From this page you can:
Home |
Descriptors
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sources
SIU IS-T. คุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการตำรวจ : กรณีศึกษา หน่วยงานระดับกองบังคับการขึ้นตรงต่อสำนักงานผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ / ณิชากร นาคทอง / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU IS-T Title : คุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการตำรวจ : กรณีศึกษา หน่วยงานระดับกองบังคับการขึ้นตรงต่อสำนักงานผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ Original title : Quality of Work Life of Police Officers : Case Studies of Office of the Commissioner General, Royal Thai Police Material Type: printed text Authors: ณิชากร นาคทอง, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; อุษณีย์ เสวกวัชรี, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: viii, 79 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: SOM-MBA-2016-06
Independent Study. [MS[MBA]]--Shinawatra University, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ข้าราชการตำรวจ -- คุณภาพชีวิต
[LCSH]ตำรวจ -- การทำงานKeywords: คุณภาพชีวิตในการทำงาน Abstract: งานค้นคว้าอิสระครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณภาพชีวิตในการทำงาน 8 ด้าน ของข้าราชการตำรวจ และเปรียบเทียบคุณภาพชีวิตในการทำงานของข้าราชการตำรวจ สังกัดหน่วยงานระดับ
กองบังคับการขึ้นตรงต่อสำนักงานผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ จำแนกตามข้อมูลด้านประชากรศาสตร์ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ ข้าราชการตำรวจ สังกัดหน่วยงานระดับกองบังคับการขึ้นตรงต่อสำนักงานผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ จำนวน 280 ตัวอย่าง โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ สถิติเชิงพรรณนา ประกอบด้วย ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน ประกอบด้วย Independent Samples t-test และ One-way ANOVA
ผลการศึกษาพบว่า ข้าราชการตำรวจส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุระหว่าง 21 - 30 ปี มีระดับการศึกษาปริญญาตรี มีสถานภาพโสด รายได้ต่อเดือน 25,001 บาทขึ้นไป มีชั้นยศระดับประทวน และมีระยะเวลาในการปฏิบัติงานน้อยกว่า 5 ปี โดยมีคุณภาพชีวิตในการทำงานภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมาก คือ ด้านความภูมิในองค์กร
ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า ข้าราชการตำรวจสังกัดหน่วยงานระดับกองบังคับการ ขึ้นตรงต่อสำนักงานผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ที่มีข้อมูลภูมิหลังด้านประชากรศาสตร์ ได้แก่ เพศ อายุ การศึกษา สถานภาพสมรส รายได้เฉลี่ยต่อเดือน ชั้นยศ และระยะเวลาในการปฏิบัติงาน ที่แตกต่างกันมีคุณภาพชีวิตในการทำงานที่ไม่แตกต่างกันCurricular : BBA/GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26491 SIU IS-T. คุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการตำรวจ : กรณีศึกษา หน่วยงานระดับกองบังคับการขึ้นตรงต่อสำนักงานผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ = Quality of Work Life of Police Officers : Case Studies of Office of the Commissioner General, Royal Thai Police [printed text] / ณิชากร นาคทอง, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; อุษณีย์ เสวกวัชรี, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - viii, 79 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: SOM-MBA-2016-06
Independent Study. [MS[MBA]]--Shinawatra University, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ข้าราชการตำรวจ -- คุณภาพชีวิต
[LCSH]ตำรวจ -- การทำงานKeywords: คุณภาพชีวิตในการทำงาน Abstract: งานค้นคว้าอิสระครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณภาพชีวิตในการทำงาน 8 ด้าน ของข้าราชการตำรวจ และเปรียบเทียบคุณภาพชีวิตในการทำงานของข้าราชการตำรวจ สังกัดหน่วยงานระดับ
กองบังคับการขึ้นตรงต่อสำนักงานผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ จำแนกตามข้อมูลด้านประชากรศาสตร์ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ ข้าราชการตำรวจ สังกัดหน่วยงานระดับกองบังคับการขึ้นตรงต่อสำนักงานผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ จำนวน 280 ตัวอย่าง โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ สถิติเชิงพรรณนา ประกอบด้วย ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน ประกอบด้วย Independent Samples t-test และ One-way ANOVA
