From this page you can:
Home |
วารสารเกื้อการุณย์ / คณะพยาบาลศาสตร์ เกื้อการุณย์ มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช . Vol.23 No.2 (Jul-Dec) 2016/59Published date : 05/17/2017 |
Available articles
Add the result to your basketปัญหาอุปสรรค และแนวทางการแก้ไข การลดน้ำหนักของนักศึกษาพยาบาลที่มีภาวะอ้วน / แสงเทียน ธรรมลิขิตกุล in วารสารเกื้อการุณย์, Vol.23 No.2 (Jul-Dec) 2016/59 ([05/17/2017])
[article]
Title : ปัญหาอุปสรรค และแนวทางการแก้ไข การลดน้ำหนักของนักศึกษาพยาบาลที่มีภาวะอ้วน : คณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์ มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช Original title : Problems and barriers and the approaches to solve in losing weight of obese nursing students at Kualarun Faculty of Nursing in Nacamindradhiraj University Material Type: printed text Authors: แสงเทียน ธรรมลิขิตกุล, Author ; สิริรัก สินอุดมผล, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.7-30 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.23 No.2 (Jul-Dec) 2016/59 [05/17/2017] . - p.7-30Keywords: ภาวะอ้วน.การลดน้ำหนัก.นักศึกษาพยาบาล.ปัญหาอุปสรรค.แนวทางการแก้ไข. Abstract: เป็นการวิจัยเชิงผสมผสาน แบบเชิงอธิบาย มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจดัชนีมวลกายของนักศึกษา คณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณ์ ม.นวมินทราธิราช ดำเนินการวิจัยแบ่งเป็น 2 ระยะ ระยะแรกวิจัยเชิงปริมาณ นักศึกษาพยาบาลปี 1-4 จำนวน 804 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบวัดประเมินน้ำหนัก - ส่วนสูง ระยะที่สองคือ ใช้วิธีวิจัยเชิงคุณภาพ ผู้ให้ข้อมูลหลักคือ นักศึกษาพยาบาลที่มีภาวะอ้วน (ฺBMI > 25 Kg/M2 จำนวน 15 ราย ทำการคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง และอาสาสมัครเข้าร่วมโครงการวิจัย เก็บข้อมูลสัมภาษณ์เชิงลึก...
ผลการศึกษาพบว่า น.ศ. พยาบาลมีน้ำหนักผิดปกติร้อยละ 0.62 น้ำหนักปกติร้อยละ 92.29 น้ำหนักเกินร้อยละ 2.74 และมีภาวะอ้วนร้อยละ 4.35 และพบปัจจัยที่เป็นปัญหาอุปสรรคของนักศึกษาที่มีภาวะอ้วน 3 ประเด็น คือ 1)ปัจจัยนำ คืออุปนิสัยคนอ้วน (เสียดาย เกรงใจ ขี้เกียจ ทำตามใจตนเอง และชอบแก้ตัว) ทัศนคติดทางบวกต่ออาหาร ขาดการควบคุมตนเอง ขาดแรงจูงใจ และจัดการความเครียดไม่เหมาะสม 2)ปัจจัยกระตุ้น ประกอบด้วย ลักษณะเฉพาะของวิชาชีพพยาบาล นโนบายการบริหารเน้นวิชาการ 3)ปัจจัยเสริมประกอบด้วย ขาดระบบส่งเสริมสุขภาพ และรักสนับสนุนของครอบครัวทางลง
แนวทางการแก้ไขการลดน้ำหนัก 1. ปัจจัยเอื้อ ประกอบด้วย การได้รับการสนับสนุนทางสังคมจากสถาบัน การได้รับการสนับสนุนจากเพื่อน และการได้รับการสนับสนุนจากครอบครัว การศึกษานี้ช่วยให้เกิดความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาอุปสรรคในการลดน้ำหนักเพิ่มขึ้น นำไปพัฒนาการจัดโปรแกรมการลดน้ำหนักได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเป็นแนวทางให้วัยรุ่นที่มีภาวถอ้วน นำไปปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตนเอง ให้มีสุขภาวะที่ดีต่อไปLink for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26729 [article] ปัญหาอุปสรรค และแนวทางการแก้ไข การลดน้ำหนักของนักศึกษาพยาบาลที่มีภาวะอ้วน = Problems and barriers and the approaches to solve in losing weight of obese nursing students at Kualarun Faculty of Nursing in Nacamindradhiraj University : คณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์ มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช [printed text] / แสงเทียน ธรรมลิขิตกุล, Author ; สิริรัก สินอุดมผล, Author . - 2017 . - p.7-30.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.23 No.2 (Jul-Dec) 2016/59 [05/17/2017] . - p.7-30Keywords: ภาวะอ้วน.การลดน้ำหนัก.นักศึกษาพยาบาล.ปัญหาอุปสรรค.แนวทางการแก้ไข. Abstract: เป็นการวิจัยเชิงผสมผสาน แบบเชิงอธิบาย มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจดัชนีมวลกายของนักศึกษา คณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณ์ ม.นวมินทราธิราช ดำเนินการวิจัยแบ่งเป็น 2 ระยะ ระยะแรกวิจัยเชิงปริมาณ นักศึกษาพยาบาลปี 1-4 จำนวน 804 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบวัดประเมินน้ำหนัก - ส่วนสูง ระยะที่สองคือ ใช้วิธีวิจัยเชิงคุณภาพ ผู้ให้ข้อมูลหลักคือ นักศึกษาพยาบาลที่มีภาวะอ้วน (ฺBMI > 25 Kg/M2 จำนวน 15 ราย ทำการคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง และอาสาสมัครเข้าร่วมโครงการวิจัย เก็บข้อมูลสัมภาษณ์เชิงลึก...
