From this page you can:
Home |
Descriptors
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sources
รายงานการวิจัยเรื่อง การตัดสินใจใช้ยาบ้าของผู้เสพติดชายวันทำงาน / เสริมสุข ราษฎร์ดุษฎี / โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข - 2544
Title : รายงานการวิจัยเรื่อง การตัดสินใจใช้ยาบ้าของผู้เสพติดชายวันทำงาน Material Type: printed text Authors: เสริมสุข ราษฎร์ดุษฎี, Author ; ดุษณีย์ ชาญปรีชา, Author ; อภิรดี พฤกษาพนาชาตื, Author ; รุจิรา อาภาุบุษยพันธุ์, Author Publisher: โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข Publication Date: 2544 Pagination: ก-ค, 39 หน้า Layout: ตารางประกอบ. Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-773-994-1 Price: บริจาค. Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]พฤติกรรมการใช้สารเสพติดประเภทยาบ้า -- ไทย
[LCSH]ยาบ้า -- การบำบัีด
[LCSH]ยาบ้า -- การเสพติดKeywords: ยาบ้า.
วัยทำงาน.
การใช้สารเสพติด.Class number: HV5840 ร726 2544 Abstract: งานวิจัยนี้เพื่อศึกษา การรับรู้ การให้ึความหมาย และการตัดสินใจใช้ยาบ้าของชายวัยทำงาน วิธีการศึกษาใช้วิธีการสัมภาษณ์เชิงลึก แบบกึ่งโครงสร้าง จากผู้ป่วยตึกมุกและตึกมรกตในโรงพยาบาลธัญญารักษ์ จำนวน 8 ราย ผลการศึกษามีดังนี้ ประเด็นที่เกี่ยวข้องและส่งผลให้เกิดการตัดสินใจใช้ยาบ้าของผู้เสพติดชายวัยทำงานได้แก่
การขาดความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องในเรื่องโทษ พิษภัยของยาบ้า ทำให้ผู้ป่วยมีความเชื่อและทัศนคติต่อยาบ้าไม่เหมาะสม โดยเชื่อว่าการเสพยาบ้าไม่ทำให้ติด และใช้แล้วจะทำงานได้มากขึ้น จึงทดลองใช้
โอกาสและประสบการณ์ที่ผู้ป่วยได้สัมผัสและคลุกคลีกับกลุ่มผู้ใช้ยาบ้า เมื่อมีโอกาสได้เข้าไปรับรู้และเห็นบ่อย ๆ ถูกเพื่อนชักชวย บางครั้งต้องการเป็นคนเด่น เท่ห์ เป็นส่วนหนึ่งในกลุ่มเพื่อน จึงตัดสินใจทดลองใช้
การที่อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่มีการแพร่ระบาดของยาบ้า จนเห็นเป็นเรื่องปกติ เมื่อถูกเพื่อนชักชวนจึงเข้าไปร่วมเสพโดยง่าย
การเผชิญความเครียดที่ไม่มีประสิทธิภาพ ปัญหาต่าง ๆ ที่ทำให้ผู้ป่วยเกิดความเครียด ได้แก่ ปัญหาครอบครัวแตกแยก ความขัดแย้งในครอบครัว ภาระหนี้ิสิน การขาดผู้ให้คำปรึกษา เมื่อผู้ป่วยไม่สามารถจัดการกับต้นเหตุของความเครียดได้สำเร็จ จึงเกิดพฤติกรรมการใช้ยาบ้าที่ทำให้ความเครียดลดลงได้เพียงชั่วคราวเท่านั้น
แนวทางการแำก้่ไขเพื่อลดปัญหาให้อยู่ในระดับที่มีผลเสียหายต่อสังคมน้อยที่สุด มีดังนี้
การให้ความรู้แก่ประชาชนโดยผ่านทางสือมวลชนแขนงต่าง ๆ เกี่ยวกับโทษและพิษของยาบ้า เพื่อลดการอยากรู้อยากลอง การเพิ่มบทบาทของชุมชน ส่งเสริมให้ชุมชนมีการรวมตัวกันเพื่อให้ชุมชนเข้มแข็ง ปลุกจิตสำนึกให้ทุกคนเกิดความรับผิดชอบ ป้องกันยาเสพติดที่อาจเกิดขี้นกับชุมชนของตนเอง กำจัดแหล่งมั่วสุมและแหล่งอบายมุขต่าง ๆ ที่อาจนำไปสู่ปัญหายาเสพติด และการเพิ่มหน่วยบริการให้คำปรึกษาปัญหายาเสพติดให้ครอบคลุมทุกพื้นที่ การเปิดบริการโทรศัพท์สายด่วนตอบปัญหายาเสพติด และปัญหาที่เกี่ยวข้องต่าง ๆ เพื่อให้ผู้ที่มีปัญหาได้มีที่ปรึกษาและได้รับความช่วยเหลือที่ถูกต้อง เป็นการแก้ไขและลดปัญหาทางสังคม
Curricular : BALA/BNS/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23297 รายงานการวิจัยเรื่อง การตัดสินใจใช้ยาบ้าของผู้เสพติดชายวันทำงาน [printed text] / เสริมสุข ราษฎร์ดุษฎี, Author ; ดุษณีย์ ชาญปรีชา, Author ; อภิรดี พฤกษาพนาชาตื, Author ; รุจิรา อาภาุบุษยพันธุ์, Author . - [S.l.] : โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข, 2544 . - ก-ค, 39 หน้า : ตารางประกอบ. ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-773-994-1 : บริจาค.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]พฤติกรรมการใช้สารเสพติดประเภทยาบ้า -- ไทย
[LCSH]ยาบ้า -- การบำบัีด
[LCSH]ยาบ้า -- การเสพติดKeywords: ยาบ้า.
