. ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ ภูมิลำเนา มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของนักศึกษาพยาบาลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 แต่ระดับชั้นปีและรายรับไม่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของนักศึกษาพยาบาล 4. ค่านิยมทางสุขภาพและสภาพแวดล้อมในสถาบันมีความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของนักศึกษาพยาบาล อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 5. ปัจจัยที่ร่วมกันพยากรณ์พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของนักศึกษาพยาบาลได้ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ได้แก่ (1) ค่านิยมทางสุขภาพด้านอาหารและการบริโภค (2) ค่านิยมทางสุขภาพด้านการพัฒนาด้านจิตใจ (3) สภาพแวดล้อมในแหล่งฝึกปฏิบัติด้านจิตสังคม (4) ภูมิลำเนาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (5) ค่านิยมทางสุขภาพด้านการรักษาความสะอาด (6) ค่านิยมทางสุขภาพด้านการเลือกใช้ผลิตภัณฑ์และบริการสุขภาพ และ (7) ภูมิลำเนาภาคตะวันออก โดยสามารถร่วมกันพยากรณ์พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของนักศึกษาพยาบาลได้ร้อยละ 48.1 (R2 = .481) ได้สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนมาตรฐาน ดังนี้ พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของนักศึกษาพยาบาล = .299 (ค่านิยมทางสุขภาพด้านอาหารและการบริโภค) + .188 (ค่านิยมทางสุขภาพด้านการพัฒนาด้านจิตใจ) + .196 (สภาพแวดล้อมในแหล่งฝึกปฏิบัติด้านจิตสังคม) + .176 (ภูมิลำเนาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) + .175 (ค่านิยมทางสุขภาพด้านการรักษาความสะอาด) + .122 (ค่านิยมทางสุขภาพด้านการเลือกใช้ผลิตภัณฑ์และบริการสุขภาพ) + .080 (ภูมิลำเนาภาคตะวันออก) Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23110 ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ค่านิยมทางสุขภาพและสภาพแวดล้อมในสถาบัน = Relationships between personal factors health values and institutional environment : with health promoting behaviors of nursing students in educational nursing institution Bangkok metropolis : กับพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของนักศึกษาพยาบาล สถาบันการศึกษาพยาบาลเขตกรุงเทพมหานคร [printed text] / ปาริชาติ สุขสวัสดิพร, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543 . - ฎ, 157 แผ่น : ตาราง ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-131-045-5 : บริจาค
วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การพยาบาลศึกษา]]-จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2543.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การส่งเสริมสุขภาพ
[LCSH]ความเชื่อด้านสุขภาพ
[LCSH]พฤติกรรมสุขภาพ -- ไทย
[LCSH]วิทยานิพนธ์Keywords: การส่งเสริมสุขภาพ.
วิทยานิพนธ์.
สุขภาพ.Class number: RA776.9 ป527 2543 Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ค่านิยมทางสุขภาพ และสภาพแวดล้อมในสถาบัน กับพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของนักศึกษาพยาบาล สถาบันการศึกษาพยาบาล เขตกรุงเทพมหานคร และศึกษาปัจจัยที่ร่วมกันพยากรณ์พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของนักศึกษาพยาบาล กลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษาพยาบาลที่กำลังศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต ปีการศึกษา 2543 ในชั้นปีที่ 2, 3 และ 4 จำนวน 394 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามจำนวน 1 ชุด แบ่งเป็น 4 ตอน คือ ข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามค่านิยมทางสุขภาพ แบบสอบถามสภาพแวดล้อมในสถาบัน และแบบสอบถามพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของนักศึกษาพยาบาล ตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาและหาค่าความเที่ยงของแบบสอบถามได้ .83, .88 และ .80 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การแจกแจงความถี่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติไคสแควร์ สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของนักศึกษาพยาบาล สถาบันการศึกษาพยาบาล เขตกรุงเทพมหานครอยู่ในระดับดี 2. ค่านิยมทางสุขภาพของนักศึกษาพยาบาลอยู่ในระดับสูง และสภาพแวดล้อมในสถาบันอยู่ในระดับดี 3. ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ ภูมิลำเนา มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของนักศึกษาพยาบาลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 แต่ระดับชั้นปีและรายรับไม่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของนักศึกษาพยาบาล 4. ค่านิยมทางสุขภาพและสภาพแวดล้อมในสถาบันมีความสัมพันธ์ทางบวกกับพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของนักศึกษาพยาบาล อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 5. ปัจจัยที่ร่วมกันพยากรณ์พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของนักศึกษาพยาบาลได้ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ได้แก่ (1) ค่านิยมทางสุขภาพด้านอาหารและการบริโภค (2) ค่านิยมทางสุขภาพด้านการพัฒนาด้านจิตใจ (3) สภาพแวดล้อมในแหล่งฝึกปฏิบัติด้านจิตสังคม (4) ภูมิลำเนาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (5) ค่านิยมทางสุขภาพด้านการรักษาความสะอาด (6) ค่านิยมทางสุขภาพด้านการเลือกใช้ผลิตภัณฑ์และบริการสุขภาพ และ (7) ภูมิลำเนาภาคตะวันออก โดยสามารถร่วมกันพยากรณ์พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของนักศึกษาพยาบาลได้ร้อยละ 48.1 (R2 = .481) ได้สมการพยากรณ์ในรูปคะแนนมาตรฐาน ดังนี้ พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของนักศึกษาพยาบาล = .299 (ค่านิยมทางสุขภาพด้านอาหารและการบริโภค) + .188 (ค่านิยมทางสุขภาพด้านการพัฒนาด้านจิตใจ) + .196 (สภาพแวดล้อมในแหล่งฝึกปฏิบัติด้านจิตสังคม) + .176 (ภูมิลำเนาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) + .175 (ค่านิยมทางสุขภาพด้านการรักษาความสะอาด) + .122 (ค่านิยมทางสุขภาพด้านการเลือกใช้ผลิตภัณฑ์และบริการสุขภาพ) + .080 (ภูมิลำเนาภาคตะวันออก) Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23110 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354355 RA776.9 ป527 2543 Thesis Main Library Thesis Corner Available ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ทัศนคติต่อวิชาชีพ รูปแบบการใช้ชีวิตของนักศึกษา / ยุคลธร แจ่มฤทธิ์ / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2544
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ทัศนคติต่อวิชาชีพ รูปแบบการใช้ชีวิตของนักศึกษา : การดูแลนักศึกษาของอาจารย์ และบรรยากาศการเรียนรู้ กับการใฝ่รู้ของนักศึกษาพยาบาล วิทยาลัยพยาบาล สังกัดกระทรวงสาธารณสุข Original title : Relationships between personal factors professional attitudes nursing students : life styles instructor's caring behavior and learning climates with inquiry of nursing students nursing colleges under the jurisdiction of the Ministry of Public Health Material Type: printed text Authors: ยุคลธร แจ่มฤทธิ์, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2544 Pagination: ฎ, 165 แผ่น Layout: ตาราง Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-170-201-9 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย. ม. [การพยาบาลศึกษา]]-จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2544 Languages : English (eng) Descriptors: [LCSH]การพยาบาล -- ทัศนคติ
[LCSH]การเรียนรู้
[LCSH]ความผูกพันต่อองค์กร
[LCSH]นักศึกษาพยาบาล -- การดูแล
[LCSH]พยาบาล -- ทัศนคติ
[LCSH]วิชาชีพพยาบาล
[LCSH]วิทยานิพนธ์Keywords: วิชาชีพพยาบาล.
