From this page you can:
Home |
Search results
5 result(s) search for keyword(s) 'แนวคิดแบบลีน.การล้างไตทางช่องท้อง.ความพึงพอใจของผู้ป่วย.'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
ผลของการใช้แนวคิดแบบลีนในการศึกษาระยะเวลาที่มารับบริการของหน่วยตรวจบริการล้างไต / ปภัชญา หนูสลุง in วารสารเกื้อการุณย์, Vol.23 No.2 (Jul-Dec) 2016/59 ([05/17/2017])
[article]
Title : ผลของการใช้แนวคิดแบบลีนในการศึกษาระยะเวลาที่มารับบริการของหน่วยตรวจบริการล้างไต : ทางช่องท้องหอผู้ป่วยโรคไตสง่า นิลวรางกูร โรงพยาบาลศิริราช Material Type: printed text Authors: ปภัชญา หนูสลุง, Author ; ปิยธิดา ตรีเดช, Author ; วงเดือน ปั้นดี, Author ; สุชาย ศรีทิพยวรรณ, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.104-119 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.23 No.2 (Jul-Dec) 2016/59 [05/17/2017] . - p.104-119Keywords: แนวคิดแบบลีน.การล้างไตทางช่องท้อง.ความพึงพอใจของผู้ป่วย. Abstract: เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง เพื่อศึกษาผลของการใช้แนวคิดแบบลีนในการศึกษาระยะเวลาการรับบริการ และเปรียบเทียบเรื่องเวลาและความพึงพอใจก่อนและหลังการนำแนวคิดแบบลีนมาใช้ ฯ
ผลการวิจัย พบว่า พบความสูญเปล่าในระบบจากการรอผลเลือด รอยานาน ความซ้ำซ้อนในระบบทำงาน ขั้นตอนมากเกินความจำเป็น การเดินกลับไปกลับมาเพื่อแก้ไขความผิดพลาด หลังนำแนวคิดแบบลีนมาใช้ ประกอบด้วยคุณค่า สายธารแห่งคุณค่า การไหล การตึง และความสมบูรณ์แบบ โดยการปรับปรุงกระบวนการให้ผู้ป่วยเจาะเลือดล่วงหน้าก่อนตรวจ ตรวจสอบข้อพิดพลาดเรื่องใบสั่งยาโดยอาจารย์แพทย์ หรือแพทย์ มีการปรับระบบการทำงานใหม่ ลดความซ้่ำซ้อน ลดขั้นตอนการทำงาน ผลการศึกษา พบว่า รระยะเวลาการมารับบริการเร้ซขึ้นจากเดิมใช้เวลาทั้งหมด 377.71 นาทีื ลดลงเหลือ 209.8 นาที โดยระยะเวลาที่ลดลง คือ การรอผลเลือด เดิม 92.54 เป็นเวลา 28.29 นาที รอยา เดิม 110.73 นาที เป็นเวลา 66.11 นาที อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ลดขั้นตอนจากเดิม 17 ขั้นตอน เหลือเพียง 14 ขั้นตอน ความพึงพอใจโดยรวมของผู้ป่วยจากเดิม 4.04 มาเป็น 4.74 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05
ข้อเสนอแนะ พบว่า ผู้ป่วยบางรายไม่สามารถมาเจาะเลือดล่วงหน้าได้ เพราะไม่มีญาติผู้ป่วยพามา ผู้วิจัยเสนอแนะโดยนำทฤษฎีแรงจูงใจมาเสริมแรงทางบวก เพื่อให้ผู้ป่วยและญาติผู้ป่วยเห็นความสำคัญของประโยชน์จากการเจาะเลือดล่วงหน้าการตรวจLink for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26734 [article] ผลของการใช้แนวคิดแบบลีนในการศึกษาระยะเวลาที่มารับบริการของหน่วยตรวจบริการล้างไต : ทางช่องท้องหอผู้ป่วยโรคไตสง่า นิลวรางกูร โรงพยาบาลศิริราช [printed text] / ปภัชญา หนูสลุง, Author ; ปิยธิดา ตรีเดช, Author ; วงเดือน ปั้นดี, Author ; สุชาย ศรีทิพยวรรณ, Author . - 2017 . - p.104-119.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.23 No.2 (Jul-Dec) 2016/59 [05/17/2017] . - p.104-119Keywords: แนวคิดแบบลีน.การล้างไตทางช่องท้อง.ความพึงพอใจของผู้ป่วย. Abstract: เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง เพื่อศึกษาผลของการใช้แนวคิดแบบลีนในการศึกษาระยะเวลาการรับบริการ และเปรียบเทียบเรื่องเวลาและความพึงพอใจก่อนและหลังการนำแนวคิดแบบลีนมาใช้ ฯ