วัยทำงาน.
การใช้สารเสพติด.Class number: HV5840 ร726 2544 Abstract: งานวิจัยนี้เพื่อศึกษา การรับรู้ การให้ึความหมาย และการตัดสินใจใช้ยาบ้าของชายวัยทำงาน วิธีการศึกษาใช้วิธีการสัมภาษณ์เชิงลึก แบบกึ่งโครงสร้าง จากผู้ป่วยตึกมุกและตึกมรกตในโรงพยาบาลธัญญารักษ์ จำนวน 8 ราย ผลการศึกษามีดังนี้ ประเด็นที่เกี่ยวข้องและส่งผลให้เกิดการตัดสินใจใช้ยาบ้าของผู้เสพติดชายวัยทำงานได้แก่
การขาดความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องในเรื่องโทษ พิษภัยของยาบ้า ทำให้ผู้ป่วยมีความเชื่อและทัศนคติต่อยาบ้าไม่เหมาะสม โดยเชื่อว่าการเสพยาบ้าไม่ทำให้ติด และใช้แล้วจะทำงานได้มากขึ้น จึงทดลองใช้
โอกาสและประสบการณ์ที่ผู้ป่วยได้สัมผัสและคลุกคลีกับกลุ่มผู้ใช้ยาบ้า เมื่อมีโอกาสได้เข้าไปรับรู้และเห็นบ่อย ๆ ถูกเพื่อนชักชวย บางครั้งต้องการเป็นคนเด่น เท่ห์ เป็นส่วนหนึ่งในกลุ่มเพื่อน จึงตัดสินใจทดลองใช้
การที่อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่มีการแพร่ระบาดของยาบ้า จนเห็นเป็นเรื่องปกติ เมื่อถูกเพื่อนชักชวนจึงเข้าไปร่วมเสพโดยง่าย
การเผชิญความเครียดที่ไม่มีประสิทธิภาพ ปัญหาต่าง ๆ ที่ทำให้ผู้ป่วยเกิดความเครียด ได้แก่ ปัญหาครอบครัวแตกแยก ความขัดแย้งในครอบครัว ภาระหนี้ิสิน การขาดผู้ให้คำปรึกษา เมื่อผู้ป่วยไม่สามารถจัดการกับต้นเหตุของความเครียดได้สำเร็จ จึงเกิดพฤติกรรมการใช้ยาบ้าที่ทำให้ความเครียดลดลงได้เพียงชั่วคราวเท่านั้น
แนวทางการแำก้่ไขเพื่อลดปัญหาให้อยู่ในระดับที่มีผลเสียหายต่อสังคมน้อยที่สุด มีดังนี้
การให้ความรู้แก่ประชาชนโดยผ่านทางสือมวลชนแขนงต่าง ๆ เกี่ยวกับโทษและพิษของยาบ้า เพื่อลดการอยากรู้อยากลอง การเพิ่มบทบาทของชุมชน ส่งเสริมให้ชุมชนมีการรวมตัวกันเพื่อให้ชุมชนเข้มแข็ง ปลุกจิตสำนึกให้ทุกคนเกิดความรับผิดชอบ ป้องกันยาเสพติดที่อาจเกิดขี้นกับชุมชนของตนเอง กำจัดแหล่งมั่วสุมและแหล่งอบายมุขต่าง ๆ ที่อาจนำไปสู่ปัญหายาเสพติด และการเพิ่มหน่วยบริการให้คำปรึกษาปัญหายาเสพติดให้ครอบคลุมทุกพื้นที่ การเปิดบริการโทรศัพท์สายด่วนตอบปัญหายาเสพติด และปัญหาที่เกี่ยวข้องต่าง ๆ เพื่อให้ผู้ที่มีปัญหาได้มีที่ปรึกษาและได้รับความช่วยเหลือที่ถูกต้อง เป็นการแก้ไขและลดปัญหาทางสังคม
Curricular : BALA/BNS/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23297 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000355188 THE HV5840 ร726 2544 Thesis Main Library Thesis Corner Available รายงานการวิจัยเรื่อง การรับรู้และการช่วยเหลือของพ่อแม่ที่มีบุตรชายวัยรุ่นเสพติดยาบ้า / วันเพ็ญ ใจปทุม / โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข - 2544