ทัศนคติ.
วิทยานิพนธ์.Class number: WY125 ย641 2544 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23119 ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ทัศนคติต่อวิชาชีพ รูปแบบการใช้ชีวิตของนักศึกษา = Relationships between personal factors professional attitudes nursing students : life styles instructor's caring behavior and learning climates with inquiry of nursing students nursing colleges under the jurisdiction of the Ministry of Public Health : การดูแลนักศึกษาของอาจารย์ และบรรยากาศการเรียนรู้ กับการใฝ่รู้ของนักศึกษาพยาบาล วิทยาลัยพยาบาล สังกัดกระทรวงสาธารณสุข [printed text] / ยุคลธร แจ่มฤทธิ์, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544 . - ฎ, 165 แผ่น : ตาราง ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-170-201-9 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย. ม. [การพยาบาลศึกษา]]-จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2544
Languages : English (eng)
Descriptors: [LCSH]การพยาบาล -- ทัศนคติ
[LCSH]การเรียนรู้
[LCSH]ความผูกพันต่อองค์กร
[LCSH]นักศึกษาพยาบาล -- การดูแล
[LCSH]พยาบาล -- ทัศนคติ
[LCSH]วิชาชีพพยาบาล
[LCSH]วิทยานิพนธ์Keywords: วิชาชีพพยาบาล.
ทัศนคติ.
วิทยานิพนธ์.Class number: WY125 ย641 2544 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23119 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354454 WY125 ย641 2544 Thesis Main Library Thesis Corner Available ความสัมพันธ์ระหว่างแบบของผู้นำ สภาพแวดล้อมในการทำงาน / กรวิกา พรมจวง / กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2541
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างแบบของผู้นำ สภาพแวดล้อมในการทำงาน : ขนาดขององค์การกับบรรยากาศองค์การของวิทยาลัยพยาบาล สังกัดกระทรวงสาธารณสุข Original title : Relationships between leadership style work environment : and size of the organizational climate of nursing college under the jurisdiction of the Ministry of Public Health Material Type: printed text Authors: กรวิกา พรมจวง, Author Publisher: กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2541 Pagination: ฎ, 169 แผ่น Layout: ตาราง Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-331-801-1 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]]- บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2541 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]Nurse administrators
[LCSH]Nursing -- organization & administration
[LCSH]ผู้นำ -- การบริหาร
[LCSH]พยาบาล -- กลุ่มทำงาน
[LCSH]สภาพแวดล้อมการทำงานKeywords: วิทยานิพนธ์.
ผู้นำ.Class number: RT89 ก177 2541 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23114 ความสัมพันธ์ระหว่างแบบของผู้นำ สภาพแวดล้อมในการทำงาน = Relationships between leadership style work environment : and size of the organizational climate of nursing college under the jurisdiction of the Ministry of Public Health : ขนาดขององค์การกับบรรยากาศองค์การของวิทยาลัยพยาบาล สังกัดกระทรวงสาธารณสุข [printed text] / กรวิกา พรมจวง, Author . - กรุงเทพฯ : บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2541 . - ฎ, 169 แผ่น : ตาราง ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-331-801-1 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]]- บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2541
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]Nurse administrators
[LCSH]Nursing -- organization & administration
[LCSH]ผู้นำ -- การบริหาร
[LCSH]พยาบาล -- กลุ่มทำงาน
[LCSH]สภาพแวดล้อมการทำงานKeywords: วิทยานิพนธ์.
ผู้นำ.Class number: RT89 ก177 2541 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23114 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354637 RT89 ก177 2541 Thesis Main Library Thesis Corner Available ความสัีมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านครอบครัวและการปฎิบัติของครอบครัว / สำเนา มากแบน / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2542
Title : ความสัีมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านครอบครัวและการปฎิบัติของครอบครัว : กับลักษณะของวัยรุ่นที่เข้ารับการบำำบัดในแผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลธัญญารักษ์ Original title : Relationships between family factors and family task with amphetamine addiction characteristics of adolescents attending out patient department Thanyalak hospital Material Type: printed text Authors: สำเนา มากแบน, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2542 Pagination: ฐ, 154 แผ่น Layout: ตารางประกอบ Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-333-306-1 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]]-จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2542. Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การใช้ยาในทางที่ผิด -- การรักษา
[LCSH]ครอบครัวบำบัด
[LCSH]ผู้ป่วยนอก -- การบำบัดรักษา
[LCSH]วัยรุ่น -- ยาเสพติด
[LCSH]วิทยานิพนธ์
[LCSH]แอมฟิตะมิน
[LCSH]แอมฟิตะมิน -- การบำบัดรักษา
[LCSH]โรงพยาบาลธัญญารักษ์Keywords: วิทยานิพนธ์.
แอมฟิตะมิน.
การบำบัดรักษา.Class number: HV5822 .A5 ส821 2542 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23113 ความสัีมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านครอบครัวและการปฎิบัติของครอบครัว = Relationships between family factors and family task with amphetamine addiction characteristics of adolescents attending out patient department Thanyalak hospital : กับลักษณะของวัยรุ่นที่เข้ารับการบำำบัดในแผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลธัญญารักษ์ [printed text] / สำเนา มากแบน, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542 . - ฐ, 154 แผ่น : ตารางประกอบ ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-333-306-1 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]]-จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2542.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การใช้ยาในทางที่ผิด -- การรักษา
[LCSH]ครอบครัวบำบัด
[LCSH]ผู้ป่วยนอก -- การบำบัดรักษา
[LCSH]วัยรุ่น -- ยาเสพติด
[LCSH]วิทยานิพนธ์
[LCSH]แอมฟิตะมิน
[LCSH]แอมฟิตะมิน -- การบำบัดรักษา
[LCSH]โรงพยาบาลธัญญารักษ์Keywords: วิทยานิพนธ์.
แอมฟิตะมิน.