ผลการศึกษาพบว่า ข้าราชการตำรวจส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุระหว่าง 21 - 30 ปี มีระดับการศึกษาปริญญาตรี มีสถานภาพโสด รายได้ต่อเดือน 25,001 บาทขึ้นไป มีชั้นยศระดับประทวน และมีระยะเวลาในการปฏิบัติงานน้อยกว่า 5 ปี โดยมีคุณภาพชีวิตในการทำงานภาพรวมมีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมาก คือ ด้านความภูมิในองค์กร
ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า ข้าราชการตำรวจสังกัดหน่วยงานระดับกองบังคับการ ขึ้นตรงต่อสำนักงานผู้บัญชาการตำรวจแห่งชาติ ที่มีข้อมูลภูมิหลังด้านประชากรศาสตร์ ได้แก่ เพศ อายุ การศึกษา สถานภาพสมรส รายได้เฉลี่ยต่อเดือน ชั้นยศ และระยะเวลาในการปฏิบัติงาน ที่แตกต่างกันมีคุณภาพชีวิตในการทำงานที่ไม่แตกต่างกันCurricular : BBA/GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26491 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000591576 SIU IS-T: SOM-MBA-2016-06 c.1 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available SIU IS-T. คุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการตำรวจ สังกัดกองกำกับการต่อต้านการก่อการร้าย สำนักงานตำรวจแห่งชาติ / อนุพงษ์ สภูยศ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : คุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการตำรวจ สังกัดกองกำกับการต่อต้านการก่อการร้าย สำนักงานตำรวจแห่งชาติ Original title : Quality of Working Life of Police Officers in Counter Terrorism Sub-Division Material Type: printed text Authors: อนุพงษ์ สภูยศ, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: viii, 68 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-26
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ข้าราชการตำรวจ -- คุณภาพชีวิต
[LCSH]ตำรวจ -- การทำงาน
[LCSH]สำนักงานตำรวจแห่งชาติ -- กองกำกับการต่อต้านการก่อการร้ายKeywords: คุณภาพชีวิต,
ข้าราชการตำรวจ,
กำกับการต่อต้านการก่อการร้ายAbstract: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบคุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการตำรวจสังกัดกองกำกับการต่อต้านการก่อการร้าย สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูลจาก ตำรวจในสังกัดกองกำกับการต่อต้านการก่อการร้ายจำนวน 150 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ได้แก่ ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ด้วยการทดสอบค่าที และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-Way ANOVA)
ผลการวิจัยพบว่า คุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการตำรวจสังกัดกองกำกับการต่อต้านการก่อการร้าย สำนักงานตำรวจแห่งชาติ โดยรวมในระดับดี เมื่อพิจารณาเป็นองค์ประกอบ พบว่า ค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับดี โดยเรียงอันดับจากมากไปหาน้อย คือ ด้านได้รับความสำเร็จในงาน ด้านความสัมพันธ์กับสังคม ด้านสิ่งแวดล้อมด้าน ความรู้สึกมั่นคงในการดำรงชีวิต และด้านค่าตอบแทน ตามลำดับ นอกจากนี้ผลการวิจัยยังพบว่า ข้าราชการตำรวจสังกัดกองกำกับการต่อต้านการก่อการร้าย สำนักงานตำรวจแห่งชาติที่มีภูมิหลังแตกต่างกัน จำแนกตามเพศ อายุ ระดับการศึกษา ระดับเงินเดือน ระดับยศ มีคุณภาพชีวิตการทำงานไม่แตกต่างกันCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26900 SIU IS-T. คุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการตำรวจ สังกัดกองกำกับการต่อต้านการก่อการร้าย สำนักงานตำรวจแห่งชาติ = Quality of Working Life of Police Officers in Counter Terrorism Sub-Division [printed text] / อนุพงษ์ สภูยศ, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - viii, 68 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-26
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ข้าราชการตำรวจ -- คุณภาพชีวิต
[LCSH]ตำรวจ -- การทำงาน
[LCSH]สำนักงานตำรวจแห่งชาติ -- กองกำกับการต่อต้านการก่อการร้ายKeywords: คุณภาพชีวิต,
ข้าราชการตำรวจ,
กำกับการต่อต้านการก่อการร้ายAbstract: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบคุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการตำรวจสังกัดกองกำกับการต่อต้านการก่อการร้าย สำนักงานตำรวจแห่งชาติ ใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูลจาก ตำรวจในสังกัดกองกำกับการต่อต้านการก่อการร้ายจำนวน 150 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ได้แก่ ความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์ด้วยการทดสอบค่าที และการวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว (One-Way ANOVA)