ผลการศึกษาพบว่า น.ศ. พยาบาลมีน้ำหนักผิดปกติร้อยละ 0.62 น้ำหนักปกติร้อยละ 92.29 น้ำหนักเกินร้อยละ 2.74 และมีภาวะอ้วนร้อยละ 4.35 และพบปัจจัยที่เป็นปัญหาอุปสรรคของนักศึกษาที่มีภาวะอ้วน 3 ประเด็น คือ 1)ปัจจัยนำ คืออุปนิสัยคนอ้วน (เสียดาย เกรงใจ ขี้เกียจ ทำตามใจตนเอง และชอบแก้ตัว) ทัศนคติดทางบวกต่ออาหาร ขาดการควบคุมตนเอง ขาดแรงจูงใจ และจัดการความเครียดไม่เหมาะสม 2)ปัจจัยกระตุ้น ประกอบด้วย ลักษณะเฉพาะของวิชาชีพพยาบาล นโนบายการบริหารเน้นวิชาการ 3)ปัจจัยเสริมประกอบด้วย ขาดระบบส่งเสริมสุขภาพ และรักสนับสนุนของครอบครัวทางลง
แนวทางการแก้ไขการลดน้ำหนัก 1. ปัจจัยเอื้อ ประกอบด้วย การได้รับการสนับสนุนทางสังคมจากสถาบัน การได้รับการสนับสนุนจากเพื่อน และการได้รับการสนับสนุนจากครอบครัว การศึกษานี้ช่วยให้เกิดความเข้าใจเกี่ยวกับปัญหาอุปสรรคในการลดน้ำหนักเพิ่มขึ้น นำไปพัฒนาการจัดโปรแกรมการลดน้ำหนักได้อย่างมีประสิทธิภาพ และเป็นแนวทางให้วัยรุ่นที่มีภาวถอ้วน นำไปปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตนเอง ให้มีสุขภาวะที่ดีต่อไปLink for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26729 สัมพันธภาพในครอบครัวในการส่งเสริมการดูแลตนเองเพื่อควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด / ธีรนันท์ วรรณศิริ in วารสารเกื้อการุณย์, Vol.23 No.2 (Jul-Dec) 2016/59 ([05/17/2017])
[article]
Title : สัมพันธภาพในครอบครัวในการส่งเสริมการดูแลตนเองเพื่อควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด : ของผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมน้ำตาลไม่ได้ Original title : Families relationship in self-care promotipn for uncontrolling blood sugar in type 2 diabetes Material Type: printed text Authors: ธีรนันท์ วรรณศิริ, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.31-50 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.23 No.2 (Jul-Dec) 2016/59 [05/17/2017] . - p.31-50Keywords: โรคเบาหวาน.การควบคุมโรคเบาหวาน.การดูแลตนเอง.การส่งเสริมการดูแลตนเอง.สัมพันธภาพในครอบครัว. Abstract: เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ เพื่อศึกษาสัมพนธภาพในครอบครัวในการส่งเสริมสุขภาพการดูแลตนเอง เพื่อควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยเบาหวาน กลุ่มตัวอย่างการวิจัย คือ ครอบครัวผู้ป่วยเบาหวาน ได้แก่ ผู้ป่วยที่ไม่สามารถคบคุมโรคได้โดยมีระดับ HbA1c มากกว่า 7% และสมาชิกในครอบครัว รวมทั้งหมด 19 ครอบครัว เลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล แบบสัมภาษณ์ครอบครัวผู้ป่วยเบาหวาน ผลการวิจัย พบว่า สัมพันธภาพในครอบครัวมีผลค่อการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยเบาหวาน ดังนี้ 1) ผู้ป่วยเบาหวานที่ช่วยเหลือตัวเองได้ ผู้ดูแลจะสนับสนุนผู้ป่วยด้านสิ่งของเหมือนก่อนป่วย โดย ผู้ดูแลไม่ได้เข้มงวดในการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดในผู้ป่วยเบาหวาน. ช่วยเหลือสิ่งที่ผู้ป่วยทำไม่ได้. คู่สมรสเป็นแหล่งสนับสนุนให้กำลังใจที่สำคัญ 2) การสนับสนุนด้านอารมณ์โดยสมาชิกในครอบครัวมีความรักใคร่ผูกพันกันโดยมีความเป็นห่วงใยกัน ทำกิจกรรมด้วยกัน 3) ผู้ป่วยเบาหวารนที่ดูแลตนเองได้น้อยยากจน จะได้รับการสนับสนุนจากครอบครัวน้อย โดยบุตรจะแยกครอบครัวอยู่ต่างหาก เพราะสะดวกในการประกอบอาชีพ และผู้ป่วยเบาหวารทีไม่มีอำนาจการตัดสินใจ สมาชิกในครอบครัวจะต่างคนต่างอยู่
ข้อเสนอแนะ ให้บุคลากรทางสุขภาพจัดการฝึกอบรมให้ความรู้ผู้ป่วยเบาหวารและสมาชิกในครอบครัวเกี่ยวกับการควบคุมโรคเบาหวาน เพื่อนำความรู้ที่ได้ไปปฏิบัติกับผู้ป่วยเบาหวานในครอบครัวได้อย่างถูกต้อง ช่วยลดภาวะแทรกซ้อนได้Link for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26730 [article] สัมพันธภาพในครอบครัวในการส่งเสริมการดูแลตนเองเพื่อควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด = Families relationship in self-care promotipn for uncontrolling blood sugar in type 2 diabetes : ของผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมน้ำตาลไม่ได้ [printed text] / ธีรนันท์ วรรณศิริ, Author . - 2017 . - p.31-50.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.23 No.2 (Jul-Dec) 2016/59 [05/17/2017] . - p.31-50Keywords: โรคเบาหวาน.การควบคุมโรคเบาหวาน.การดูแลตนเอง.การส่งเสริมการดูแลตนเอง.สัมพันธภาพในครอบครัว. Abstract: เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ เพื่อศึกษาสัมพนธภาพในครอบครัวในการส่งเสริมสุขภาพการดูแลตนเอง เพื่อควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยเบาหวาน กลุ่มตัวอย่างการวิจัย คือ ครอบครัวผู้ป่วยเบาหวาน ได้แก่ ผู้ป่วยที่ไม่สามารถคบคุมโรคได้โดยมีระดับ HbA1c มากกว่า 7% และสมาชิกในครอบครัว รวมทั้งหมด 19 ครอบครัว เลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล แบบสัมภาษณ์ครอบครัวผู้ป่วยเบาหวาน ผลการวิจัย พบว่า สัมพันธภาพในครอบครัวมีผลค่อการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยเบาหวาน ดังนี้ 1) ผู้ป่วยเบาหวานที่ช่วยเหลือตัวเองได้ ผู้ดูแลจะสนับสนุนผู้ป่วยด้านสิ่งของเหมือนก่อนป่วย โดย ผู้ดูแลไม่ได้เข้มงวดในการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดในผู้ป่วยเบาหวาน. ช่วยเหลือสิ่งที่ผู้ป่วยทำไม่ได้. คู่สมรสเป็นแหล่งสนับสนุนให้กำลังใจที่สำคัญ 2) การสนับสนุนด้านอารมณ์โดยสมาชิกในครอบครัวมีความรักใคร่ผูกพันกันโดยมีความเป็นห่วงใยกัน ทำกิจกรรมด้วยกัน 3) ผู้ป่วยเบาหวารนที่ดูแลตนเองได้น้อยยากจน จะได้รับการสนับสนุนจากครอบครัวน้อย โดยบุตรจะแยกครอบครัวอยู่ต่างหาก เพราะสะดวกในการประกอบอาชีพ และผู้ป่วยเบาหวารทีไม่มีอำนาจการตัดสินใจ สมาชิกในครอบครัวจะต่างคนต่างอยู่