Title : รายงานการวิจัยเรื่อง การรับรู้และการช่วยเหลือของพ่อแม่ที่มีบุตรชายวัยรุ่นเสพติดยาบ้า Material Type: printed text Authors: วันเพ็ญ ใจปทุม, Author ; สุภาริณีย์ สายแสงทอง, Author ; ศศลักษณ์ กล้าไพรี, Author Publisher: โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข Publication Date: 2544 Pagination: 63 หน้า. Layout: ตารางประกอบ. Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-774-028-1 Price: บริจาค. Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]พฤติกรรมการใช้สารเสพติดประเภทยาบ้า -- ไทย
[LCSH]ยาบ้า -- การบำบัีด
[LCSH]ยาบ้า -- การเสพติดKeywords: การรับรู้.
วัยรุ่นชาย.
การเสพยา.Class number: HV5840 ว715 2544 Abstract: เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา คือพ่อ แม่ที่มีบุตรชายวัยรุ่นเสพติดยาบ้า อายุระหว่าง 15-19 ปี ตึกโกเมน โรงพยาบาลธัญญารักษ์ จำนวน 20 คน โดยวิธีการสัมภาษณ์เชิงลึก แบบกึ่งโครงสร้าง เป็นรายบุคคลโดยการสัมภาษณ์พร้อมกับทั้งพ่อและแม่ เพื่อให้ได้ข้อมูลเป็นจริงและการใช้คำถามเดียวกันทั้งพ่อแม่ที่บ่งบอกถึงการรับรู้ การให้ความหมายเกี่ยวกับยาบ้าและพฤติกรรมการช่วยเหลือของพ่อแม่ที่แตกต่างกันออกไป ข้อมูลที่ได้จ้ากการสัมภาษณ์นำมาประมวล และวิเคราะห์เพื่อหาคำอธิบายพฤติกรรมที่เกิดขึ้น
ผลจากการศึกษาพบว่า การรับรู้ของพ่อแม่เกี่ยวกับความหมายของยาบ้า พ่อ แม่ให้ความหมายของยาบ้าในทางที่ไม่ดี คือ ยาบ้าเมื่อเสพเข้าไปแล้วทำให้เกิดผลกระทบทั้งต่อร่างกายและจิตใจ พฤติกรรมทำให้สังคมไม่ยอมนับ ส่วนความหมายของยาบ้าในทางที่ดี คือ ใช้แล้วขยันทำงาน ไม่หลับ ร่างกายกระปรี้ กระเปร่า ซึ่งพ่อบางคนรับรู้โดยประสบการณ์ตรง คือ การทดลองใช้ และมีแม่บางรายไม่สามารถบอกความหมายของยาบ้าได้ เนื่องจากไม่ทราบ หรือรู้จักมาก่อน
การรับรู้ว่าลูกติดยาบ้าของพ่อแม่ รับรู้โดยการสังเกตจาก อาการทางร่างกาย จิตใจ และพฤติกรรม มีผู้อื่นมาบอก เช่น ครู และเพื่อนบ้าน จึงทราบว่าลูกเสพยาบ้า
ความรู้สึกของพ่อแม่เมื่อรู้ว่าลูกติดยา ความรู้สึกแรกที่พบ คือ รู้สึกเสียใจมาก บางรายโกรธถึงขั้นทุบตีลูก โทษตนเองว่าดูแลลูกไม่ดี น้อยใจที่ลูกไม่เชื่อฟัง รู้สึกท้อแท้กลัวลูกจะรักษาไมาหาย อายกลัวเสียชื่อเสียง
การค้นหาสาเหตุ จากการศึกษาพบว่า สาเหตุที่ทำให้ลูกติดยาคือ การคบเพื่อนที่ติดยาเสพติด และพฤติกรรมเกเร มีสมาชิกในครอบครัวที่ติดยาบ้า จึงมีพฤติกรรมที่เลียนแบบ ติดจาการมีโรคประจำตัว มีปมด้อย เช่น หอบหืด ชัก พ่อแม่ไม่เข้าใจลูกไม่ฟังเหตุผล พ่อแม่ไม่มีเวลาดูลูก ให้เงินลูกมากเกินไป อุปนิสัยของลูกชอบประชด พ่อแม่ตามใจ หรือบีบบังคับมากเกินไปCurricular : BALA/BNS/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23300 รายงานการวิจัยเรื่อง การรับรู้และการช่วยเหลือของพ่อแม่ที่มีบุตรชายวัยรุ่นเสพติดยาบ้า [printed text] / วันเพ็ญ ใจปทุม, Author ; สุภาริณีย์ สายแสงทอง, Author ; ศศลักษณ์ กล้าไพรี, Author . - [S.l.] : โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข, 2544 . - 63 หน้า. : ตารางประกอบ. ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-774-028-1 : บริจาค.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]พฤติกรรมการใช้สารเสพติดประเภทยาบ้า -- ไทย