ผลการวิจัยพบว่า คุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการตำรวจสังกัดกองกำกับการต่อต้านการก่อการร้าย สำนักงานตำรวจแห่งชาติ โดยรวมในระดับดี เมื่อพิจารณาเป็นองค์ประกอบ พบว่า ค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับดี โดยเรียงอันดับจากมากไปหาน้อย คือ ด้านได้รับความสำเร็จในงาน ด้านความสัมพันธ์กับสังคม ด้านสิ่งแวดล้อมด้าน ความรู้สึกมั่นคงในการดำรงชีวิต และด้านค่าตอบแทน ตามลำดับ นอกจากนี้ผลการวิจัยยังพบว่า ข้าราชการตำรวจสังกัดกองกำกับการต่อต้านการก่อการร้าย สำนักงานตำรวจแห่งชาติที่มีภูมิหลังแตกต่างกัน จำแนกตามเพศ อายุ ระดับการศึกษา ระดับเงินเดือน ระดับยศ มีคุณภาพชีวิตการทำงานไม่แตกต่างกันCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26900 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000593838 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-26 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000593861 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-26 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. คุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการตำรวจชั้นประทวนสถานีตำรวจ โพธิ์กลาง จังหวัดนครราชสีมา / วัชระ คำอำพันธ์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU IS-T Title : คุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการตำรวจชั้นประทวนสถานีตำรวจ โพธิ์กลาง จังหวัดนครราชสีมา Original title : Quality of Work Life of the Police Commissionerfor Pho Klang Police Station Nakhon Ratchasima Material Type: printed text Authors: วัชระ คำอำพันธ์, Author ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name ; วรเดช จันทรศร, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: viii, 87 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-20
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ข้าราชการตำรวจ -- คุณภาพชีวิต -- สถานีตำรวจโพธิ์กลาง -- นครราชสีมา
[LCSH]ตำรวจ -- การทำงานKeywords: คุณภาพชีวิต
คุณภาพการทำงาน
ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านการปฏิบัติงานAbstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาระดับคุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการตำรวจ
ชั้นประทวน สถานีตำรวจโพธิ์กลาง จังหวัดนครราชสีมา 2) เพื่อเปรียบเทียบคุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการตำรวจสถานีตำรวจชั้นประทวน โพธิ์กลาง จังหวัดนครราชสีมา จำแนกตาม เพศ อายุ ระดับการศึกษา ประสบการณ์การทำงาน และเงินเดือน 3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านการปฏิบัติงานกับคุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการตำรวจชั้นประทวน สถานีตำรวจโพธิ์กลาง จังหวัดนครราชสีมา การวิจัยหลักครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ โดยใช้แบบสอบถามแบบปลายปิดและแบบปลายเปิดเป็นเครื่องสำคัญในการวิจัย โดยมีขนาดกลุ่มตัวอย่างประชากร จำนวน 110 คน จากการศึกษาผลการศึกษาทางด้านประชากรศาสตร์ พบว่า ข้าราชการตำรวจชั้นประทวน สถานีตำรวจโพธิ์กลาง จังหวัดนครราชสีมา จำแนกตามเพศส่วนใหญ่เป็นเพศชาย จำแนกตามกลุ่มอายุส่วนใหญ่มีอายุระหว่าง 30 -40 ปี รองลงมาคือ มีอายุระหว่าง 41 – 50 ปี ถัดมาคือ มีอายุต่ำกว่า 30 ปี และอันดับสุดท้าย ได้แก่ มีอายุ 51 ปีขึ้นไป จำแนกตามระดับการศึกษา ส่วนใหญ่สำเร็จการศึกษาระดับปริญาตรี รองลงมาคือ มีการศึกษาต่ำกว่า ปริญญาตรี และมีจำนวนน้อยที่สุดได้แก่ สำเร็จการศึกษาระดับปริญาตรี จำแนกตามรายได้ ส่วนใหญ่มีรายได้ต่อเดือนตั้งแต่ 20,001 บาทขึ้นไป รองลงมาคือ
มีรายได้ระหว่าง 15,000 – 20,000 บาท และมีรายได้ต่ำกว่า 15,000 บาท จำนวนน้อยที่สุด จำแนกตามประสบการณ์การทำงาน พบว่า ส่วนใหญ่มีประสบการณ์ทำงานระหว่าง 10-15 ปี รองลงมาคือ มีประสบการณ์ทำงานระหว่าง 16-20 ปี ถัดมาคือ มีประสบการณ์ทำงานต่ำกว่า 10 ปี และมีจำนวนน้อยที่สุดได้แก่ มีประสบการณ์ทำงาน 21 ปีขึ้นไป และผลการศึกษาระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจชั้นประทวน สถานีตำรวจโพธิ์กลาง จังหวัดนครราชสีมา ปัจจัยด้านการปฏิบัติงานอยู่ในระดับมาก หากพิจารณาเป็นรายข้อ ความสำเร็จในชีวิตการงานมีค่าเฉลี่ย 3.71 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.50 รองลงมาคือ การปฏิบัติงานภายใต้นโยบายและการบริหาร มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.52 ถัดมาคือ ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลเป็นปัจจัยในการปฏิบัติงาน มีความสำคัญอยู่ในอันดับสามมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.51 ถัดไปได้แก่ การบังคับบัญชา มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.47 ความก้าวหน้าในตำแหน่งหน้าที่ และลักษณะงาน มีค่าค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.46 และ 3.41 ตามลำดับ ส่วนทางด้านคุณภาพชีวิตของข้าราชการตำรวจชั้นประทวน สถานีตำรวจโพธิ์กลาง จังหวัดนครราชสีมา
อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ส่วนใหญ่จะเป็นความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับสังคม อยู่ในอันดับสูงสุด รองลงมาคือ การมีธรรมนูญในองค์การ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.60 ถัดมา คือ การบูรณาการด้านสังคม มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.49 ถัดไปคือ ด้านสิ่งแวดล้อมที่ปลอดภัยและส่งเสริมสุขภาพ การพัฒนาความสามารถของบุคคลความก้าวหน้าและความมั่นคงในงาน ความสมดุลระหว่างชีวิตงานกับชีวิตด้านอื่น และค่าตอบแทนที่ยุติธรรมและเพียงพอ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.47, 3.46, 3.44, 3.42 และ 3.22 ตามลำดับ ข้อเสนอแนะจากการศึกษาควรมีการศึกษาแนวทางในการเสริมสร้างคุณภาพชีวิตการทำงานที่ดีขึ้น ควรมีการศึกษาตัวแปรอื่น ๆ ที่อาจส่งผลต่อคุณภาพชีวิต และควรมีการศึกษาเพิ่มเติมด้วยการใช้รูปแบบการวิจัยเชิงคุณภาพ เพื่อวิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกเกี่ยวกับปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการตำรวจชั้นประทวน สถานีตำรวจโพธิ์กลาง จังหวัดนครราชสี มาเพื่อจะได้พัฒนาคุณภาพชีวิตการทำงานให้มีมากยิ่งขึ้นCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26607 SIU IS-T. คุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการตำรวจชั้นประทวนสถานีตำรวจ โพธิ์กลาง จังหวัดนครราชสีมา = Quality of Work Life of the Police Commissionerfor Pho Klang Police Station Nakhon Ratchasima [printed text] / วัชระ คำอำพันธ์, Author ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name ; วรเดช จันทรศร, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - viii, 87 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-20
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ข้าราชการตำรวจ -- คุณภาพชีวิต -- สถานีตำรวจโพธิ์กลาง -- นครราชสีมา
[LCSH]ตำรวจ -- การทำงานKeywords: คุณภาพชีวิต
คุณภาพการทำงาน
ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านการปฏิบัติงานAbstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาระดับคุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการตำรวจ
ชั้นประทวน สถานีตำรวจโพธิ์กลาง จังหวัดนครราชสีมา 2) เพื่อเปรียบเทียบคุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการตำรวจสถานีตำรวจชั้นประทวน โพธิ์กลาง จังหวัดนครราชสีมา จำแนกตาม เพศ อายุ ระดับการศึกษา ประสบการณ์การทำงาน และเงินเดือน 3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านการปฏิบัติงานกับคุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการตำรวจชั้นประทวน สถานีตำรวจโพธิ์กลาง จังหวัดนครราชสีมา การวิจัยหลักครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณ โดยใช้แบบสอบถามแบบปลายปิดและแบบปลายเปิดเป็นเครื่องสำคัญในการวิจัย โดยมีขนาดกลุ่มตัวอย่างประชากร จำนวน 110 คน จากการศึกษาผลการศึกษาทางด้านประชากรศาสตร์ พบว่า ข้าราชการตำรวจชั้นประทวน สถานีตำรวจโพธิ์กลาง จังหวัดนครราชสีมา จำแนกตามเพศส่วนใหญ่เป็นเพศชาย จำแนกตามกลุ่มอายุส่วนใหญ่มีอายุระหว่าง 30 -40 ปี รองลงมาคือ มีอายุระหว่าง 41 – 50 ปี ถัดมาคือ มีอายุต่ำกว่า 30 ปี และอันดับสุดท้าย ได้แก่ มีอายุ 51 ปีขึ้นไป จำแนกตามระดับการศึกษา ส่วนใหญ่สำเร็จการศึกษาระดับปริญาตรี รองลงมาคือ มีการศึกษาต่ำกว่า ปริญญาตรี และมีจำนวนน้อยที่สุดได้แก่ สำเร็จการศึกษาระดับปริญาตรี จำแนกตามรายได้ ส่วนใหญ่มีรายได้ต่อเดือนตั้งแต่ 20,001 บาทขึ้นไป รองลงมาคือ