ผลการวิจัย พบว่า พบความสูญเปล่าในระบบจากการรอผลเลือด รอยานาน ความซ้ำซ้อนในระบบทำงาน ขั้นตอนมากเกินความจำเป็น การเดินกลับไปกลับมาเพื่อแก้ไขความผิดพลาด หลังนำแนวคิดแบบลีนมาใช้ ประกอบด้วยคุณค่า สายธารแห่งคุณค่า การไหล การตึง และความสมบูรณ์แบบ โดยการปรับปรุงกระบวนการให้ผู้ป่วยเจาะเลือดล่วงหน้าก่อนตรวจ ตรวจสอบข้อพิดพลาดเรื่องใบสั่งยาโดยอาจารย์แพทย์ หรือแพทย์ มีการปรับระบบการทำงานใหม่ ลดความซ้่ำซ้อน ลดขั้นตอนการทำงาน ผลการศึกษา พบว่า รระยะเวลาการมารับบริการเร้ซขึ้นจากเดิมใช้เวลาทั้งหมด 377.71 นาทีื ลดลงเหลือ 209.8 นาที โดยระยะเวลาที่ลดลง คือ การรอผลเลือด เดิม 92.54 เป็นเวลา 28.29 นาที รอยา เดิม 110.73 นาที เป็นเวลา 66.11 นาที อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ลดขั้นตอนจากเดิม 17 ขั้นตอน เหลือเพียง 14 ขั้นตอน ความพึงพอใจโดยรวมของผู้ป่วยจากเดิม 4.04 มาเป็น 4.74 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05
ข้อเสนอแนะ พบว่า ผู้ป่วยบางรายไม่สามารถมาเจาะเลือดล่วงหน้าได้ เพราะไม่มีญาติผู้ป่วยพามา ผู้วิจัยเสนอแนะโดยนำทฤษฎีแรงจูงใจมาเสริมแรงทางบวก เพื่อให้ผู้ป่วยและญาติผู้ป่วยเห็นความสำคัญของประโยชน์จากการเจาะเลือดล่วงหน้าการตรวจLink for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26734 ผลของการเสริมสร้างพลังอำนาจต่อพฤติกรรมการดูแลตนเอง / รุจิราพร ป้องเกิด in วารสารเกื้อการุณย์, Vol.23 No.2 (Jul-Dec) 2016/59 ([05/17/2017])
[article]
Title : ผลของการเสริมสร้างพลังอำนาจต่อพฤติกรรมการดูแลตนเอง : ของผู้สูงอายุโรคไตเรื้อรังที่ได้รับการรักษาด้วยการล้างไตทางช่องท้องอย่างต่อเนื่อง Material Type: printed text Authors: รุจิราพร ป้องเกิด, Author ; ทัศนา ชูวรรณธนะปกรณ์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.165-182 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.23 No.2 (Jul-Dec) 2016/59 [05/17/2017] . - p.165-182Keywords: ผู้สูงอายุโรคไตเรื้่อรัง.การเสริมสร้างพลังอำนาจ.การล้างไตทางช่องท้อง.การรักษาด้วยการล้างไตทางช่องท้อง Link for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26780 [article] ผลของการเสริมสร้างพลังอำนาจต่อพฤติกรรมการดูแลตนเอง : ของผู้สูงอายุโรคไตเรื้อรังที่ได้รับการรักษาด้วยการล้างไตทางช่องท้องอย่างต่อเนื่อง [printed text] / รุจิราพร ป้องเกิด, Author ; ทัศนา ชูวรรณธนะปกรณ์, Author . - 2017 . - p.165-182.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)ผลของรูปแบบบริการผู้ป่วยนอกโรคเบาหวาน / ไซนับ ศุภศิริ in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก, Vol.28 No.1 (ม.ค-มิ.ย) 2017 ([11/16/2017])
[article]
Title : ผลของรูปแบบบริการผู้ป่วยนอกโรคเบาหวาน : ต่อระยะเวลารอคอย และความพึงพอใจในบริการ Original title : The effects of a service model for the diabetic out-patient department on waiting time and patients’ satisfaction Material Type: printed text Authors: ไซนับ ศุภศิริ, Author ; สมใจ พุทธาพิทักษ์ผล, Author ; ดวงใจ เปลี่ยนบำรุง, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.44-56 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก > Vol.28 No.1 (ม.ค-มิ.ย) 2017 [11/16/2017] . - p.44-56Keywords: รูปแบบบริการผู้ป่วยนอก.โรคเบาหวาน.ระยะเวลารอคอย.ความพึงพอใจของผู้ป่วย. Abstract: การวิจัยแบบกึ่งทดลองนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลของรูปแบบบริการผู้ป่วยนอกโรคเบาหวาน ต่อระยะเวลารอคอยและความพึงพอใจในบริการ