[LCSH]ยาบ้า -- การบำบัีด
[LCSH]ยาบ้า -- การเสพติดKeywords: การรับรู้.
วัยรุ่นชาย.
การเสพยา.Class number: HV5840 ว715 2544 Abstract: เป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา คือพ่อ แม่ที่มีบุตรชายวัยรุ่นเสพติดยาบ้า อายุระหว่าง 15-19 ปี ตึกโกเมน โรงพยาบาลธัญญารักษ์ จำนวน 20 คน โดยวิธีการสัมภาษณ์เชิงลึก แบบกึ่งโครงสร้าง เป็นรายบุคคลโดยการสัมภาษณ์พร้อมกับทั้งพ่อและแม่ เพื่อให้ได้ข้อมูลเป็นจริงและการใช้คำถามเดียวกันทั้งพ่อแม่ที่บ่งบอกถึงการรับรู้ การให้ความหมายเกี่ยวกับยาบ้าและพฤติกรรมการช่วยเหลือของพ่อแม่ที่แตกต่างกันออกไป ข้อมูลที่ได้จ้ากการสัมภาษณ์นำมาประมวล และวิเคราะห์เพื่อหาคำอธิบายพฤติกรรมที่เกิดขึ้น
ผลจากการศึกษาพบว่า การรับรู้ของพ่อแม่เกี่ยวกับความหมายของยาบ้า พ่อ แม่ให้ความหมายของยาบ้าในทางที่ไม่ดี คือ ยาบ้าเมื่อเสพเข้าไปแล้วทำให้เกิดผลกระทบทั้งต่อร่างกายและจิตใจ พฤติกรรมทำให้สังคมไม่ยอมนับ ส่วนความหมายของยาบ้าในทางที่ดี คือ ใช้แล้วขยันทำงาน ไม่หลับ ร่างกายกระปรี้ กระเปร่า ซึ่งพ่อบางคนรับรู้โดยประสบการณ์ตรง คือ การทดลองใช้ และมีแม่บางรายไม่สามารถบอกความหมายของยาบ้าได้ เนื่องจากไม่ทราบ หรือรู้จักมาก่อน
การรับรู้ว่าลูกติดยาบ้าของพ่อแม่ รับรู้โดยการสังเกตจาก อาการทางร่างกาย จิตใจ และพฤติกรรม มีผู้อื่นมาบอก เช่น ครู และเพื่อนบ้าน จึงทราบว่าลูกเสพยาบ้า
ความรู้สึกของพ่อแม่เมื่อรู้ว่าลูกติดยา ความรู้สึกแรกที่พบ คือ รู้สึกเสียใจมาก บางรายโกรธถึงขั้นทุบตีลูก โทษตนเองว่าดูแลลูกไม่ดี น้อยใจที่ลูกไม่เชื่อฟัง รู้สึกท้อแท้กลัวลูกจะรักษาไมาหาย อายกลัวเสียชื่อเสียง
การค้นหาสาเหตุ จากการศึกษาพบว่า สาเหตุที่ทำให้ลูกติดยาคือ การคบเพื่อนที่ติดยาเสพติด และพฤติกรรมเกเร มีสมาชิกในครอบครัวที่ติดยาบ้า จึงมีพฤติกรรมที่เลียนแบบ ติดจาการมีโรคประจำตัว มีปมด้อย เช่น หอบหืด ชัก พ่อแม่ไม่เข้าใจลูกไม่ฟังเหตุผล พ่อแม่ไม่มีเวลาดูลูก ให้เงินลูกมากเกินไป อุปนิสัยของลูกชอบประชด พ่อแม่ตามใจ หรือบีบบังคับมากเกินไปCurricular : BALA/BNS/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23300 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354892 HV5840 ว715 2544 Book Main Library General Shelf Available รายงานการวิจัยเรื่อง ประสบการณ์เสพติดยาบ้าซ้ำในผู้ป่วยวัยรุ่นชายโรงพยาบาลธัญญารักษ์ / จำเนียร แบ้กระโทก / โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข - 2544