มีรายได้ระหว่าง 15,000 – 20,000 บาท และมีรายได้ต่ำกว่า 15,000 บาท จำนวนน้อยที่สุด จำแนกตามประสบการณ์การทำงาน พบว่า ส่วนใหญ่มีประสบการณ์ทำงานระหว่าง 10-15 ปี รองลงมาคือ มีประสบการณ์ทำงานระหว่าง 16-20 ปี ถัดมาคือ มีประสบการณ์ทำงานต่ำกว่า 10 ปี และมีจำนวนน้อยที่สุดได้แก่ มีประสบการณ์ทำงาน 21 ปีขึ้นไป และผลการศึกษาระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับปัจจัยในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจชั้นประทวน สถานีตำรวจโพธิ์กลาง จังหวัดนครราชสีมา ปัจจัยด้านการปฏิบัติงานอยู่ในระดับมาก หากพิจารณาเป็นรายข้อ ความสำเร็จในชีวิตการงานมีค่าเฉลี่ย 3.71 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 0.50 รองลงมาคือ การปฏิบัติงานภายใต้นโยบายและการบริหาร มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.52 ถัดมาคือ ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลเป็นปัจจัยในการปฏิบัติงาน มีความสำคัญอยู่ในอันดับสามมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.51 ถัดไปได้แก่ การบังคับบัญชา มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.47 ความก้าวหน้าในตำแหน่งหน้าที่ และลักษณะงาน มีค่าค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.46 และ 3.41 ตามลำดับ ส่วนทางด้านคุณภาพชีวิตของข้าราชการตำรวจชั้นประทวน สถานีตำรวจโพธิ์กลาง จังหวัดนครราชสีมา
อยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า ส่วนใหญ่จะเป็นความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับสังคม อยู่ในอันดับสูงสุด รองลงมาคือ การมีธรรมนูญในองค์การ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.60 ถัดมา คือ การบูรณาการด้านสังคม มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.49 ถัดไปคือ ด้านสิ่งแวดล้อมที่ปลอดภัยและส่งเสริมสุขภาพ การพัฒนาความสามารถของบุคคลความก้าวหน้าและความมั่นคงในงาน ความสมดุลระหว่างชีวิตงานกับชีวิตด้านอื่น และค่าตอบแทนที่ยุติธรรมและเพียงพอ มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.47, 3.46, 3.44, 3.42 และ 3.22 ตามลำดับ ข้อเสนอแนะจากการศึกษาควรมีการศึกษาแนวทางในการเสริมสร้างคุณภาพชีวิตการทำงานที่ดีขึ้น ควรมีการศึกษาตัวแปรอื่น ๆ ที่อาจส่งผลต่อคุณภาพชีวิต และควรมีการศึกษาเพิ่มเติมด้วยการใช้รูปแบบการวิจัยเชิงคุณภาพ เพื่อวิเคราะห์ข้อมูลเชิงลึกเกี่ยวกับปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพชีวิตการทำงานของข้าราชการตำรวจชั้นประทวน สถานีตำรวจโพธิ์กลาง จังหวัดนครราชสี มาเพื่อจะได้พัฒนาคุณภาพชีวิตการทำงานให้มีมากยิ่งขึ้นCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26607 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000592533 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-20 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000592541 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-20 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิผลในการควบคุมฝูงชนของเจ้าหน้าที่ตำรวจ กองบังคับการสืบสวนสอบสวนตำรวจภูธร ภาค 8 / ไพรวัลย์ ทิพย์พิมล / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU IS-T Title : ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิผลในการควบคุมฝูงชนของเจ้าหน้าที่ตำรวจ กองบังคับการสืบสวนสอบสวนตำรวจภูธร ภาค 8 Original title : Factors Influence on the Efficiency of Crowd Control of Police Officers at Investigation Police Sub-Division, 8th Region Material Type: printed text Authors: ไพรวัลย์ ทิพย์พิมล, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; สมพร เพชรสงค์, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: vii, 72 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-30
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ตำรวจ -- การทำงาน
[LCSH]ฝูงชน -- การควบคุมKeywords: ประสิทธิผลในการควบคุมฝูงชนของเจ้าหน้าที่ตำรวจ Abstract: การศึกษาครั้งนี้เพื่อศึกษาระดับปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิผลในการควบคุมฝูงชนของเจ้าหน้าที่ตำรวจ 2) เปรียบเทียบปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิผลในการควบคุมฝูงชนของเจ้าหน้าที่ตำรวจ จำแนกตามอายุ ระดับการศึกษา ระดับชั้นยศ ประสบการณ์การทำงาน กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ข้าราชการตำรวจ กองบังคับการสืบสวนสอบสวนตำรวจภูธร ภาค 8 จำนวน 155 นาย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามแบบมาตรประมาณค่า สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบค่าที (t-test) ค่าเอฟ (F-test) และความแปรปรวนทางเดียว (One-Way Anova) เปรียบเทียบรายคู่ด้วยวิธีการของ LSD (LSD post hoc comparison)