การบำบัดรักษา.Class number: HV5822 .A5 ส821 2542 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23113 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354371 HV5822 .A5 ส821 2542 Thesis Main Library Thesis Corner Available ประสบการณ์การดูแลตนเองของผู้ที่เป็นโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังที่มีอาการกำเริ / ดารุณี เงินแท้ in วารสารสภาการพยาบาล, Vol 32. No. 1 (Jan-Mar) 2017/60 ([07/25/2017])
[article]
Title : ประสบการณ์การดูแลตนเองของผู้ที่เป็นโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังที่มีอาการกำเริ Original title : Self-Care Experience of People with Chronic Obstructive Pulmonary Disease (COPD) Exacerbation Material Type: printed text Authors: ดารุณี เงินแท้, Author ; มณี อาภานันทิกุล, Author ; สุมลชาติ ดวงบุบผา, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.47-63 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol 32. No. 1 (Jan-Mar) 2017/60 [07/25/2017] . - p.47-63Keywords: ประสบการณ์การดูแลตนเอง. ผู้ที่เป็นโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังที่มีอาการกำเริบ. การวิจัยเชิงคุณภาพ. Abstract: วัตถุประสงค์ของการวิจัย: เพื่อศึกษาประสบการณ์การดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้น
เรื้อรังที่มีอาการกำเริบ
การออกแบบการวิจัย: การวิจัยเชิงคุณภาพ
การดำเนินการวิจัย: คัดเลือกผู้ให้ข้อมูลแบบเฉพาะเจาะจงตามคุณสมบัติที่กำาหนดโดย
เป็นผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังที่มีอาการกำเริบ จำานวน 10 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เจาะลึก และบันทึกเทป วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหา
ผลการวิจัย: ประสบการณ์การดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังที่มีอาการกำเริบ
แบ่งออกเป็น 2 ระยะ ได้แก่ ระยะอาการกำาเริบและระยะอาการสงบ ซึ่งในระยะอาการกำเริบ ประกอบด้วย 4 ประเด็นหลัก ได้แก่
1) เคลื่อนไหวร่างกายให้น้อยที่สุด 2) จัดการอาการที่ทำให้หอบกำเริบมากขึ้น 3) จัดการทางเดินหายใจให้โล่งและ 4) ขอความช่วยเหลือจากคนในบ้านและเพื่อนบ้าน ส่วนในระยะอาการสงบ ประกอบด้วย 3 ประเด็นหลัก ได้แก่ 1) ควบคุมอาการหอบเหนื่อยไม่ให้กำาเริบมากขึ้น 2) หลีกเลี่ยงปัจจัยที่ทำให้อาการหอบกำเริบอย่างเคร่งครัด และ 3) ทำกิจวัตรประจำวัน ตามปกติและตามสภาพร่างกาย จากการศึกษาในครั้งนี้ทำให้เข้าใจถึงประสบการณ์
การดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังที่มีอาการกำเริบ
ข้อเสนอแนะ: พยาบาลสามารถใช้ผลการศึกษานี้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการส่งเสริมให้ความรู้
ในการดูแลตนเองแก่ผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังที่มีอาการกำาเริบเป็นรายบุคคลและเป็นกลุ่ม อีกทั้งยังเป็นประโยชน์ในการวางแผนทางการพยาบาลทั้งในระยะสั้นและระยะยาวเพื่อให้คำแนะนำ
และติดตามผลของการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังที่มีอาการกำเริบต่อไปLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26983 [article] ประสบการณ์การดูแลตนเองของผู้ที่เป็นโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังที่มีอาการกำเริ = Self-Care Experience of People with Chronic Obstructive Pulmonary Disease (COPD) Exacerbation [printed text] / ดารุณี เงินแท้, Author ; มณี อาภานันทิกุล, Author ; สุมลชาติ ดวงบุบผา, Author . - 2017 . - p.47-63.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol 32. No. 1 (Jan-Mar) 2017/60 [07/25/2017] . - p.47-63Keywords: ประสบการณ์การดูแลตนเอง. ผู้ที่เป็นโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังที่มีอาการกำเริบ. การวิจัยเชิงคุณภาพ. Abstract: วัตถุประสงค์ของการวิจัย: เพื่อศึกษาประสบการณ์การดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้น
เรื้อรังที่มีอาการกำเริบ
การออกแบบการวิจัย: การวิจัยเชิงคุณภาพ
การดำเนินการวิจัย: คัดเลือกผู้ให้ข้อมูลแบบเฉพาะเจาะจงตามคุณสมบัติที่กำาหนดโดย
เป็นผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังที่มีอาการกำเริบ จำานวน 10 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เจาะลึก และบันทึกเทป วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เนื้อหา
ผลการวิจัย: ประสบการณ์การดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังที่มีอาการกำเริบ
แบ่งออกเป็น 2 ระยะ ได้แก่ ระยะอาการกำาเริบและระยะอาการสงบ ซึ่งในระยะอาการกำเริบ ประกอบด้วย 4 ประเด็นหลัก ได้แก่
1) เคลื่อนไหวร่างกายให้น้อยที่สุด 2) จัดการอาการที่ทำให้หอบกำเริบมากขึ้น 3) จัดการทางเดินหายใจให้โล่งและ 4) ขอความช่วยเหลือจากคนในบ้านและเพื่อนบ้าน ส่วนในระยะอาการสงบ ประกอบด้วย 3 ประเด็นหลัก ได้แก่ 1) ควบคุมอาการหอบเหนื่อยไม่ให้กำาเริบมากขึ้น 2) หลีกเลี่ยงปัจจัยที่ทำให้อาการหอบกำเริบอย่างเคร่งครัด และ 3) ทำกิจวัตรประจำวัน ตามปกติและตามสภาพร่างกาย จากการศึกษาในครั้งนี้ทำให้เข้าใจถึงประสบการณ์
การดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังที่มีอาการกำเริบ
ข้อเสนอแนะ: พยาบาลสามารถใช้ผลการศึกษานี้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการส่งเสริมให้ความรู้