Title : รายงานการวิจัยเรื่อง ประสบการณ์เสพติดยาบ้าซ้ำในผู้ป่วยวัยรุ่นชายโรงพยาบาลธัญญารักษ์ Material Type: printed text Authors: จำเนียร แบ้กระโทก, Author ; รัชนีพร จันทร์มณี, Author ; อำพร คำตา, Author Publisher: โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข Publication Date: 2544 Pagination: 37 แผ่น Layout: ตาราง. Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-774-020-6 Price: บริจาค. Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]พฤติกรรมการใช้สารเสพติดประเภทยาบ้า -- ไทย
[LCSH]ยาบ้า -- การบำบัีด
[LCSH]ยาบ้า -- การเสพติด
[LCSH]ยาเสพติดกับเยาวชน
[LCSH]วัยรุ่น -- ยาเสพติดKeywords: วัยรุ่นชาย.
ย้าบ้า
การเสพติด.
การบำบัด.Class number: HV5840 จ225 2544 Abstract: งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาประสบการณ์ของผู้เสพติดยาบ้าซ้ำในผู้ป่วยวัยรุ่นชาย โดยกลุ่มตัวอย่างคือ วัยรุ่นชายที่เสพติดยาบ้าซ้ำตั้งแต่ 2-4 ครั้ง อายุระหว่าง 16-21 ปี ที่เข้ารัีบการบำบัดรักษาในระยะจู.ใจในโรงพยาบาลธัญญารักษ์ ระหว่างเดือนมีนาคม - พฤษภาคม 2544 จำนวน 8 ราย เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกและนำข้อมูลจากการสัมภาษณ์มาวิเคราะห์ประสบการณ์การเสพติดยาบ้าซ้ำในวัยรุ่น
ผลการวิจัยพบว่า สาเหตุของการใช้ยาบ้าครั้งแรก คือ อยากลอง และการที่เพื่อนชวนเพื่อให้เป็นที่ยอมรับของกลุ่มเพื่อน ส่วนสาเหตุของการเสพติดยาบ้่าซ้ำประำกอบด้วย ความรู้สึกที่ยังคงติดใจในรสชาิดของยาบ้า เมื่อเพื่อนชวนจึงไม่อาจปฎิเสธหรือห้ามใจตนเองได้ ด้านครอบครัวนั้นสัมพันธภาพในครอบครัวไม่ดี ครอบครัวแตกแยก ไม่มีเวลาให้กัน หรือคอยดุด่าเป็นประจำทำให้ขาดความเข้าใจ คอยหวาดระแวงซึ่งกันและกัน และขาดความอบอุ่น นอกจากนัี้้นแลัวสภาพแวดล้อมที่มียาเสพติดจำหน่าย เป็นสิ่งกระตุ้นให้ไม่สามารถที่จะหยุดยาได้ เพราะเป็นตัวกระตุ้นและแรงผลักดันให้นึกถึงยาเสพติดอีก และอยากกลับไปใช้ยาเสพติด การที่เพื่อนบ้านยังไม่ให้ความไว้วางใจหวาดระแวงที่จะชักชวนบุตรหลานไปเสพร่วมด้วยเป็นส่วนหนึ่งที่ทำให้วัยุร่นกดดันและนำไปสู่การใช้ยาเสพติดซ้ำ ประการสำคัญคือ การคบเพื่อนกลุ่มเดิม ซึ่งส่งผลให้มีความอยากลองตามการฃักชวนและไม่กล้าที่จะปฎิเสธขัดใจเพื่อน กลัวเพื่อนไม่ยอมรับ ดังนั้นอาจกล่าวได้ว่าแบบแผนการดำเนินชีวิตภายหลังการรักษายาเสพติดแล้วไม่ต่างจากเดิม คือ การอยู่ในสังคมเดิม การไม่มีงานทำ การว่างจากการเรียน หรือคบเพื่อนกลุ่มเดิม ทำให้ความตั้งใจในการเลิกเสพตติดยานั้นเปลี่ยนไป แต่ทั้งนี้วัยรุ่นเหล่านี้ต่างมีความหวังและเป้าหมายหลักงเข้ารับการรักษา เมื่ออกไปจากโรงพยาบาลคือ ต้องการเรียนต่อเพื่อทำงานที่มั่นคง และครอบครัวให้โอกาสในการปรับปรุงชีวิตใหม่Curricular : BALA/BNS/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23299 รายงานการวิจัยเรื่อง ประสบการณ์เสพติดยาบ้าซ้ำในผู้ป่วยวัยรุ่นชายโรงพยาบาลธัญญารักษ์ [printed text] / จำเนียร แบ้กระโทก, Author ; รัชนีพร จันทร์มณี, Author ; อำพร คำตา, Author . - [S.l.] : โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข, 2544 . - 37 แผ่น : ตาราง. ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-774-020-6 : บริจาค.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]พฤติกรรมการใช้สารเสพติดประเภทยาบ้า -- ไทย