ข้อเสนอแนะ ให้บุคลากรทางสุขภาพจัดการฝึกอบรมให้ความรู้ผู้ป่วยเบาหวารและสมาชิกในครอบครัวเกี่ยวกับการควบคุมโรคเบาหวาน เพื่อนำความรู้ที่ได้ไปปฏิบัติกับผู้ป่วยเบาหวานในครอบครัวได้อย่างถูกต้อง ช่วยลดภาวะแทรกซ้อนได้Link for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26730 การดูแลเด็กปฐมวัยในศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่คู่นมแม่ in วารสารเกื้อการุณย์, Vol.23 No.2 (Jul-Dec) 2016/59 ([05/17/2017])
[article]
Title : การดูแลเด็กปฐมวัยในศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่คู่นมแม่ : ของโรงพยาบาลในสังกัดกรุงเทพมหานคร Original title : Early childchood caring in the child care centers in the hospitals of Bangkok metropolitana administration Material Type: printed text Publication Date: 2017 Article on page: p.51-68 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.23 No.2 (Jul-Dec) 2016/59 [05/17/2017] . - p.51-68Keywords: การดูแลเด็ก.เด็กปฐมวัย.ศูนย์เด็กเล็ก.โรงพยาบาลในสังกัดกรุงเทพมหานคร. Abstract: เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ เพื่อศึกษาการดูแลเด็กปฐมวัยในศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่คู่นมแม่ โรงพยาบาลในสังกัดกรุงเทพมหานคร ใช้วิธีการคัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจง จำนวน 26 คน โดยเป็นพยาบาลวิชาชีพ และพี่เลี้ยงเด็กประจำศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่คู่นมแม่...ทีปฎิบัติงานประจำอย่่างน้อย 6 เดือน หรือตั้งแต่ศูนย์ ฯ เปิดดำเนินกาารและยังคงปฏิบัติงานระหว่างที่ทำการศึกษา จำนวน 9 คน และ 17 คน เก็บรวบรวมข้อมูลเดือนธันวาคม 2558 ถึง มิถุนายน 2559 ใช้วิธีการสนทนากลุ่ม การสัมภาษณ์เชิงลึก การสังเกต การศึกษาจากเอกสาร การบันทีึกข้อมูลภาคสนาม การบันทึกเทป การบันทึกภาพ ทำการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหา
ผลการวิจัย พบว่า การดูแลเด็กปฐมใัยวนศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่คู่นมแม่... มี 6 ลักษณะ คือ 1)การดูแลเด็กที่มีิิอายุแรกเกิด - 3 ปี 2)เป็นสวัสดิดการให้บุคลากรในสังกัดกรุงเทพมหานครให้สามารถทำงานได้อย่างสบายใจ และเกิดความรักผูกพันในครอบครัว 3) เน้นการเลี้ยงลูด้วยนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือน และหลังอายุ 6 เดือน 4) เป็นการเตรียมความพร้อมให้เด็กทั้งร่างกาย จิตใจและสังคม ก่อนเข้าเรียน 5) เป็นการดูแลเหมือนครอบครัว รักเหมือนลูกแต่ทำยิ่งกว่าลูก และ6) ดูแลตามมาตรฐานของศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่คู่นมแม่ของสำนักการแพทย์ 6 ด้าน คือ ด้านการส่งเสริมสุขภาพ ส่งเสริมการพัฒนาเด็ก ด้านการบริการอาหารสะอาดปลอดภัย สิ่งแวดล้อมสะอาดปลอดภัย บุคลากรและด้านการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง ปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน มี 3 ประเด็น คือ ด้านนโยบายระเบียบก่ารและเอกสารที่มีความแตกต่างกัน ด้านโครงสร้างทางกายภาพของศูนย์เด็กเล็ก ที่บาดอุปกรณ์ที่จำเป็น การแบ่งพื้นที่ยังไม่เป็นสัดส่วน และบุลากรมีไม่เพียงพอ
Link for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26731 [article] การดูแลเด็กปฐมวัยในศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่คู่นมแม่ = Early childchood caring in the child care centers in the hospitals of Bangkok metropolitana administration : ของโรงพยาบาลในสังกัดกรุงเทพมหานคร [printed text] . - 2017 . - p.51-68.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.23 No.2 (Jul-Dec) 2016/59 [05/17/2017] . - p.51-68Keywords: การดูแลเด็ก.เด็กปฐมวัย.ศูนย์เด็กเล็ก.โรงพยาบาลในสังกัดกรุงเทพมหานคร. Abstract: เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ เพื่อศึกษาการดูแลเด็กปฐมวัยในศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่คู่นมแม่ โรงพยาบาลในสังกัดกรุงเทพมหานคร ใช้วิธีการคัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจง จำนวน 26 คน โดยเป็นพยาบาลวิชาชีพ และพี่เลี้ยงเด็กประจำศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่คู่นมแม่...ทีปฎิบัติงานประจำอย่่างน้อย 6 เดือน หรือตั้งแต่ศูนย์ ฯ เปิดดำเนินกาารและยังคงปฏิบัติงานระหว่างที่ทำการศึกษา จำนวน 9 คน และ 17 คน เก็บรวบรวมข้อมูลเดือนธันวาคม 2558 ถึง มิถุนายน 2559 ใช้วิธีการสนทนากลุ่ม การสัมภาษณ์เชิงลึก การสังเกต การศึกษาจากเอกสาร การบันทีึกข้อมูลภาคสนาม การบันทึกเทป การบันทึกภาพ ทำการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหา
ผลการวิจัย พบว่า การดูแลเด็กปฐมใัยวนศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่คู่นมแม่... มี 6 ลักษณะ คือ 1)การดูแลเด็กที่มีิิอายุแรกเกิด - 3 ปี 2)เป็นสวัสดิดการให้บุคลากรในสังกัดกรุงเทพมหานครให้สามารถทำงานได้อย่างสบายใจ และเกิดความรักผูกพันในครอบครัว 3) เน้นการเลี้ยงลูด้วยนมแม่อย่างเดียวอย่างน้อย 6 เดือน และหลังอายุ 6 เดือน 4) เป็นการเตรียมความพร้อมให้เด็กทั้งร่างกาย จิตใจและสังคม ก่อนเข้าเรียน 5) เป็นการดูแลเหมือนครอบครัว รักเหมือนลูกแต่ทำยิ่งกว่าลูก และ6) ดูแลตามมาตรฐานของศูนย์เด็กเล็กน่าอยู่คู่นมแม่ของสำนักการแพทย์ 6 ด้าน คือ ด้านการส่งเสริมสุขภาพ ส่งเสริมการพัฒนาเด็ก ด้านการบริการอาหารสะอาดปลอดภัย สิ่งแวดล้อมสะอาดปลอดภัย บุคลากรและด้านการมีส่วนร่วมของผู้ปกครอง ปัญหาและอุปสรรคในการดำเนินงาน มี 3 ประเด็น คือ ด้านนโยบายระเบียบก่ารและเอกสารที่มีความแตกต่างกัน ด้านโครงสร้างทางกายภาพของศูนย์เด็กเล็ก ที่บาดอุปกรณ์ที่จำเป็น การแบ่งพื้นที่ยังไม่เป็นสัดส่วน และบุลากรมีไม่เพียงพอ
Link for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26731 ผลของรูปแบบการให้ข้อมูลทางสุขภาพร่วมกับการฝึกอานาปานสติ ต่อความเครียดในการดูแลเด็ก / ธิดารัตน์ ทองหนุน in วารสารเกื้อการุณย์, Vol.23 No.2 (Jul-Dec) 2016/59 ([05/17/2017])
[article]