ในการดูแลตนเองแก่ผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังที่มีอาการกำาเริบเป็นรายบุคคลและเป็นกลุ่ม อีกทั้งยังเป็นประโยชน์ในการวางแผนทางการพยาบาลทั้งในระยะสั้นและระยะยาวเพื่อให้คำแนะนำ
และติดตามผลของการดูแลตนเองของผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังที่มีอาการกำเริบต่อไปLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26983 ประสบการณ์การดูแลเท้าของทหารที่เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 / อัทคพล มลอา in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 ([09/07/2015])
[article]
Title : ประสบการณ์การดูแลเท้าของทหารที่เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 : ที่มีภาวะแทรกซ้อนที่เท้า Original title : The experiences of foot care in type 2 diabetes Mellitus soldiers with foot complications Material Type: printed text Authors: อัทคพล มลอา, Author ; กนกพร นทีธนสมบัติ, Author ; ชฎาภา ประเสิรฐทรง, Author Publication Date: 2015 Article on page: p.50-58 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 [09/07/2015] . - p.50-58Keywords: ประสบการณ์การดูแลเท้า.โรคเบาหวานชนิดที่ 2.ภาวะแทรกซ้อนที่เท้า. Abstract: การวิจัยเชิงคุณภาพครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาประสบการณ์การดูแลเท้าของทหารที่เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 และมีภาวะแทรกซ้อนทีี่เท้า เข้ารับการรักษาในคลิกนิกเบาหวานในโรงพยาบาบค่ายพ่อขุนผาเมือง ผู้เข้าร่วมวิจัยจำนวน 10 คน ได้รับการคัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจง ตามเกณฑ์ที่กำหนดดังนี้ เป็นทหารที่ได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์ว่า เป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 และมีภาวะแทรกซ้อนที่เท้า อย่างน้อย 1 อาการ ได้แก่ ชาเท้า ปวดที่เท้าโดยอาจปวดขณะเดิน หรือขณะพัก การรับรู้ความรู้สึกต่าง ๆ ที่เท้าลดลง มีแผลที่เท้า ความผิดปกติของรูปร่างเท้า สามารถสื่อสารด้วยภาษาไทย และยินดีเข้าร่วมการวิจัย เก็บรวบรวมข้อมูลตั้งแต่วันที่ 19 พ.ค - 30 ก.ย 2557 โดยการสัมภาษณ์เชิงลึก การสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม การบันทึกภาคสนาม และวิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการวิจัยจำแนกออกเป็น 4 ประเด็น หลัก คือ 1). การรับรู้เมื่อมีความผิดปกติเกิดขึ้นที่เท้า ประกอบด้วย 4 ประเด็น ได้แก่ 1.1 อาการและอาการแสดงของความผิดปกติที่เท้า 1.2 สมรรถนะของการเป็นทหารลดลง 1.3 ขาดความมั่นใจในการดูแลเท้า และ 1.4 รู้สึกเป็นภาระของครอบครัว 2). การดูแลเท้า ประกอบด้วย 5 ประเด็นรอง ได้แก่ 2.1 การป้องกันการเกิดแผลที่เท้า 2.2 การส่งเสริมการไหลเวียนเลือดที่เท้า 2.3 การดูแลรักษาบาดแผลที่เท้า 2.4 การค้นความผิดปกติที่เกิดขึ้นกับเท้า และ 2.5 การบรรเทาอาการปวดและชาที่เท้า 3).ปัญหาในการดูแลเท้า ประกอบด้วย 4 ประเด็นรอง ได้แก่ 3.1 ความรับผิดชอบในหน้าที่ 3.2 รองเท้าคอมแบท 3.3 การรักษาไม่ต่อเนื่อง 3.4 ไม่สามารถตราจเท้าได้ 4. ความต้องการความช่วยเหลือในการดูแลเท้า ประกอบด้วย 4 ประเด็นรอง ได้แก่ รองเท้าคอมแบดที่ตัดพิเศษเฉพาะทหารที่ป่วยเบาหวาน 4.2 คู่มือการดูแลเท้าสำหรับที่เป็นเบาหวาน 4.3 จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับผู้ประสบการณ์การดูแลเท้า และ 4.4 การดูแลต่อเนื่องที่บ้านจากบุคคลบุคลากรทางการแพทย์
Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24941 [article] ประสบการณ์การดูแลเท้าของทหารที่เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 = The experiences of foot care in type 2 diabetes Mellitus soldiers with foot complications : ที่มีภาวะแทรกซ้อนที่เท้า [printed text] / อัทคพล มลอา, Author ; กนกพร นทีธนสมบัติ, Author ; ชฎาภา ประเสิรฐทรง, Author . - 2015 . - p.50-58.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 [09/07/2015] . - p.50-58Keywords: ประสบการณ์การดูแลเท้า.โรคเบาหวานชนิดที่ 2.ภาวะแทรกซ้อนที่เท้า. Abstract: การวิจัยเชิงคุณภาพครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาประสบการณ์การดูแลเท้าของทหารที่เป็นเบาหวานชนิดที่ 2 และมีภาวะแทรกซ้อนทีี่เท้า เข้ารับการรักษาในคลิกนิกเบาหวานในโรงพยาบาบค่ายพ่อขุนผาเมือง ผู้เข้าร่วมวิจัยจำนวน 10 คน ได้รับการคัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจง ตามเกณฑ์ที่กำหนดดังนี้ เป็นทหารที่ได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์ว่า เป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 และมีภาวะแทรกซ้อนที่เท้า อย่างน้อย 1 อาการ ได้แก่ ชาเท้า ปวดที่เท้าโดยอาจปวดขณะเดิน หรือขณะพัก การรับรู้ความรู้สึกต่าง ๆ ที่เท้าลดลง มีแผลที่เท้า ความผิดปกติของรูปร่างเท้า สามารถสื่อสารด้วยภาษาไทย และยินดีเข้าร่วมการวิจัย เก็บรวบรวมข้อมูลตั้งแต่วันที่ 19 พ.ค - 30 ก.