[LCSH]ยาบ้า -- การบำบัีด
[LCSH]ยาบ้า -- การเสพติด
[LCSH]ยาเสพติดกับเยาวชน
[LCSH]วัยรุ่น -- ยาเสพติดKeywords: วัยรุ่นชาย.
ย้าบ้า
การเสพติด.
การบำบัด.Class number: HV5840 จ225 2544 Abstract: งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาประสบการณ์ของผู้เสพติดยาบ้าซ้ำในผู้ป่วยวัยรุ่นชาย โดยกลุ่มตัวอย่างคือ วัยรุ่นชายที่เสพติดยาบ้าซ้ำตั้งแต่ 2-4 ครั้ง อายุระหว่าง 16-21 ปี ที่เข้ารัีบการบำบัดรักษาในระยะจู.ใจในโรงพยาบาลธัญญารักษ์ ระหว่างเดือนมีนาคม - พฤษภาคม 2544 จำนวน 8 ราย เก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกและนำข้อมูลจากการสัมภาษณ์มาวิเคราะห์ประสบการณ์การเสพติดยาบ้าซ้ำในวัยรุ่น
ผลการวิจัยพบว่า สาเหตุของการใช้ยาบ้าครั้งแรก คือ อยากลอง และการที่เพื่อนชวนเพื่อให้เป็นที่ยอมรับของกลุ่มเพื่อน ส่วนสาเหตุของการเสพติดยาบ้่าซ้ำประำกอบด้วย ความรู้สึกที่ยังคงติดใจในรสชาิดของยาบ้า เมื่อเพื่อนชวนจึงไม่อาจปฎิเสธหรือห้ามใจตนเองได้ ด้านครอบครัวนั้นสัมพันธภาพในครอบครัวไม่ดี ครอบครัวแตกแยก ไม่มีเวลาให้กัน หรือคอยดุด่าเป็นประจำทำให้ขาดความเข้าใจ คอยหวาดระแวงซึ่งกันและกัน และขาดความอบอุ่น นอกจากนัี้้นแลัวสภาพแวดล้อมที่มียาเสพติดจำหน่าย เป็นสิ่งกระตุ้นให้ไม่สามารถที่จะหยุดยาได้ เพราะเป็นตัวกระตุ้นและแรงผลักดันให้นึกถึงยาเสพติดอีก และอยากกลับไปใช้ยาเสพติด การที่เพื่อนบ้านยังไม่ให้ความไว้วางใจหวาดระแวงที่จะชักชวนบุตรหลานไปเสพร่วมด้วยเป็นส่วนหนึ่งที่ทำให้วัยุร่นกดดันและนำไปสู่การใช้ยาเสพติดซ้ำ ประการสำคัญคือ การคบเพื่อนกลุ่มเดิม ซึ่งส่งผลให้มีความอยากลองตามการฃักชวนและไม่กล้าที่จะปฎิเสธขัดใจเพื่อน กลัวเพื่อนไม่ยอมรับ ดังนั้นอาจกล่าวได้ว่าแบบแผนการดำเนินชีวิตภายหลังการรักษายาเสพติดแล้วไม่ต่างจากเดิม คือ การอยู่ในสังคมเดิม การไม่มีงานทำ การว่างจากการเรียน หรือคบเพื่อนกลุ่มเดิม ทำให้ความตั้งใจในการเลิกเสพตติดยานั้นเปลี่ยนไป แต่ทั้งนี้วัยรุ่นเหล่านี้ต่างมีความหวังและเป้าหมายหลักงเข้ารับการรักษา เมื่ออกไปจากโรงพยาบาลคือ ต้องการเรียนต่อเพื่อทำงานที่มั่นคง และครอบครัวให้โอกาสในการปรับปรุงชีวิตใหม่Curricular : BALA/BNS/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23299 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354827 THE HV5840 จ225 2544 Thesis Main Library Thesis Corner Available รายงานการวิจัียเรื่อง ปัจจัยที่มีผลต่อการเลิกเสพยาเสพติดของผู้ที่เคยผ่านการบำบัีดรักษา / สุนีรัตน์ บริพันธ์ / โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข - 2544