ผลการวิจัยพบว่า โดยภาพรวมระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับมากทุกด้าน เรียงลำดับจากมากไปหาน้อย คือ 1) ด้านโครงสร้างหน่วยงาน 2) ด้านกฎหมาย มาตรการ และนโยบาย 3) ด้านบุคลากร 4) ด้านอาวุธ ยุทโธปกรณ์และเครื่องมือ เครื่องใช้ เมื่อเปรียบเทียบระดับปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิผลในการควบคุมฝูงชนของเจ้าหน้าที่ตำรวจ จำแนกตามระดับชั้นยศ โดยภาพรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน จำแนกตามอายุ โดยภาพรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน จำแนกตามระดับการศึกษา พบว่า โดยรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านอาวุธ ยุทโธปกรณ์และเครื่องมือ เครื่องใช้แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สำหรับด้านอื่นๆ พบว่า ไม่แตกต่างกัน จำแนกตามประสบการณ์การทำงาน พบว่า โดยรวมและรายด้านไม่แตกต่างกันเมื่อทำการทดสอบรายคู่ พบว่า ด้านอาวุธ ยุทโธปกรณ์และเครื่องมือ เครื่องใช้ ที่มีระดับการศึกษาต่างกัน พบว่า ระดับการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรี มีประสิทธิผลในการควบคุมฝูงชนของเจ้าหน้าที่ตำรวจมากกว่าระดับการศึกษาปริญญาโทหรือสูงกว่า
Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26950 SIU IS-T. ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิผลในการควบคุมฝูงชนของเจ้าหน้าที่ตำรวจ กองบังคับการสืบสวนสอบสวนตำรวจภูธร ภาค 8 = Factors Influence on the Efficiency of Crowd Control of Police Officers at Investigation Police Sub-Division, 8th Region [printed text] / ไพรวัลย์ ทิพย์พิมล, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; สมพร เพชรสงค์, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - vii, 72 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-30
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ตำรวจ -- การทำงาน
[LCSH]ฝูงชน -- การควบคุมKeywords: ประสิทธิผลในการควบคุมฝูงชนของเจ้าหน้าที่ตำรวจ Abstract: การศึกษาครั้งนี้เพื่อศึกษาระดับปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิผลในการควบคุมฝูงชนของเจ้าหน้าที่ตำรวจ 2) เปรียบเทียบปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิผลในการควบคุมฝูงชนของเจ้าหน้าที่ตำรวจ จำแนกตามอายุ ระดับการศึกษา ระดับชั้นยศ ประสบการณ์การทำงาน กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ข้าราชการตำรวจ กองบังคับการสืบสวนสอบสวนตำรวจภูธร ภาค 8 จำนวน 155 นาย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามแบบมาตรประมาณค่า สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบค่าที (t-test) ค่าเอฟ (F-test) และความแปรปรวนทางเดียว (One-Way Anova) เปรียบเทียบรายคู่ด้วยวิธีการของ LSD (LSD post hoc comparison)
ผลการวิจัยพบว่า โดยภาพรวมระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับมากทุกด้าน เรียงลำดับจากมากไปหาน้อย คือ 1) ด้านโครงสร้างหน่วยงาน 2) ด้านกฎหมาย มาตรการ และนโยบาย 3) ด้านบุคลากร 4) ด้านอาวุธ ยุทโธปกรณ์และเครื่องมือ เครื่องใช้ เมื่อเปรียบเทียบระดับปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิผลในการควบคุมฝูงชนของเจ้าหน้าที่ตำรวจ จำแนกตามระดับชั้นยศ โดยภาพรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน จำแนกตามอายุ โดยภาพรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน จำแนกตามระดับการศึกษา พบว่า โดยรวมแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านอาวุธ ยุทโธปกรณ์และเครื่องมือ เครื่องใช้แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สำหรับด้านอื่นๆ พบว่า ไม่แตกต่างกัน จำแนกตามประสบการณ์การทำงาน พบว่า โดยรวมและรายด้านไม่แตกต่างกันเมื่อทำการทดสอบรายคู่ พบว่า ด้านอาวุธ ยุทโธปกรณ์และเครื่องมือ เครื่องใช้ ที่มีระดับการศึกษาต่างกัน พบว่า ระดับการศึกษาต่ำกว่าปริญญาตรี มีประสิทธิผลในการควบคุมฝูงชนของเจ้าหน้าที่ตำรวจมากกว่าระดับการศึกษาปริญญาโทหรือสูงกว่า
Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26950 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000594232 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-30 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000594240 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-30 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิผลในการปฏิบัติงานด้านการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรม ของตำรวจในสังกัดกองบังคับการตำรวจภูธรจังหวัดสุราษฎร์ธานี / มานพ ชูรีย์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2015
Collection Title: SIU IS-T Title : ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิผลในการปฏิบัติงานด้านการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรม ของตำรวจในสังกัดกองบังคับการตำรวจภูธรจังหวัดสุราษฎร์ธานี Original title : Factors Influence on the Efficiency of Crime Prevention and Suppression Operation Practice of Police Officers in Police Division of Surattani Province Material Type: printed text Authors: มานพ ชูรีย์, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; สมพร เพชรสงค์, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2015 Pagination: viii, 77 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2015-01