ย 2557 โดยการสัมภาษณ์เชิงลึก การสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม การบันทึกภาคสนาม และวิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา ผลการวิจัยจำแนกออกเป็น 4 ประเด็น หลัก คือ 1). การรับรู้เมื่อมีความผิดปกติเกิดขึ้นที่เท้า ประกอบด้วย 4 ประเด็น ได้แก่ 1.1 อาการและอาการแสดงของความผิดปกติที่เท้า 1.2 สมรรถนะของการเป็นทหารลดลง 1.3 ขาดความมั่นใจในการดูแลเท้า และ 1.4 รู้สึกเป็นภาระของครอบครัว 2). การดูแลเท้า ประกอบด้วย 5 ประเด็นรอง ได้แก่ 2.1 การป้องกันการเกิดแผลที่เท้า 2.2 การส่งเสริมการไหลเวียนเลือดที่เท้า 2.3 การดูแลรักษาบาดแผลที่เท้า 2.4 การค้นความผิดปกติที่เกิดขึ้นกับเท้า และ 2.5 การบรรเทาอาการปวดและชาที่เท้า 3).ปัญหาในการดูแลเท้า ประกอบด้วย 4 ประเด็นรอง ได้แก่ 3.1 ความรับผิดชอบในหน้าที่ 3.2 รองเท้าคอมแบท 3.3 การรักษาไม่ต่อเนื่อง 3.4 ไม่สามารถตราจเท้าได้ 4. ความต้องการความช่วยเหลือในการดูแลเท้า ประกอบด้วย 4 ประเด็นรอง ได้แก่ รองเท้าคอมแบดที่ตัดพิเศษเฉพาะทหารที่ป่วยเบาหวาน 4.2 คู่มือการดูแลเท้าสำหรับที่เป็นเบาหวาน 4.3 จัดกิจกรรมแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับผู้ประสบการณ์การดูแลเท้า และ 4.4 การดูแลต่อเนื่องที่บ้านจากบุคคลบุคลากรทางการแพทย์
Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24941 ประสบการณ์การใช้ศิลปะการไกล่เกลี่ยที่ประสบความสำเร็จ ของพยาบาลวิชาชีพ / วิภา พงษ์ทอง in วารสารเกื้อการุณย์, Vol.24 No.1 (Jan-Jun) 2017/60 ([07/25/2017])
[article]
Title : ประสบการณ์การใช้ศิลปะการไกล่เกลี่ยที่ประสบความสำเร็จ ของพยาบาลวิชาชีพ Original title : A study of professional nurses autonomy in hospitals and medicak centers Ministry of Public Health Material Type: printed text Authors: วิภา พงษ์ทอง, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.70-85 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.24 No.1 (Jan-Jun) 2017/60 [07/25/2017] . - p.70-85Keywords: ประสบการณ์. ศิลปะการไกล่เกลี่ย. พยาบาลวิชาชีพ. Abstract: การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
บรรยายความหมายและประสบการณ์การใช้ศิลปะการไกล่เกลี่ยที่ประสบความสำเร็จของพยาบาลวิชาชีพ โดยใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพแบบปรากฏการณ์วิทยา
คัดเลือกผู้ให้ข้อมูลแบบเฉพาะเจาะจง คือพยาบาลวิชาชีพที่มีประสบการณ์ในการจัดการข้อร้องเรียนด้วยการใช้การไกล่เกลี่ยจนประสบความสำเร็จ เป็นผู้ร่วมไกล่เกลี่ยไม่น้อยกว่า10 เรื่องหรือเป็นหัวหน้าผู้ไกล่เกลี่ยไม่น้อยกว่า 5 เรื่องและ/หรือเป็นบุคคลที่มีผลงานในการแก้ไข
ข้อร้องเรียนอย่างเด่นชัดจนเป็นต้นแบบในด้านการจัดการข้อร้องเรียน จำนวน 10 คน คัดเลือก
โดยใช้วิธีการบอกต่อแบบลูกโซ่ เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก วิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหาตามวิธีการของ Van Manen
ผลการศึกษา พบว่า ความหมายของการใช้ศิลปะการไกล่เกลี่ยที่ประสบความสำเร็จ
มี 4 ความหมาย คือ 1) ความสามารถในการสร้างความเข้าใจที่ตรงกันนำไปสู่การยุติแบบสร้างสรรค์ 2) การประสานให้คู่กรณีกลับมามีสัมพันธภาพที่ดีต่อกัน 3) การเข้าใจถึงความสูญเสียเยียวยาหัวใจเขาด้วยหัวใจเราและ 4) การหาทางออกประนีประนอมให้ได้ผลประโยชน์ร่วมกัน
ส่วนประสบการณ์การใช้ศิลปะในการไกล่เกลี่ยที่ประสบความสำเร็จ พบ 9 ประเด็นหลัก คือ
1) มีหลักคิดในงาน รักที่จะทำงานด้วยใจ 2) มีหลักคิดว่าทุกคนคือญาติ 3) การแสดงความจริงใจมีใจบริการ ปราศจากเงื่อนไข 4) การทำความเข้าใจข้อเท็จจริงอย่างรวดเร็ว 5) การฟังอย่างเข้าใจโดยไม่ตัดสิน 6) การพูดสื่อสารความเข้าใจ แก้ไขสถานการณ์ 7) การใช้ภาษากายเพื่อสื่อสารความต้องการของผู้ร้องเรียน และทำความเข้าใจผู้ถูกร้องเรียน 8) การประสานงานแบบไร้รอยต่อและ 9) การเยียวยาอย่างเข้าใจLink for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27059 [article] ประสบการณ์การใช้ศิลปะการไกล่เกลี่ยที่ประสบความสำเร็จ ของพยาบาลวิชาชีพ = A study of professional nurses autonomy in hospitals and medicak centers Ministry of Public Health [printed text] / วิภา พงษ์ทอง, Author . - 2017 . - p.70-85.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.24 No.1 (Jan-Jun) 2017/60 [07/25/2017] . - p.70-85Keywords: ประสบการณ์. ศิลปะการไกล่เกลี่ย. พยาบาลวิชาชีพ. Abstract: การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ
บรรยายความหมายและประสบการณ์การใช้ศิลปะการไกล่เกลี่ยที่ประสบความสำเร็จของพยาบาลวิชาชีพ โดยใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพแบบปรากฏการณ์วิทยา
คัดเลือกผู้ให้ข้อมูลแบบเฉพาะเจาะจง คือพยาบาลวิชาชีพที่มีประสบการณ์ในการจัดการข้อร้องเรียนด้วยการใช้การไกล่เกลี่ยจนประสบความสำเร็จ เป็นผู้ร่วมไกล่เกลี่ยไม่น้อยกว่า10 เรื่องหรือเป็นหัวหน้าผู้ไกล่เกลี่ยไม่น้อยกว่า 5 เรื่องและ/หรือเป็นบุคคลที่มีผลงานในการแก้ไข
ข้อร้องเรียนอย่างเด่นชัดจนเป็นต้นแบบในด้านการจัดการข้อร้องเรียน จำนวน 10 คน คัดเลือก
โดยใช้วิธีการบอกต่อแบบลูกโซ่ เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก วิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหาตามวิธีการของ Van Manen
ผลการศึกษา พบว่า ความหมายของการใช้ศิลปะการไกล่เกลี่ยที่ประสบความสำเร็จ
มี 4 ความหมาย คือ 1) ความสามารถในการสร้างความเข้าใจที่ตรงกันนำไปสู่การยุติแบบสร้างสรรค์ 2) การประสานให้คู่กรณีกลับมามีสัมพันธภาพที่ดีต่อกัน 3) การเข้าใจถึงความสูญเสียเยียวยาหัวใจเขาด้วยหัวใจเราและ 4) การหาทางออกประนีประนอมให้ได้ผลประโยชน์ร่วมกัน