Title : ผลของรูปแบบการให้ข้อมูลทางสุขภาพร่วมกับการฝึกอานาปานสติ ต่อความเครียดในการดูแลเด็ก : โรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวของผู้ดูแลในครอบครัว Material Type: printed text Authors: ธิดารัตน์ ทองหนุน, Author ; ว๊ณา จีระแพทย์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.86-103 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.23 No.2 (Jul-Dec) 2016/59 [05/17/2017] . - p.86-103Keywords: การฝึกอานาปานสติ.การดูแลเด็ก.มะเร็งเม็ดเลือดขาว.ความเครียดในการดูแลเด็ก.ผู้ดูแลในครอบครัว. Abstract: เป็นการวิจัยกึ่งทดลงองแบบ 2 กลุ่ม คือ วัดก่อน และหวังการทดลอง เพื่อศึกษารูปแบบการให่ข้มูลทางสุขภาพกับการฝึกอานาปานสติต่อความเครียดในการ...กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ดูแลในครอบครัวของเด็กอายุต่ำกว่า 6 ปี ที่แพทย์วินิจฉัยว่าเป็นโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเฉียบพลันที่เข้ารับการรักษาและได้รับเคมีบำบัดระยะเข้มขันในโรงพยาบาลตติยภูมิ จำนวน 50 คน โดยจับคู่ให้มีระดับการศึกษาและรายได้ที่ระดับใกล้เคียงกัน เป็นกลุ่มละ 25 คน วิจัยโดยกลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติ ตามด้วยกลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมรูปแบบการให้ข้อมูลทางสุขภาพร่วมกับการฝึกอานาปานสติ เครื่องมือวิจัย คือ แผนกิจกรรมการให้ข้อมูลทางสุขภาพร่วมกับการฝึกอานาปานสติ แบบบันทึกรายงานตนเองหลังการฝึกอานาปานสติ และแบบสอบถามความเครียด... ผลการวิจัยพบว่า 1) ความเครียดในการดูแลเด็กโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวของผู้ดูแลในครอบครัวได้รับโปรแกรมรูปแบบการให้ข้อมูลทางสุขภาพร่วมกับการฝึกอานาปานสติน้อยกว่าก่อนได้รับโปรแกรม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05 2) ความเครียดในการดูแลเด็กโรค ฯ กลุ่มที่ได้รับโปรแกรมรูปแบบการให้ข้อมูลทางสุขภาพร่วมกับการฝึกอานาปานสติน้อยกว่ากลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
ข้อเสนอแนะ จากการวิจัยในครั้งรี้ คือ พยาบาลผู้ให้การดูแลผู้ป่วยเด็กและผู้ดูแลในครอบครัว ควรมีบทบาทสำคัญในการประเมินปัญหาให้ความช่วยเหลือดูแลอย่างครอบคลุมเป็นองค์รวม โดยเฉพาะจิตใจและอารมณ์ ทั้งนี้ในการนำโปรแกรมไปประยุกต์ใช้ ผู้ใช้ควรมีพื้นฐานในการฝึกสมาธิแบบอานาปานสติ เพื่อให้เกิดทักษะและสามารถให้คำแนะนำแก่ผู้ดูแลในครอบครัวได้Link for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26732 [article] ผลของรูปแบบการให้ข้อมูลทางสุขภาพร่วมกับการฝึกอานาปานสติ ต่อความเครียดในการดูแลเด็ก : โรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวของผู้ดูแลในครอบครัว [printed text] / ธิดารัตน์ ทองหนุน, Author ; ว๊ณา จีระแพทย์, Author . - 2017 . - p.86-103.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.23 No.2 (Jul-Dec) 2016/59 [05/17/2017] . - p.86-103Keywords: การฝึกอานาปานสติ.การดูแลเด็ก.มะเร็งเม็ดเลือดขาว.ความเครียดในการดูแลเด็ก.ผู้ดูแลในครอบครัว. Abstract: เป็นการวิจัยกึ่งทดลงองแบบ 2 กลุ่ม คือ วัดก่อน และหวังการทดลอง เพื่อศึกษารูปแบบการให่ข้มูลทางสุขภาพกับการฝึกอานาปานสติต่อความเครียดในการ...กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ดูแลในครอบครัวของเด็กอายุต่ำกว่า 6 ปี ที่แพทย์วินิจฉัยว่าเป็นโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเฉียบพลันที่เข้ารับการรักษาและได้รับเคมีบำบัดระยะเข้มขันในโรงพยาบาลตติยภูมิ จำนวน 50 คน โดยจับคู่ให้มีระดับการศึกษาและรายได้ที่ระดับใกล้เคียงกัน เป็นกลุ่มละ 25 คน วิจัยโดยกลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติ ตามด้วยกลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมรูปแบบการให้ข้อมูลทางสุขภาพร่วมกับการฝึกอานาปานสติ เครื่องมือวิจัย คือ แผนกิจกรรมการให้ข้อมูลทางสุขภาพร่วมกับการฝึกอานาปานสติ แบบบันทึกรายงานตนเองหลังการฝึกอานาปานสติ และแบบสอบถามความเครียด... ผลการวิจัยพบว่า 1) ความเครียดในการดูแลเด็กโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวของผู้ดูแลในครอบครัวได้รับโปรแกรมรูปแบบการให้ข้อมูลทางสุขภาพร่วมกับการฝึกอานาปานสติน้อยกว่าก่อนได้รับโปรแกรม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05 2) ความเครียดในการดูแลเด็กโรค ฯ กลุ่มที่ได้รับโปรแกรมรูปแบบการให้ข้อมูลทางสุขภาพร่วมกับการฝึกอานาปานสติน้อยกว่ากลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
ข้อเสนอแนะ จากการวิจัยในครั้งรี้ คือ พยาบาลผู้ให้การดูแลผู้ป่วยเด็กและผู้ดูแลในครอบครัว ควรมีบทบาทสำคัญในการประเมินปัญหาให้ความช่วยเหลือดูแลอย่างครอบคลุมเป็นองค์รวม โดยเฉพาะจิตใจและอารมณ์ ทั้งนี้ในการนำโปรแกรมไปประยุกต์ใช้ ผู้ใช้ควรมีพื้นฐานในการฝึกสมาธิแบบอานาปานสติ เพื่อให้เกิดทักษะและสามารถให้คำแนะนำแก่ผู้ดูแลในครอบครัวได้Link for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26732 การพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกู่จาน / ธนาฒย์ อามาตย์มูลศรี in วารสารเกื้อการุณย์, Vol.23 No.2 (Jul-Dec) 2016/59 ([05/17/2017])
[article]
Title : การพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกู่จาน : อำเภอเขื่อนคำแก้ว จังหวัดยโสธร Original title : The Development of a diabetic care system in Kuchan health prontiond hospital, kharm khuean Kaeo district Yasathon province Material Type: printed text Authors: ธนาฒย์ อามาตย์มูลศรี, Author ; ชูศักดิ์ นิธิเกตุกุล, Author ; อุดมศักดิ์ มหาวีรวัฒน์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.69-85 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.23 No.2 (Jul-Dec) 2016/59 [05/17/2017] . - p.69-85Keywords: โรคเบาหวานชนิดที่ 2.ระบบการดูแลผู้ป่วย.โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพจังหวัดยโสธร Abstract: เป็นการวิจัยเชิงปฎิบัติการ เพื่อพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบาลกู่จาน อำเภอคำเขื่อนแก้ว จังหวัดยโสธร กลุ่มตัวอย่างจำนวน 47 คน ใช้แนวคิดการมีส่วนร่วมของชุมชนในการบริหารจัดการ พร้อมประยุกต์ใช้แนวคิดการเสริมสร้างพลังอำนาจมาดำเนินการศึกษา เก็บข้อมูลโดยใใช้แบบสอบถามเชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ วิเคราะหฺ์ข้อมูลเชิงปริมาณโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ฯ ผลการวิจัย พบว่า กระบวนการพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ของโรงพยาบาล ฯ มีขั้นตอน คือ 1) ศึกษาข้อมูลพื้นฐานและบริบทของพื้ันที่ 2) ประเมินความรู้ การปฏิบัติการมีส่วนร่วม ก่อนการดำเนินงาน 3) ประชุมภาคีเครือข่ายผู้เกี่ยวขอ้ง 4) ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการโดยใช้แนวคิดการมีส่วนร่วม 5) ดำเนินกิจกรรมตามแผนปฏิบัติการ 6) นิเทศติดตามผล โดยการสังเกต สัมภาษณ์ 7) ประเมินความรู้การปฏิบัติการมีส่วนร่วม 8) จัดเวทีถอดบทเรียนแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 9)สรุปปัจจัยแห่งความสำเร็จ 10) สรุปปัญหาอุปสรรค ข้อเสนอแนะแนวทางการแก้ไขปัญหาซึ่งมีึความคิดรวบยอด คือ ความรู้เป็นเอกภาพ การมีส่วนร่วมของชุมชน สุขภาพที่ดี การให้กำลังใจ เครือข่าย Link for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26733 [article] การพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลกู่จาน = The Development of a diabetic care system in Kuchan health prontiond hospital, kharm khuean Kaeo district Yasathon province : อำเภอเขื่อนคำแก้ว จังหวัดยโสธร [printed text] / ธนาฒย์ อามาตย์มูลศรี, Author ; ชูศักดิ์ นิธิเกตุกุล, Author ; อุดมศักดิ์ มหาวีรวัฒน์, Author . - 2017 . - p.69-85.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.23 No.2 (Jul-Dec) 2016/59 [05/17/2017] . - p.69-85Keywords: โรคเบาหวานชนิดที่ 2.ระบบการดูแลผู้ป่วย.โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพจังหวัดยโสธร Abstract: เป็นการวิจัยเชิงปฎิบัติการ เพื่อพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ของโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบาลกู่จาน อำเภอคำเขื่อนแก้ว จังหวัดยโสธร กลุ่มตัวอย่างจำนวน 47 คน ใช้แนวคิดการมีส่วนร่วมของชุมชนในการบริหารจัดการ พร้อมประยุกต์ใช้แนวคิดการเสริมสร้างพลังอำนาจมาดำเนินการศึกษา เก็บข้อมูลโดยใใช้แบบสอบถามเชิงปริมาณ และเชิงคุณภาพ วิเคราะหฺ์ข้อมูลเชิงปริมาณโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ฯ ผลการวิจัย พบว่า กระบวนการพัฒนาระบบการดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ของโรงพยาบาล ฯ มีขั้นตอน คือ 1) ศึกษาข้อมูลพื้นฐานและบริบทของพื้ันที่ 2) ประเมินความรู้ การปฏิบัติการมีส่วนร่วม ก่อนการดำเนินงาน 3) ประชุมภาคีเครือข่ายผู้เกี่ยวขอ้ง 4) ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการโดยใช้แนวคิดการมีส่วนร่วม 5) ดำเนินกิจกรรมตามแผนปฏิบัติการ 6) นิเทศติดตามผล โดยการสังเกต สัมภาษณ์ 7) ประเมินความรู้การปฏิบัติการมีส่วนร่วม 8) จัดเวทีถอดบทเรียนแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 9)สรุปปัจจัยแห่งความสำเร็จ 10) สรุปปัญหาอุปสรรค ข้อเสนอแนะแนวทางการแก้ไขปัญหาซึ่งมีึความคิดรวบยอด คือ ความรู้เป็นเอกภาพ การมีส่วนร่วมของชุมชน สุขภาพที่ดี การให้กำลังใจ เครือข่าย Link for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26733 ผลของการใช้แนวคิดแบบลีนในการศึกษาระยะเวลาที่มารับบริการของหน่วยตรวจบริการล้างไต / ปภัชญา หนูสลุง in วารสารเกื้อการุณย์, Vol.23 No.2 (Jul-Dec) 2016/59 ([05/17/2017])
[article]
Title : ผลของการใช้แนวคิดแบบลีนในการศึกษาระยะเวลาที่มารับบริการของหน่วยตรวจบริการล้างไต : ทางช่องท้องหอผู้ป่วยโรคไตสง่า นิลวรางกูร โรงพยาบาลศิริราช Material Type: printed text Authors: ปภัชญา หนูสลุง, Author ; ปิยธิดา ตรีเดช, Author ; วงเดือน ปั้นดี, Author ; สุชาย ศรีทิพยวรรณ, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.104-119 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.23 No.2 (Jul-Dec) 2016/59 [05/17/2017] . - p.104-119Keywords: แนวคิดแบบลีน.การล้างไตทางช่องท้อง.ความพึงพอใจของผู้ป่วย. Abstract: เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง เพื่อศึกษาผลของการใช้แนวคิดแบบลีนในการศึกษาระยะเวลาการรับบริการ และเปรียบเทียบเรื่องเวลาและความพึงพอใจก่อนและหลังการนำแนวคิดแบบลีนมาใช้ ฯ
ผลการวิจัย พบว่า พบความสูญเปล่าในระบบจากการรอผลเลือด รอยานาน ความซ้ำซ้อนในระบบทำงาน ขั้นตอนมากเกินความจำเป็น การเดินกลับไปกลับมาเพื่อแก้ไขความผิดพลาด หลังนำแนวคิดแบบลีนมาใช้ ประกอบด้วยคุณค่า สายธารแห่งคุณค่า การไหล การตึง และความสมบูรณ์แบบ โดยการปรับปรุงกระบวนการให้ผู้ป่วยเจาะเลือดล่วงหน้าก่อนตรวจ ตรวจสอบข้อพิดพลาดเรื่องใบสั่งยาโดยอาจารย์แพทย์ หรือแพทย์ มีการปรับระบบการทำงานใหม่ ลดความซ้่ำซ้อน ลดขั้นตอนการทำงาน ผลการศึกษา พบว่า รระยะเวลาการมารับบริการเร้ซขึ้นจากเดิมใช้เวลาทั้งหมด 377.71 นาทีื ลดลงเหลือ 209.8 นาที โดยระยะเวลาที่ลดลง คือ การรอผลเลือด เดิม 92.54 เป็นเวลา 28.29 นาที รอยา เดิม 110.73 นาที เป็นเวลา 66.11 นาที อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ลดขั้นตอนจากเดิม 17 ขั้นตอน เหลือเพียง 14 ขั้นตอน ความพึงพอใจโดยรวมของผู้ป่วยจากเดิม 4.04 มาเป็น 4.74 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05
ข้อเสนอแนะ พบว่า ผู้ป่วยบางรายไม่สามารถมาเจาะเลือดล่วงหน้าได้ เพราะไม่มีญาติผู้ป่วยพามา ผู้วิจัยเสนอแนะโดยนำทฤษฎีแรงจูงใจมาเสริมแรงทางบวก เพื่อให้ผู้ป่วยและญาติผู้ป่วยเห็นความสำคัญของประโยชน์จากการเจาะเลือดล่วงหน้าการตรวจLink for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26734 [article] ผลของการใช้แนวคิดแบบลีนในการศึกษาระยะเวลาที่มารับบริการของหน่วยตรวจบริการล้างไต : ทางช่องท้องหอผู้ป่วยโรคไตสง่า นิลวรางกูร โรงพยาบาลศิริราช [printed text] / ปภัชญา หนูสลุง, Author ; ปิยธิดา ตรีเดช, Author ; วงเดือน ปั้นดี, Author ; สุชาย ศรีทิพยวรรณ, Author . - 2017 . - p.104-119.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.23 No.2 (Jul-Dec) 2016/59 [05/17/2017] . - p.104-119Keywords: แนวคิดแบบลีน.การล้างไตทางช่องท้อง.ความพึงพอใจของผู้ป่วย. Abstract: เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง เพื่อศึกษาผลของการใช้แนวคิดแบบลีนในการศึกษาระยะเวลาการรับบริการ และเปรียบเทียบเรื่องเวลาและความพึงพอใจก่อนและหลังการนำแนวคิดแบบลีนมาใช้ ฯ