Title : รายงานการวิจัียเรื่อง ปัจจัยที่มีผลต่อการเลิกเสพยาเสพติดของผู้ที่เคยผ่านการบำบัีดรักษา Material Type: printed text Authors: สุนีรัตน์ บริพันธ์, Author ; ศรีพรรณ สว่างวงศ์, Author Publisher: โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข Publication Date: 2544 Pagination: 58 แผ่น Layout: ตารางประกอบ Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-774-019-2 Price: บริจาค. Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]พฤติกรรมการใช้สารเสพติดประเภทยาบ้า -- ไทย
[LCSH]ยาบ้า -- การบำบัีด
[LCSH]ยาบ้า -- การเสพติดKeywords: ยาบ้า.
การเสพติด.
การบำบัด.
การรักษา.Class number: WM270 ส845 2544 Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อ ศึกษาปัจจัย เงื่อนไขที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการเลิกยาเสพติดของผู้ที่เคยผ่านการบำบัดรักษา โดยเก็บรวบรวมข้อมูลใช้แนวการสัมภาษณ์แบบกึ่งโคีรงสร้างลักษณะคำถามปลายเปิดที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น ผู้ให้ข้อมูลถูกคัดเลือกอย่างเฉพาะเจาะจง โดยต้องเป็นผู้ที่เคยผ่านการบำบัดรักษาจากศูนย์บำบัดรักษายาเสพติดจังหวัดเชียงใหม่ และไม่กลับไปเสพซ้ำเป็นเวลามากกว่า 1 ปีขึ้นไป มีภูมิลำเนาอยู่ใน 17 จังหวัดภาคเหนือจำนวน 10 ราย
ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยที่น่าจะเป็นปัจจัยเบื้องต้นที่นำไปสู่การเลิกยาได้ในที่สุด คือ ความสมัครใจเข้ารับการบำบัดรักษาจากสถานบำบัด โดยพบว่าแรงบันดาลใจที่สำคัญที่ทำให้ต้องการเลิกยา ได้แก่ ความรับผิดชอบและภาระหน้าที่ที่ต้องเลี้ยงดูครอบครัว เพราตระหนักในความรัก ความห่วงใยของพ่อแม่ ไม่อยากให้พ่อแม่เสียใจและเป็นทุกข์ ต้องการเอาชนะคำสบประมาทและการดูถูกดูแคลนจากผู้อื่น ต่อมาเมื่อผู้ติดยาได้รับการจำหน่ายจากสถานบำบัด หลังจากได้รับการบำบัดครบขั้นตอนแล้ว จะมีการหลีกเลี่ยงภาวะเสี่ยงที่จะไม่กลับไปเสพซ้ำด้วยการตัดขาดจากสังคมเดิม ไม่คบเพื่อนกลุ่มเก่า การรู้จักปฏิเสธ บางรายพักงานอยู่กับบ้านเป็นปี หรือพักการเรียนระยะหนึ่ง แล้วจึงย้ายโรงเรียนใหม่ นอกจากนี้ความเชื่อมั่นว่ายาเสพติิดเป็นสิ่งที่สามารถเลิกได้ได้ใจเข็มแข็ง เป็นแรงจูงใจที่สำคัญที่ทำให้ผู้ติดยาเสพติดมีความมุ่งมั่นที่จะเลิกให้ได้ การรับรู้โทษและผลเสียของการติดยาเสพติด โดยเฉพาะการรัีบรู้ที่เป็นประสบการณ์ตรงจากการมีชีวิตเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้น ครอบครัวให้ความรัก ความใอลอุ่นมากขึ้น การมีสุขภาพร่างกายที่ดีขึ้น การเห็นคุณค่าของตนเองจากความรู้สึกว่าเป็นที่ต้องการของผู้อื่น และพึ่งพาได้ มีความรู้สึกนึิกคิดต่อตนเองในทางบวกตรงตามสภาพความเป็นจริง เข้าใจตนเอง เข้าใจผู้อ่ืื่อนและเมื่อมีปัญหาก็มีแหล่งใหคำปรึกษา ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นคนในครอบครัว และเพื่อน ๆ ตลอดจนการได้รับโอกาสและการยอมรับจากชุมชน ทำให้ผู้เลิกยามีความพึงพอใจในตนเองในระดับหนึ่ง ช่วยลดความคับข้องใจและความเครียด ทำให้ผู้เลิกยามีความพึงพอใจในตนเองในระดับหนึ่ง ช่วยลดความคับข้องใจและความเครียด ทำให้ไม่ต้องหันกลับไปพึ่งพายาเสพติด