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2015.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การป้องกันอาชญากรรม -- สุราษฏร์ธานี
[LCSH]ตำรวจ -- การทำงานKeywords: ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน,
การป้องกันอาชญากรรมAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิผลในการปฏิบัติงานด้านการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรม เพื่อเปรียบเทียบปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิผลในการปฏิบัติงานด้านการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรม กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ ตำรวจในสำนักงานกองบังคับการตำรวจภูธรจังหวัดสุราษฎร์ธานี จำนวน 172 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามแบบมาตรประมาณค่าที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบค่าที (t-test) ค่าเอฟ (F-test) และความแปรปรวนทางเดียว (One-Way Anova) เปรียบเทียบรายคู่ด้วยวิธีการของ LSD (LSD post hoc comparison)
ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิผลในการปฏิบัติงานด้านการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรม โดยภาพรวมระดับความคิดเห็นทุกด้านอยู่ในระดับมาก เรียงลำดับจากมากไปหาน้อย คือ 1) ด้านวัสดุอุปกรณ์ 2) ด้านการสนับสนุนจากส่วนอื่น 3) ด้านงบประมาณ 4) ด้านบุคลากร 5) ด้านการบริหารจัดการ 6) ด้านการสนับสนุนจากหน่วยเหนือ การเปรียบเทียบระดับปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิผลในการปฏิบัติงานด้านการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรม จำแนกตามระดับชั้นยศ โดยภาพรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน จำแนกตามอายุ โดยรวมไม่แตกต่างกัน และเมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ด้านการบริหารจัดการแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 ด้านการสนับสนุนจากหน่วยเหนือแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และด้านการสนับสนุนจากส่วนอื่นแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สำหรับด้านอื่นๆ พบว่า ไม่แตกต่างกัน จำแนกตามระดับการศึกษา โดยรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน จำแนกตามประสบการณ์การทำงาน โดยรวมและรายด้านไม่แตกต่างกันCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26655 SIU IS-T. ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิผลในการปฏิบัติงานด้านการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรม ของตำรวจในสังกัดกองบังคับการตำรวจภูธรจังหวัดสุราษฎร์ธานี = Factors Influence on the Efficiency of Crime Prevention and Suppression Operation Practice of Police Officers in Police Division of Surattani Province [printed text] / มานพ ชูรีย์, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; สมพร เพชรสงค์, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2015 . - viii, 77 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2015-01
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2015.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การป้องกันอาชญากรรม -- สุราษฏร์ธานี
[LCSH]ตำรวจ -- การทำงานKeywords: ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิผลในการปฏิบัติงาน,
การป้องกันอาชญากรรมAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิผลในการปฏิบัติงานด้านการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรม เพื่อเปรียบเทียบปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิผลในการปฏิบัติงานด้านการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรม กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ ตำรวจในสำนักงานกองบังคับการตำรวจภูธรจังหวัดสุราษฎร์ธานี จำนวน 172 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามแบบมาตรประมาณค่าที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบค่าที (t-test) ค่าเอฟ (F-test) และความแปรปรวนทางเดียว (One-Way Anova) เปรียบเทียบรายคู่ด้วยวิธีการของ LSD (LSD post hoc comparison)
ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิผลในการปฏิบัติงานด้านการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรม โดยภาพรวมระดับความคิดเห็นทุกด้านอยู่ในระดับมาก เรียงลำดับจากมากไปหาน้อย คือ 1) ด้านวัสดุอุปกรณ์ 2) ด้านการสนับสนุนจากส่วนอื่น 3) ด้านงบประมาณ 4) ด้านบุคลากร 5) ด้านการบริหารจัดการ 6) ด้านการสนับสนุนจากหน่วยเหนือ การเปรียบเทียบระดับปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิผลในการปฏิบัติงานด้านการป้องกันและปราบปรามอาชญากรรม จำแนกตามระดับชั้นยศ โดยภาพรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน จำแนกตามอายุ โดยรวมไม่แตกต่างกัน และเมื่อพิจารณารายด้านพบว่า ด้านการบริหารจัดการแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 ด้านการสนับสนุนจากหน่วยเหนือแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 และด้านการสนับสนุนจากส่วนอื่นแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สำหรับด้านอื่นๆ พบว่า ไม่แตกต่างกัน จำแนกตามระดับการศึกษา โดยรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน จำแนกตามประสบการณ์การทำงาน โดยรวมและรายด้านไม่แตกต่างกันCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26655 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000593069 SIU IS-T: IPAG-MPA-2015-01 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000593036 SIU IS-T: IPAG-MPA-2015-01 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ปัญหาในการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการตำรวจ ในกองบังคับการสืบสวนสอบสวนตำรวจภูธร ภาค 8 / โกสินทร์ ชื่นชม / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2014
Collection Title: SIU IS-T Title : ปัญหาในการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการตำรวจ ในกองบังคับการสืบสวนสอบสวนตำรวจภูธร ภาค 8 Original title : Challenges Faced by Police Officers in Performing Duties in Provincial Investigation Division 8 Material Type: printed text Authors: โกสินทร์ ชื่นชม, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; สมพร เพชรสงค์, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2014 Pagination: viii, 81 หน้า Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-27
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ตำรวจ -- การทำงาน
[LCSH]ตำรวจ -- ไทยKeywords: ปัญหาที่ในการปฏิบัติหน้าที่ ข้าราชการตำรวจในกองบังคับการสืบสวนตำรวจภูธร Abstract: การศึกษาเรื่อง “ปัญหาในการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการตำรวจ ในกองบังคับการสืบสวนตำรวจภูธร ภาค 8” มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับปัญหาในการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการตำรวจในกองบังคับการสืบสวนตำรวจภูธร ภาค 8 และเพื่อศึกษาปัจจัยส่วนบุคคลที่สงผลต่อระดับปัญหาในการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการตำรวจในกองบังคับการสืบสวนตำรวจภูธร ภาค 8 Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26114 SIU IS-T. ปัญหาในการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการตำรวจ ในกองบังคับการสืบสวนสอบสวนตำรวจภูธร ภาค 8 = Challenges Faced by Police Officers in Performing Duties in Provincial Investigation Division 8 [printed text] / โกสินทร์ ชื่นชม, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; สมพร เพชรสงค์, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014 . - viii, 81 หน้า : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-27
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ตำรวจ -- การทำงาน
[LCSH]ตำรวจ -- ไทยKeywords: ปัญหาที่ในการปฏิบัติหน้าที่ ข้าราชการตำรวจในกองบังคับการสืบสวนตำรวจภูธร Abstract: การศึกษาเรื่อง “ปัญหาในการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการตำรวจ ในกองบังคับการสืบสวนตำรวจภูธร ภาค 8” มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับปัญหาในการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการตำรวจในกองบังคับการสืบสวนตำรวจภูธร ภาค 8 และเพื่อศึกษาปัจจัยส่วนบุคคลที่สงผลต่อระดับปัญหาในการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการตำรวจในกองบังคับการสืบสวนตำรวจภูธร ภาค 8 Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26114 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000590313 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-27 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000590297 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-27 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available