ส่วนประสบการณ์การใช้ศิลปะในการไกล่เกลี่ยที่ประสบความสำเร็จ พบ 9 ประเด็นหลัก คือ
1) มีหลักคิดในงาน รักที่จะทำงานด้วยใจ 2) มีหลักคิดว่าทุกคนคือญาติ 3) การแสดงความจริงใจมีใจบริการ ปราศจากเงื่อนไข 4) การทำความเข้าใจข้อเท็จจริงอย่างรวดเร็ว 5) การฟังอย่างเข้าใจโดยไม่ตัดสิน 6) การพูดสื่อสารความเข้าใจ แก้ไขสถานการณ์ 7) การใช้ภาษากายเพื่อสื่อสารความต้องการของผู้ร้องเรียน และทำความเข้าใจผู้ถูกร้องเรียน 8) การประสานงานแบบไร้รอยต่อและ 9) การเยียวยาอย่างเข้าใจLink for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27059 ประสบการณ์ของผู้ทำหน้าที่ตัดสินใจแทนผู้ป่วยในการตัดสินใจยุติการรักษาเพื่อยืดชีวิต: ความต้องการการช่วยเหลือจากแพทย์และพยาบาล / ปริญญา แร่ทอง in วารสารสภาการพยาบาล, Vol.31 No.4 (Oct-Dec) 2016/59 ([07/25/2017])
[article]
Title : ประสบการณ์ของผู้ทำหน้าที่ตัดสินใจแทนผู้ป่วยในการตัดสินใจยุติการรักษาเพื่อยืดชีวิต: ความต้องการการช่วยเหลือจากแพทย์และพยาบาล Original title : Experience of Surrogate Decision Makers in Withdrawing Life-Sustaining Treatment: Types of Help Needed from Physicians and Nurse Material Type: printed text Authors: ปริญญา แร่ทอง, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.122-133 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.4 (Oct-Dec) 2016/59 [07/25/2017] . - p.122-133Keywords: ความช่วยเหลือจากแพทย์.ความช่วยเหลือจากพยาบาล.การตัดสินใจยุติการรักษาเพื่อยืดชีวิต.ประสบการณ์ผู้ทำหน้าที่การตัดสินใจยุติการรักษาเพื่อยืดชีวิต. Abstract: บทคัดย่อ : วัตถุประสงค์ของการวิจัย : เพื่อศึกษำประสบกำรณ์ของผู้ทำหน้าที่ตัดสินใจแทนผู้ป่วยในการยุติการรักษาเพื่อยืดชีวิตผู้ป่วยระยะท้าย ด้านความต้องการการช่วยเหลือจากแพทย์
และพยาบาล
การออกแบบวิจัย : การวิจัยคุณภาพเชิงปรากฏการณ์วิทยา
วิธีดำเนินการวิจัย : ผู้ให้ข้อมูลเป็นผู้ที่ทำหน้าที่ตัดสินใจแทนผู้ป่วยในการยุติการรักษาเพื่อยืดชีวิตผู้ป่วยระยะท้ายที่เข้ารักษาในหอผู้ป่วย โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ
จำนวน 13 ราย คัดเลือกผู้ให้ข้อมูลหลักแบบเฉพำะเจาะจง เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภำษณ์เชิงลึก วิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหาตามหลักการของโคไลซี
ผลการวิจัย : ประสบกำรณ์ของผู้ทำหน้าที่ตัดสินใจแทนผู้ป่วยในการยุติการรักษาเพื่อยืดชีวิตผู้ป่วยระยะท้าย ด้านควำมต้องการการช่วยเหลือจากแพทย์และพยาบาล ประกอบด้วย
ประเด็นดังนี้ 1) ข้อมูลและการให้คำปรึกษา โดยมีประเด็นย่อยคือ 1.1) ข้อมูลชัดเจน เพียงพอและต่อเนื่อง 1.2) การเปิดโอกาสให้ซักถามและได้รับคำตอบในสิ่งที่สงสัย 1.3) การพูด
สะท้อนคิดเพื่อให้ตัดสินใจได้ด้วยตนเอง 2) การยืดหยุ่นเวลาเยี่ยมเพื่อให้มีส่วนร่วมดูแล 3) การช่วยดูแลผู้ป่วยให้ดีที่สุด โดยมีประเด็นย่อยคือ 3.1) สุขสบายทั้งกายใจ ไม่เจ็บปวด
ทุกข์ทรมาน 3.2) เคารพในศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ 3.3) ตายดี จิตวิญญาณสู่สุขคติภูมิ
ข้อเสนอแนะ : ผลกำรวิจัย สำมำรถนำมาใช้ประโยชน์สำหรับบุคลากรทีมสุขภาพ เพื่อใช้ในพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง ด้านการวางแผนเตรียมความพร้อมของ
ผู้ที่ทำหน้าที่ตัดสินใจแทนผู้ป่วยในการตัดสินใจเพื่อยุติการรักษาเพื่อยืดชีวิตผู้ป่วยระยะท้ำยที่สอดคล้องกับความต้องการของผู้รับบริการ รวมทั้งนำมาใช้ในการจัดเรียนการสอนเพื่อช่วย
ให้นักศึกษาแพทย์และนักศึกษาพยาบาลให้เกิดควำมเข้าใจและรับรู้ถึงความรู้สึกแท้จริงที่เกิดขึ้นตำมปรากฏการณ์อย่างลึกซึ้งต่อไปLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27054 [article] ประสบการณ์ของผู้ทำหน้าที่ตัดสินใจแทนผู้ป่วยในการตัดสินใจยุติการรักษาเพื่อยืดชีวิต: ความต้องการการช่วยเหลือจากแพทย์และพยาบาล = Experience of Surrogate Decision Makers in Withdrawing Life-Sustaining Treatment: Types of Help Needed from Physicians and Nurse [printed text] / ปริญญา แร่ทอง, Author . - 2017 . - p.122-133.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.4 (Oct-Dec) 2016/59 [07/25/2017] . - p.122-133Keywords: ความช่วยเหลือจากแพทย์.ความช่วยเหลือจากพยาบาล.การตัดสินใจยุติการรักษาเพื่อยืดชีวิต.ประสบการณ์ผู้ทำหน้าที่การตัดสินใจยุติการรักษาเพื่อยืดชีวิต. Abstract: บทคัดย่อ : วัตถุประสงค์ของการวิจัย : เพื่อศึกษำประสบกำรณ์ของผู้ทำหน้าที่ตัดสินใจแทนผู้ป่วยในการยุติการรักษาเพื่อยืดชีวิตผู้ป่วยระยะท้าย ด้านความต้องการการช่วยเหลือจากแพทย์
และพยาบาล
การออกแบบวิจัย : การวิจัยคุณภาพเชิงปรากฏการณ์วิทยา
วิธีดำเนินการวิจัย : ผู้ให้ข้อมูลเป็นผู้ที่ทำหน้าที่ตัดสินใจแทนผู้ป่วยในการยุติการรักษาเพื่อยืดชีวิตผู้ป่วยระยะท้ายที่เข้ารักษาในหอผู้ป่วย โรงพยาบาลธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ
จำนวน 13 ราย คัดเลือกผู้ให้ข้อมูลหลักแบบเฉพำะเจาะจง เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภำษณ์เชิงลึก วิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหาตามหลักการของโคไลซี
ผลการวิจัย : ประสบกำรณ์ของผู้ทำหน้าที่ตัดสินใจแทนผู้ป่วยในการยุติการรักษาเพื่อยืดชีวิตผู้ป่วยระยะท้าย ด้านควำมต้องการการช่วยเหลือจากแพทย์และพยาบาล ประกอบด้วย
ประเด็นดังนี้ 1) ข้อมูลและการให้คำปรึกษา โดยมีประเด็นย่อยคือ 1.1) ข้อมูลชัดเจน เพียงพอและต่อเนื่อง 1.2) การเปิดโอกาสให้ซักถามและได้รับคำตอบในสิ่งที่สงสัย 1.3) การพูด
สะท้อนคิดเพื่อให้ตัดสินใจได้ด้วยตนเอง 2) การยืดหยุ่นเวลาเยี่ยมเพื่อให้มีส่วนร่วมดูแล 3) การช่วยดูแลผู้ป่วยให้ดีที่สุด โดยมีประเด็นย่อยคือ 3.1) สุขสบายทั้งกายใจ ไม่เจ็บปวด
ทุกข์ทรมาน 3.2) เคารพในศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ 3.3) ตายดี จิตวิญญาณสู่สุขคติภูมิ
ข้อเสนอแนะ : ผลกำรวิจัย สำมำรถนำมาใช้ประโยชน์สำหรับบุคลากรทีมสุขภาพ เพื่อใช้ในพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยแบบประคับประคอง ด้านการวางแผนเตรียมความพร้อมของ
ผู้ที่ทำหน้าที่ตัดสินใจแทนผู้ป่วยในการตัดสินใจเพื่อยุติการรักษาเพื่อยืดชีวิตผู้ป่วยระยะท้ำยที่สอดคล้องกับความต้องการของผู้รับบริการ รวมทั้งนำมาใช้ในการจัดเรียนการสอนเพื่อช่วย
ให้นักศึกษาแพทย์และนักศึกษาพยาบาลให้เกิดควำมเข้าใจและรับรู้ถึงความรู้สึกแท้จริงที่เกิดขึ้นตำมปรากฏการณ์อย่างลึกซึ้งต่อไปLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27054 ประสบการณ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วยในการใช้อารมณ์ขัน เพื่อการจัดการสถานการณ์ตึงเครียดในหอผู้ป่วย / นิตยา พ่วงดี in วารสารเกื้อการุณย์, Vol.24 No.1 (Jan-Jun) 2017/60 ([07/25/2017])
[article]
Title : ประสบการณ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วยในการใช้อารมณ์ขัน เพื่อการจัดการสถานการณ์ตึงเครียดในหอผู้ป่วย Original title : Experiences of Head Nurses in Using Humor for Tension Situation Management in Patient Unit Material Type: printed text Authors: นิตยา พ่วงดี, Author ; วาสินี วิเศษฤทธิ์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.55-69 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.24 No.1 (Jan-Jun) 2017/60 [07/25/2017] . - p.55-69Keywords: หัวหน้าหอผู้ป่วย.การจัดการสถานการณ์ตึงเครียด.ประสบการณ์หัวหน้าผู้ป่วย. Abstract: การวิจัยเชิงคุณภาพตามแนวคิดปรากฏการณ์วิทยา (Husserl phenomenology)
มีวัตถุประสงค์
1) เพื่อบรรยายประสบการณ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วยในการใช้อารมณ์ขัน
2) จัดการสถานการณ์ตึงเครียดในหอผู้ป่วย ผู้ให้ข้อมูลเป็นหัวหน้าหอผู้ป่วยในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยภายใต้กำกับรัฐแห่งหนึ่ง ที่ได้รับการยอมรับจากหัวหน้าและเพื่อนร่วมงานว่าเป็นผู้มีอารมณ์ขันมีประสบการณ์ในการนำอารมณ์ขันมาใช้ในการจัดการสถานการณ์ตึงเครียดในหอผู้ป่วย
มีประสบการณ์ในการทำงานในตำแหน่งหัวหน้าหอผู้ป่วยเป็นเวลา 2 ปีขึ้นไป และยินดีเข้าร่วมการ
เป็นผู้ให้ข้อมูล โดยคัดเลือกแบบเจาะจงและจากการบอกต่อแบบลูกโซ่ จำนวน 10 ราย เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกและนำข้อมูลมาถอดความแบบคำต่อคำ วิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหาตามวิธีของ Van Manen (1990)
ผลการศึกษา พบว่า
ประสบการณ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วยในการใช้อารมณ์ขันเพื่อการจัดการสถานการณ์ตึงเครียดในหอผู้ป่วย ประกอบด้วย 4 ประเด็นหลัก ดังนี้
1) สถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับสภาวการณ์ตึงเครียดในหอผู้ป่วย ได้แก่
1.1) สถานการณ์ตึงเครียดเนื่องมาจากการดูแลผู้ป่วย
1.2) สถานการณ์ตึงเครียดเนื่องมาจากนโยบายของโรงพยาบาล และ
1.3) สถานการณ์ตึงเครียดเนื่องมาจากขาดแคลนบุคลากรพยาบาล
2) อารมณ์ขันเป็นวิธีที่ดีในการจัดการสถานการณ์ตึงเครียด ได้แก่
2.1) อารมณ์ขันช่วยทำให้มีความคิดเชิงบวก
2.2) อารมณ์ขันช่วยทำให้สถานการณ์คลี่คลาย
และ 2.3) อารมณ์ขันช่วยทำให้มีความสุขและได้แบ่งปันความสุข
3) ประสบการณ์ของการจัดการสถานการณ์ตึงเครียดโดยใช้อารมณ์ขัน ได้แก่
3.1) ประเมินสถานการณ์ก่อนใช้อารมณ์ขัน
3.2) ใช้อารมณ์ขันให้เหมาะสมกับบุคคล
3.3) ต้องมีสัมพันธภาพที่ดีต่อกันก่อนใช้อารมณ์ขัน และ
4) บทเรียนที่ได้รับภายหลังการใช้อารมณ์ขัน ได้แก่
4.1) บรรยากาศในการทำงานดี บุคลากรมีความสุข 4.2) มีเสน่ห์ รวยเพื่อน
4.3) พยาบาลอารมณ์ดี ลดการกระทบกระทั่งกับผู้ป่วย
4.4) เปิดโลกทางความคิดสร้างสรรค์ให้บุคลากร และ
4.5) มีข้อพึงระวังในการใช้อารมณ์ขัน
ผลการวิจัยครั้งนี้สามารถนำไปเป็นแนวทางแก่หัวหน้าหอผู้ป่วยในการนำอารมณ์ขันมาใช้
ในการจัดการสถานการณ์ตึงเครียด เพื่อให้การบริหารหอผู้ป่วยมีประสิทธิภาพ และเป็นแนวทาง
ในการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับการใช้อารมณ์ขันในการพัฒนา บริหารจัดการคุณภาพบริการพยาบาลLink for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27058 [article] ประสบการณ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วยในการใช้อารมณ์ขัน เพื่อการจัดการสถานการณ์ตึงเครียดในหอผู้ป่วย = Experiences of Head Nurses in Using Humor for Tension Situation Management in Patient Unit [printed text] / นิตยา พ่วงดี, Author ; วาสินี วิเศษฤทธิ์, Author . - 2017 . - p.55-69.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.24 No.1 (Jan-Jun) 2017/60 [07/25/2017] . - p.55-69Keywords: หัวหน้าหอผู้ป่วย.การจัดการสถานการณ์ตึงเครียด.ประสบการณ์หัวหน้าผู้ป่วย. Abstract: การวิจัยเชิงคุณภาพตามแนวคิดปรากฏการณ์วิทยา (Husserl phenomenology)