กลุ่มตัวอย่างคือผู้ป่วยโรคเบาหวาน ที่มารับบริการ ณ แผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลมายอ จังหวัดปัตตานี จำนวน 462 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 254 คน และกลุ่มเปรียบเทียบ 208 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย รูปแบบบริการผู้ป่วยโรคเบาหวาน แผนกผู้ป่วยนอก ที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นจากทฤษฎีแถวคอยและการมีส่วนร่วมของทีมสหวิชาชีพ แบบบันทึกระยะเวลารอคอย นาฬิกาจับเวลา และแบบสอบถามความพึงพอใจของผู้ป่วย วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนาและสถิติแมนวิทนีย์ยู
ผลการวิจัยพบว่า ระยะเวลารอคอยของผู้ป่วยโรคเบาหวาน ในกลุ่มทดลองน้อยกว่าผู้ป่วยในกลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ความพึงพอใจในบริการของผู้ป่วยโรคเบาหวาน ในกลุ่มทดลองสูงกว่าผู้ป่วยในกลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
การวิจัยครั้งนี้เสนอแนะให้นำรูปแบบบริการที่ประยุกต์จากทฤษฎีแถวคอยไปใช้ในแผนกผู้ป่วยนอกในสถานบริการสุขภาพอื่นๆ เพื่อลดระยะเวลารอคอยและเพิ่มความพึงพอใจLink for e-copy: http://www.thaicvtnurse.org/index.php?option=com Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27496 [article] ผลของรูปแบบบริการผู้ป่วยนอกโรคเบาหวาน = The effects of a service model for the diabetic out-patient department on waiting time and patients’ satisfaction : ต่อระยะเวลารอคอย และความพึงพอใจในบริการ [printed text] / ไซนับ ศุภศิริ, Author ; สมใจ พุทธาพิทักษ์ผล, Author ; ดวงใจ เปลี่ยนบำรุง, Author . - 2017 . - p.44-56.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก > Vol.28 No.1 (ม.ค-มิ.ย) 2017 [11/16/2017] . - p.44-56Keywords: รูปแบบบริการผู้ป่วยนอก.โรคเบาหวาน.ระยะเวลารอคอย.ความพึงพอใจของผู้ป่วย. Abstract: การวิจัยแบบกึ่งทดลองนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลของรูปแบบบริการผู้ป่วยนอกโรคเบาหวาน ต่อระยะเวลารอคอยและความพึงพอใจในบริการ
กลุ่มตัวอย่างคือผู้ป่วยโรคเบาหวาน ที่มารับบริการ ณ แผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลมายอ จังหวัดปัตตานี จำนวน 462 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 254 คน และกลุ่มเปรียบเทียบ 208 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย รูปแบบบริการผู้ป่วยโรคเบาหวาน แผนกผู้ป่วยนอก ที่ผู้วิจัยพัฒนาขึ้นจากทฤษฎีแถวคอยและการมีส่วนร่วมของทีมสหวิชาชีพ แบบบันทึกระยะเวลารอคอย นาฬิกาจับเวลา และแบบสอบถามความพึงพอใจของผู้ป่วย วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนาและสถิติแมนวิทนีย์ยู
ผลการวิจัยพบว่า ระยะเวลารอคอยของผู้ป่วยโรคเบาหวาน ในกลุ่มทดลองน้อยกว่าผู้ป่วยในกลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ความพึงพอใจในบริการของผู้ป่วยโรคเบาหวาน ในกลุ่มทดลองสูงกว่าผู้ป่วยในกลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05
การวิจัยครั้งนี้เสนอแนะให้นำรูปแบบบริการที่ประยุกต์จากทฤษฎีแถวคอยไปใช้ในแผนกผู้ป่วยนอกในสถานบริการสุขภาพอื่นๆ เพื่อลดระยะเวลารอคอยและเพิ่มความพึงพอใจLink for e-copy: http://www.thaicvtnurse.org/index.php?option=com Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27496 ผลของโปรแกรมการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองและญาติผู้ดูแล ระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้านต่อความสามารถในการปฏิบัีติกิจวัตรประจำวันภาวะแทรกซ้อน และความพึงพอใจของผู้ป่วย / วาสนา มูลฐี in วารสารสภาการพยาบาล, Vol.31 No.1 (Jan-Mar) 2016/59 ([03/29/2016])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองและญาติผู้ดูแล ระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้านต่อความสามารถในการปฏิบัีติกิจวัตรประจำวันภาวะแทรกซ้อน และความพึงพอใจของผู้ป่วย Original title : Impact of transitional care programme and family caregivers on stroke patient's routine activity performannce complications and satisfaction Material Type: printed text Authors: วาสนา มูลฐี, Author ; สุปรีดา มั่นคง, Author ; ยุพาพิน ศิรโพธิ์งาม, Author ; สิริรัตน์ ลีลาจรัส, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.95-110 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.1 (Jan-Mar) 2016/59 [03/29/2016] . - p.95-110Keywords: ผลของโปรแกรมการดูแลผู้ป่วย.โรคหลอดเลือดสมอง.ญาติผู้ดูแล.ความสามารถการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน.ภาวะแทรกซ้อน.ความพึงพอใจของผู้ป่วย. Link for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25650 [article] ผลของโปรแกรมการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองและญาติผู้ดูแล ระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้านต่อความสามารถในการปฏิบัีติกิจวัตรประจำวันภาวะแทรกซ้อน และความพึงพอใจของผู้ป่วย = Impact of transitional care programme and family caregivers on stroke patient's routine activity performannce complications and satisfaction [printed text] / วาสนา มูลฐี, Author ; สุปรีดา มั่นคง, Author ; ยุพาพิน ศิรโพธิ์งาม, Author ; สิริรัตน์ ลีลาจรัส, Author . - 2016 . - p.95-110.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)ผลของโปรแกรมส่งเสริมการปรับตัวสำหรับผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย / ชิตชวรรณ คงเกษม in วารสารพยาบาลสาธารณสุข, Vol.31 No.1 (Jan-Apr)2017 ([05/24/2017])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมส่งเสริมการปรับตัวสำหรับผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย : ที่รักษาด้วยวิธีการล้างไตทางช่องท้อง Original title : A program enhancing adaptation of patients with end stage renal disease and treatment by continuous ambulatory peritoneal dialysis Material Type: printed text Authors: ชิตชวรรณ คงเกษม, Author ; สุณีย์ ละกำปั่น, Author ; ปิยะธิดา จึงสมาน, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.75-89 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสาธารณสุข > Vol.31 No.1 (Jan-Apr)2017 [05/24/2017] . - p.75-89Keywords: โปรแกรมส่งเสริมการปรับตัว.ทฤษฎีการปรับตัวของ Roy.ผู้ป่วยไตวายเรื้่อรังระยะสุดท้าย.การล้างไตทางช่องท้อง. Link for e-copy: http://phpn.ph.mahidol.ac.th/Journal/index.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26764 [article] ผลของโปรแกรมส่งเสริมการปรับตัวสำหรับผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย = A program enhancing adaptation of patients with end stage renal disease and treatment by continuous ambulatory peritoneal dialysis : ที่รักษาด้วยวิธีการล้างไตทางช่องท้อง [printed text] / ชิตชวรรณ คงเกษม, Author ; สุณีย์ ละกำปั่น, Author ; ปิยะธิดา จึงสมาน, Author . - 2017 . - p.75-89.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)