ผลการวิจัย พบว่า พบความสูญเปล่าในระบบจากการรอผลเลือด รอยานาน ความซ้ำซ้อนในระบบทำงาน ขั้นตอนมากเกินความจำเป็น การเดินกลับไปกลับมาเพื่อแก้ไขความผิดพลาด หลังนำแนวคิดแบบลีนมาใช้ ประกอบด้วยคุณค่า สายธารแห่งคุณค่า การไหล การตึง และความสมบูรณ์แบบ โดยการปรับปรุงกระบวนการให้ผู้ป่วยเจาะเลือดล่วงหน้าก่อนตรวจ ตรวจสอบข้อพิดพลาดเรื่องใบสั่งยาโดยอาจารย์แพทย์ หรือแพทย์ มีการปรับระบบการทำงานใหม่ ลดความซ้่ำซ้อน ลดขั้นตอนการทำงาน ผลการศึกษา พบว่า รระยะเวลาการมารับบริการเร้ซขึ้นจากเดิมใช้เวลาทั้งหมด 377.71 นาทีื ลดลงเหลือ 209.8 นาที โดยระยะเวลาที่ลดลง คือ การรอผลเลือด เดิม 92.54 เป็นเวลา 28.29 นาที รอยา เดิม 110.73 นาที เป็นเวลา 66.11 นาที อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ลดขั้นตอนจากเดิม 17 ขั้นตอน เหลือเพียง 14 ขั้นตอน ความพึงพอใจโดยรวมของผู้ป่วยจากเดิม 4.04 มาเป็น 4.74 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05
ข้อเสนอแนะ พบว่า ผู้ป่วยบางรายไม่สามารถมาเจาะเลือดล่วงหน้าได้ เพราะไม่มีญาติผู้ป่วยพามา ผู้วิจัยเสนอแนะโดยนำทฤษฎีแรงจูงใจมาเสริมแรงทางบวก เพื่อให้ผู้ป่วยและญาติผู้ป่วยเห็นความสำคัญของประโยชน์จากการเจาะเลือดล่วงหน้าการตรวจLink for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26734 ผลของโปรแกรมอาหารตามธาตุเจ้าเรือนต่อความรู้ เจคติ พฤติกรรมการดูแลตนเอง และการรับรู้ภาวะสุขภาพด้านร่างกาย / ิวิไล วิวัฒน์ชาญกิจ in วารสารเกื้อการุณย์, Vol.23 No.2 (Jul-Dec) 2016/59 ([05/17/2017])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมอาหารตามธาตุเจ้าเรือนต่อความรู้ เจคติ พฤติกรรมการดูแลตนเอง และการรับรู้ภาวะสุขภาพด้านร่างกาย : ในการรับประทานอาหารตามธาตุเจ้าเรือนของบุคลากร คณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์ มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช Original title : Effect of the Dhatu Choa Rern Food program on knoeldge attitudes self care behavior and perceived physical health status of nursing Navamindradhiraj university Material Type: printed text Authors: ิวิไล วิวัฒน์ชาญกิจ, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.120-121 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.23 No.2 (Jul-Dec) 2016/59 [05/17/2017] . - p.120-121Keywords: โปรแกรมอาหารตามะาตุเจ้าเรือน.การรับรู้ภาวะสุขภาพ.บุคลากรคณะพยาบาลศาสตร์.พฤติกรรมการดูแลตนเอง. Abstract: เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมอาหารตามธาตุเจ้าเรือนต่อความรู้ เจตคติ พฤติกรรมการดูแลตนเอง และการรับรู้ภาวะสุขภาพด้านร่างกายในภาวะะรับประทานอาหารตามธาตุเจ้าเรือนฯ เครื่องมีอที่ใช้แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป ความรูู้เกี่ยวกับอาหารตามธาจุเจ้าเรือน เจตคติ พฤคิกรรมการดูแลตนเอง และการรับรู้ภาวะสุขภาพด้านร่างกายในการรับประทานอาหารฯ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ จำนวน 60 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 30 คน และกลุ่มควบคุม 30 คน
ผลการวิจัย พบว่า
เมื่อสิ้นสุดการทดลองคะแนนเฉลี่ยความรู้ เจตคติ พฤติกรรมการดูแลตนเอง และการรับรู้สุขภาพด้านร่างกายในการรับประทานอาหารตามธาตุเจ้าเรือนของกลุ่มทดลองและหลังทดลองสูงกว่าก่อนการทดลอง และสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ีระดับ.05Link for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26776 [article] ผลของโปรแกรมอาหารตามธาตุเจ้าเรือนต่อความรู้ เจคติ พฤติกรรมการดูแลตนเอง และการรับรู้ภาวะสุขภาพด้านร่างกาย = Effect of the Dhatu Choa Rern Food program on knoeldge attitudes self care behavior and perceived physical health status of nursing Navamindradhiraj university : ในการรับประทานอาหารตามธาตุเจ้าเรือนของบุคลากร คณะพยาบาลศาสตร์เกื้อการุณย์ มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช [printed text] / ิวิไล วิวัฒน์ชาญกิจ, Author . - 2017 . - p.120-121.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.23 No.2 (Jul-Dec) 2016/59 [05/17/2017] . - p.120-121Keywords: โปรแกรมอาหารตามะาตุเจ้าเรือน.การรับรู้ภาวะสุขภาพ.บุคลากรคณะพยาบาลศาสตร์.พฤติกรรมการดูแลตนเอง. Abstract: เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมอาหารตามธาตุเจ้าเรือนต่อความรู้ เจตคติ พฤติกรรมการดูแลตนเอง และการรับรู้ภาวะสุขภาพด้านร่างกายในภาวะะรับประทานอาหารตามธาตุเจ้าเรือนฯ เครื่องมีอที่ใช้แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป ความรูู้เกี่ยวกับอาหารตามธาจุเจ้าเรือน เจตคติ พฤคิกรรมการดูแลตนเอง และการรับรู้ภาวะสุขภาพด้านร่างกายในการรับประทานอาหารฯ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ จำนวน 60 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 30 คน และกลุ่มควบคุม 30 คน
ผลการวิจัย พบว่า