มีวัตถุประสงค์
1) เพื่อบรรยายประสบการณ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วยในการใช้อารมณ์ขัน
2) จัดการสถานการณ์ตึงเครียดในหอผู้ป่วย ผู้ให้ข้อมูลเป็นหัวหน้าหอผู้ป่วยในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยภายใต้กำกับรัฐแห่งหนึ่ง ที่ได้รับการยอมรับจากหัวหน้าและเพื่อนร่วมงานว่าเป็นผู้มีอารมณ์ขันมีประสบการณ์ในการนำอารมณ์ขันมาใช้ในการจัดการสถานการณ์ตึงเครียดในหอผู้ป่วย
มีประสบการณ์ในการทำงานในตำแหน่งหัวหน้าหอผู้ป่วยเป็นเวลา 2 ปีขึ้นไป และยินดีเข้าร่วมการ
เป็นผู้ให้ข้อมูล โดยคัดเลือกแบบเจาะจงและจากการบอกต่อแบบลูกโซ่ จำนวน 10 ราย เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกและนำข้อมูลมาถอดความแบบคำต่อคำ วิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหาตามวิธีของ Van Manen (1990)
ผลการศึกษา พบว่า
ประสบการณ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วยในการใช้อารมณ์ขันเพื่อการจัดการสถานการณ์ตึงเครียดในหอผู้ป่วย ประกอบด้วย 4 ประเด็นหลัก ดังนี้
1) สถานการณ์ที่เกี่ยวข้องกับสภาวการณ์ตึงเครียดในหอผู้ป่วย ได้แก่
1.1) สถานการณ์ตึงเครียดเนื่องมาจากการดูแลผู้ป่วย
1.2) สถานการณ์ตึงเครียดเนื่องมาจากนโยบายของโรงพยาบาล และ
1.3) สถานการณ์ตึงเครียดเนื่องมาจากขาดแคลนบุคลากรพยาบาล
2) อารมณ์ขันเป็นวิธีที่ดีในการจัดการสถานการณ์ตึงเครียด ได้แก่
2.1) อารมณ์ขันช่วยทำให้มีความคิดเชิงบวก
2.2) อารมณ์ขันช่วยทำให้สถานการณ์คลี่คลาย
และ 2.3) อารมณ์ขันช่วยทำให้มีความสุขและได้แบ่งปันความสุข
3) ประสบการณ์ของการจัดการสถานการณ์ตึงเครียดโดยใช้อารมณ์ขัน ได้แก่
3.1) ประเมินสถานการณ์ก่อนใช้อารมณ์ขัน
3.2) ใช้อารมณ์ขันให้เหมาะสมกับบุคคล
3.3) ต้องมีสัมพันธภาพที่ดีต่อกันก่อนใช้อารมณ์ขัน และ
4) บทเรียนที่ได้รับภายหลังการใช้อารมณ์ขัน ได้แก่
4.1) บรรยากาศในการทำงานดี บุคลากรมีความสุข 4.2) มีเสน่ห์ รวยเพื่อน
4.3) พยาบาลอารมณ์ดี ลดการกระทบกระทั่งกับผู้ป่วย
4.4) เปิดโลกทางความคิดสร้างสรรค์ให้บุคลากร และ
4.5) มีข้อพึงระวังในการใช้อารมณ์ขัน
ผลการวิจัยครั้งนี้สามารถนำไปเป็นแนวทางแก่หัวหน้าหอผู้ป่วยในการนำอารมณ์ขันมาใช้
ในการจัดการสถานการณ์ตึงเครียด เพื่อให้การบริหารหอผู้ป่วยมีประสิทธิภาพ และเป็นแนวทาง
ในการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับการใช้อารมณ์ขันในการพัฒนา บริหารจัดการคุณภาพบริการพยาบาลLink for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27058 ผลของการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรื่่องการดูแลตนเองของเด็กธาลัสซีเมีย / อมรรัตน์ ลิ้มจิตสมบูรณ์ / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2542
Title : ผลของการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรื่่องการดูแลตนเองของเด็กธาลัสซีเมีย : ต่อความรู้และพฤติกรรมการดูแลตนเองของเด็กวัยเรียนโรคธาลัสซีเมีย Original title : Effect of using computer assisted instruction on self-care ; of Thalassemic child on knowledge and self-care behavior of school age children with Thalassemia Material Type: printed text Authors: อมรรัตน์ ลิ้มจิตสมบูรณ์, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2542 Pagination: ฎ,170 แผ่น Layout: ตารางประกอบ Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-334-068-8 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การพยาบาลศึกศ]]-จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2542 . Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การดูแลตนเอง
[LCSH]คอมพิวเตอร์ช่วยสอน -- วิจัย
[LCSH]ธาลัสซีเมีย
[LCSH]วิทยานิพนธ์
[LCSH]เด็ก -- การดูแลรักษาKeywords: ธาลัสซีเมีย.
วิทยานิพนธ์.Class number: WH155 อ967 2542 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23112 ผลของการใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสอนเรื่่องการดูแลตนเองของเด็กธาลัสซีเมีย = Effect of using computer assisted instruction on self-care ; of Thalassemic child on knowledge and self-care behavior of school age children with Thalassemia : ต่อความรู้และพฤติกรรมการดูแลตนเองของเด็กวัยเรียนโรคธาลัสซีเมีย [printed text] / อมรรัตน์ ลิ้มจิตสมบูรณ์, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542 . - ฎ,170 แผ่น : ตารางประกอบ ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-334-068-8 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การพยาบาลศึกศ]]-จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2542 .
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การดูแลตนเอง
[LCSH]คอมพิวเตอร์ช่วยสอน -- วิจัย
[LCSH]ธาลัสซีเมีย
[LCSH]วิทยานิพนธ์
[LCSH]เด็ก -- การดูแลรักษาKeywords: ธาลัสซีเมีย.
วิทยานิพนธ์.Class number: WH155 อ967 2542 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23112 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354363 WH155 อ967 2542 Thesis Main Library Thesis Corner Available