เมื่อสิ้นสุดการทดลองคะแนนเฉลี่ยความรู้ เจตคติ พฤติกรรมการดูแลตนเอง และการรับรู้สุขภาพด้านร่างกายในการรับประทานอาหารตามธาตุเจ้าเรือนของกลุ่มทดลองและหลังทดลองสูงกว่าก่อนการทดลอง และสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ีระดับ.05Link for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26776 ผลของโปรแกรมการเสริมพลังโดยใช้กระบวนการจัดการแบบมีส่วนร่วม / มัญช์ณณิชา แสงโพธิ์คัมภ์ in วารสารเกื้อการุณย์, Vol.23 No.2 (Jul-Dec) 2016/59 ([05/17/2017])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมการเสริมพลังโดยใช้กระบวนการจัดการแบบมีส่วนร่วม : ในการควบคุมลูกน้ำยุงลายของแกนนำครอบครัว กรณีศึกษาตำบลเขาฉกรรจ์ อำเภอเขาฉกรรจ์ จังหวัดสระแก้ว Material Type: printed text Authors: มัญช์ณณิชา แสงโพธิ์คัมภ์, Author ; กุลวดี โรจน์ไพศาลกิจ, Author ; วรากร เกรียงไกรศักดา, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.135-148 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.23 No.2 (Jul-Dec) 2016/59 [05/17/2017] . - p.135-148Keywords: การจัดการแบบมีส่วนร่วม.โปรแกรมเสริมพลัง.การควบคุมลูกน้ำยุงลาย.แกนนำครบครัว. Link for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26778 [article] ผลของโปรแกรมการเสริมพลังโดยใช้กระบวนการจัดการแบบมีส่วนร่วม : ในการควบคุมลูกน้ำยุงลายของแกนนำครอบครัว กรณีศึกษาตำบลเขาฉกรรจ์ อำเภอเขาฉกรรจ์ จังหวัดสระแก้ว [printed text] / มัญช์ณณิชา แสงโพธิ์คัมภ์, Author ; กุลวดี โรจน์ไพศาลกิจ, Author ; วรากร เกรียงไกรศักดา, Author . - 2017 . - p.135-148.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)ผลของโปรแกรมการให้ข้อมูล การสร้างแรงจูงใจ และการพัฒนาทักษะต่อความรุนแรง / กิตฑาพร ลือลาภ in วารสารเกื้อการุณย์, Vol.23 No.2 (Jul-Dec) 2016/59 ([05/17/2017])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมการให้ข้อมูล การสร้างแรงจูงใจ และการพัฒนาทักษะต่อความรุนแรง : ของโรคข้อเข่าเสื่อม และน้ำหนักตัวผู้สูงอายุโรคข้อเข่าเสื่อมที่มีน้ำหนักเกิน Material Type: printed text Authors: กิตฑาพร ลือลาภ, Author ; ทัศนา ชุูวรรธนะปกรณ์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.149-164 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.23 No.2 (Jul-Dec) 2016/59 [05/17/2017] . - p.149-164Keywords: ผู้สุงอายุโรคข้อเข่าเสื่อมน่ำหนักเกิน.โปรแกรมการให้ข้อมูล.แรงจูงใจและการพัฒนา.ทักษะความรุนแรงโรคข้อเข่าเส่ื่อม. Link for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26779 [article] ผลของโปรแกรมการให้ข้อมูล การสร้างแรงจูงใจ และการพัฒนาทักษะต่อความรุนแรง : ของโรคข้อเข่าเสื่อม และน้ำหนักตัวผู้สูงอายุโรคข้อเข่าเสื่อมที่มีน้ำหนักเกิน [printed text] / กิตฑาพร ลือลาภ, Author ; ทัศนา ชุูวรรธนะปกรณ์, Author . - 2017 . - p.149-164.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)ผลของการเสริมสร้างพลังอำนาจต่อพฤติกรรมการดูแลตนเอง / รุจิราพร ป้องเกิด in วารสารเกื้อการุณย์, Vol.23 No.2 (Jul-Dec) 2016/59 ([05/17/2017])
[article]
Title : ผลของการเสริมสร้างพลังอำนาจต่อพฤติกรรมการดูแลตนเอง : ของผู้สูงอายุโรคไตเรื้อรังที่ได้รับการรักษาด้วยการล้างไตทางช่องท้องอย่างต่อเนื่อง Material Type: printed text Authors: รุจิราพร ป้องเกิด, Author ; ทัศนา ชูวรรณธนะปกรณ์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.165-182 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.23 No.2 (Jul-Dec) 2016/59 [05/17/2017] . - p.165-182Keywords: ผู้สูงอายุโรคไตเรื้่อรัง.การเสริมสร้างพลังอำนาจ.การล้างไตทางช่องท้อง.การรักษาด้วยการล้างไตทางช่องท้อง Link for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26780 [article] ผลของการเสริมสร้างพลังอำนาจต่อพฤติกรรมการดูแลตนเอง : ของผู้สูงอายุโรคไตเรื้อรังที่ได้รับการรักษาด้วยการล้างไตทางช่องท้องอย่างต่อเนื่อง [printed text] / รุจิราพร ป้องเกิด, Author ; ทัศนา ชูวรรณธนะปกรณ์, Author . - 2017 . - p.165-182.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)สมรรถนะพยาบาลวิชาชีพในสถานดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุ / สุธาสิณี ช่วยใจดี in วารสารเกื้อการุณย์, Vol.23 No.2 (Jul-Dec) 2016/59 ([05/17/2017])
[article]
Title : สมรรถนะพยาบาลวิชาชีพในสถานดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุ Original title : Competencies for professional nurse in long term care institution for the elderly people Material Type: printed text Authors: สุธาสิณี ช่วยใจดี, Author ; สุวิณี วิวัฒน์วานิช, Author ; จิราพร เกศพิชญ์วัฒนา, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.183-198 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.23 No.2 (Jul-Dec) 2016/59 [05/17/2017] . - p.183-198Keywords: สมรรถนะพยาบาลวิชาชีพ.ผู้สูงอายุ.สถานดูแลระยะยาว. Link for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26782 [article] สมรรถนะพยาบาลวิชาชีพในสถานดูแลระยะยาวสำหรับผู้สูงอายุ = Competencies for professional nurse in long term care institution for the elderly people [printed text] / สุธาสิณี ช่วยใจดี, Author ; สุวิณี วิวัฒน์วานิช, Author ; จิราพร เกศพิชญ์วัฒนา, Author . - 2017 . - p.183-198.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.23 No.2 (Jul-Dec) 2016/59 [05/17/2017] . - p.183-198Keywords: สมรรถนะพยาบาลวิชาชีพ.ผู้สูงอายุ.สถานดูแลระยะยาว. Link for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26782 ปัจจัยทำนายคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้าย / เบญจมาศ ตระกูลงามเด่น in วารสารเกื้อการุณย์, Vol.23 No.2 (Jul-Dec) 2016/59 ([05/17/2017])
[article]
Title : ปัจจัยทำนายคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้าย : ในแผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร และคณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช Original title : Predicting factors of quality of life among patients with terminal cancer at out-patient Department of Hospitals in Medical service Department, Bangkon Metropolitan and Faculty of Medical Vajira hospitals Navarmindradhiraj university Material Type: printed text Authors: เบญจมาศ ตระกูลงามเด่น, Author ; สุภวรรณ วงศ์ธีรทรัพย์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.199-216 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.23 No.2 (Jul-Dec) 2016/59 [05/17/2017] . - p.199-216Keywords: ผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้าย.คุณภาพชีวิตผู็ป่วยมะเร็ง.ผูู้ป่วยนอก.โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์.คณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล. Link for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26784 [article] ปัจจัยทำนายคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยมะเร็งระยะสุดท้าย = Predicting factors of quality of life among patients with terminal cancer at out-patient Department of Hospitals in Medical service Department, Bangkon Metropolitan and Faculty of Medical Vajira hospitals Navarmindradhiraj university : ในแผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลในสังกัดสำนักการแพทย์ กรุงเทพมหานคร และคณะแพทยศาสตร์วชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยนวมินทราธิราช [printed text] / เบญจมาศ ตระกูลงามเด่น, Author ; สุภวรรณ วงศ์ธีรทรัพย์, Author . - 2017 . - p.199-216.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)การศึกษาภูมิหลังทางวิชาชีพและคุณลักษณะผู้ันำของผู็บริหารการพยาบาลระดับต้น / สุวิณี วิวัฒน์วานิช in วารสารเกื้อการุณย์, Vol.23 No.2 (Jul-Dec) 2016/59 ([05/17/2017])
[article]
Title : การศึกษาภูมิหลังทางวิชาชีพและคุณลักษณะผู้ันำของผู็บริหารการพยาบาลระดับต้น : โรงพยาบาลศูนย์ สังกัดกระทรวงสาธารณสุข Original title : The study of professional background and leardership characterlistic of frontline nurse managers in medical centers, Ministry of Public Health Material Type: printed text Authors: สุวิณี วิวัฒน์วานิช, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.217-231 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.23 No.2 (Jul-Dec) 2016/59 [05/17/2017] . - p.217-231Keywords: ผู้บริหารการพยาบาลระดับต้น.คุณลักษณะผู้นำ.โรงพยาบาลศูนย์ สังกัดกระทรวงสาธารณสุข. Link for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26785 [article] การศึกษาภูมิหลังทางวิชาชีพและคุณลักษณะผู้ันำของผู็บริหารการพยาบาลระดับต้น = The study of professional background and leardership characterlistic of frontline nurse managers in medical centers, Ministry of Public Health : โรงพยาบาลศูนย์ สังกัดกระทรวงสาธารณสุข [printed text] / สุวิณี วิวัฒน์วานิช, Author . - 2017 . - p.217-231.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)ปัจจัยที่มีผลต่อการมาตรวจมะเร็งปากมดลูกในสตรมุสลิมในเขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร / คเณศพร เตชะเสาวภาคย์ in วารสารเกื้อการุณย์, Vol.23 No.2 (Jul-Dec) 2016/59 ([05/17/2017])
[article]
Title : ปัจจัยที่มีผลต่อการมาตรวจมะเร็งปากมดลูกในสตรมุสลิมในเขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร Original title : Impact factor of cervical cancer screening in Muslim womenat Nongjok district, Bangkok Material Type: printed text Authors: คเณศพร เตชะเสาวภาคย์, Author ; จันทรา คงลำพันธ์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.232-233 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.23 No.2 (Jul-Dec) 2016/59 [05/17/2017] . - p.232-233Keywords: มะเร็งปากมดลูก.สตรีมุสลิม.การตรวจคัดกรองมะเร็ง. Link for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26786 [article] ปัจจัยที่มีผลต่อการมาตรวจมะเร็งปากมดลูกในสตรมุสลิมในเขตหนองจอก กรุงเทพมหานคร = Impact factor of cervical cancer screening in Muslim womenat Nongjok district, Bangkok [printed text] / คเณศพร เตชะเสาวภาคย์, Author ; จันทรา คงลำพันธ์, Author . - 2017 . - p.232-233.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.23 No.2 (Jul-Dec) 2016/59 [05/17/2017] . - p.232-233Keywords: มะเร็งปากมดลูก.สตรีมุสลิม.การตรวจคัดกรองมะเร็ง. Link for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26786 การเลิกเสพยาบ้าซ้ำ / ชาตรี ชัยนาคิน in วารสารเกื้อการุณย์, Vol.23 No.2 (Jul-Dec) 2016/59 ([05/17/2017])
[article]
Title : การเลิกเสพยาบ้าซ้ำ : กรณีศึกษาผู้ผ่านการบำบัดฟื้นฟูสมรรถภาพผู้เสพยาเสพติดค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยวิธีชุมชนบำบัด Original title : Study of repeated amphatamine addiction a case study of rehabilitated persons in behavior modification camp by the therapeutic community method Material Type: printed text Authors: ชาตรี ชัยนาคิน, Author ; ชาตรี ประชาพิพัฒ, Author ; อารี พุมประโยชน์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.248-262 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.23 No.2 (Jul-Dec) 2016/59 [05/17/2017] . - p.248-262Keywords: การเลิกเสพยาบ้าซ้ำ.การบำบัดฟื้นฟูสมรรถภาพ.ผู้เสพยาเสพติด.ค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรม.ชุมชนบำบัด. Link for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26787 [article] การเลิกเสพยาบ้าซ้ำ = Study of repeated amphatamine addiction a case study of rehabilitated persons in behavior modification camp by the therapeutic community method : กรณีศึกษาผู้ผ่านการบำบัดฟื้นฟูสมรรถภาพผู้เสพยาเสพติดค่ายปรับเปลี่ยนพฤติกรรมโดยวิธีชุมชนบำบัด [printed text] / ชาตรี ชัยนาคิน, Author ; ชาตรี ประชาพิพัฒ, Author ; อารี พุมประโยชน์, Author . - 2017 . - p.248-262.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)