ผลการศึกษานี้เป็นประโยชน์สำหรับองค์กร และบุุคลากรทางด้านสาธารณสุข ในการนำไปกำหนดนโยบาย และประยุกต์ใช้ในด้านการปฏิบัติการพยาบาลเชิงรุก เพื่อให้ผู้บำบัดมีการรับรู้
Curricular : BALA/BNS/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23303 รายงานการวิจัียเรื่อง ปัจจัยที่มีผลต่อการเลิกเสพยาเสพติดของผู้ที่เคยผ่านการบำบัีดรักษา [printed text] / สุนีรัตน์ บริพันธ์, Author ; ศรีพรรณ สว่างวงศ์, Author . - [S.l.] : โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข, 2544 . - 58 แผ่น : ตารางประกอบ ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-774-019-2 : บริจาค.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]พฤติกรรมการใช้สารเสพติดประเภทยาบ้า -- ไทย
[LCSH]ยาบ้า -- การบำบัีด
[LCSH]ยาบ้า -- การเสพติดKeywords: ยาบ้า.
การเสพติด.
การบำบัด.
การรักษา.Class number: WM270 ส845 2544 Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อ ศึกษาปัจจัย เงื่อนไขที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการเลิกยาเสพติดของผู้ที่เคยผ่านการบำบัดรักษา โดยเก็บรวบรวมข้อมูลใช้แนวการสัมภาษณ์แบบกึ่งโคีรงสร้างลักษณะคำถามปลายเปิดที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น ผู้ให้ข้อมูลถูกคัดเลือกอย่างเฉพาะเจาะจง โดยต้องเป็นผู้ที่เคยผ่านการบำบัดรักษาจากศูนย์บำบัดรักษายาเสพติดจังหวัดเชียงใหม่ และไม่กลับไปเสพซ้ำเป็นเวลามากกว่า 1 ปีขึ้นไป มีภูมิลำเนาอยู่ใน 17 จังหวัดภาคเหนือจำนวน 10 ราย
ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยที่น่าจะเป็นปัจจัยเบื้องต้นที่นำไปสู่การเลิกยาได้ในที่สุด คือ ความสมัครใจเข้ารับการบำบัดรักษาจากสถานบำบัด โดยพบว่าแรงบันดาลใจที่สำคัญที่ทำให้ต้องการเลิกยา ได้แก่ ความรับผิดชอบและภาระหน้าที่ที่ต้องเลี้ยงดูครอบครัว เพราตระหนักในความรัก ความห่วงใยของพ่อแม่ ไม่อยากให้พ่อแม่เสียใจและเป็นทุกข์ ต้องการเอาชนะคำสบประมาทและการดูถูกดูแคลนจากผู้อื่น ต่อมาเมื่อผู้ติดยาได้รับการจำหน่ายจากสถานบำบัด หลังจากได้รับการบำบัดครบขั้นตอนแล้ว จะมีการหลีกเลี่ยงภาวะเสี่ยงที่จะไม่กลับไปเสพซ้ำด้วยการตัดขาดจากสังคมเดิม ไม่คบเพื่อนกลุ่มเก่า การรู้จักปฏิเสธ บางรายพักงานอยู่กับบ้านเป็นปี หรือพักการเรียนระยะหนึ่ง แล้วจึงย้ายโรงเรียนใหม่ นอกจากนี้ความเชื่อมั่นว่ายาเสพติิดเป็นสิ่งที่สามารถเลิกได้ได้ใจเข็มแข็ง เป็นแรงจูงใจที่สำคัญที่ทำให้ผู้ติดยาเสพติดมีความมุ่งมั่นที่จะเลิกให้ได้ การรับรู้โทษและผลเสียของการติดยาเสพติด โดยเฉพาะการรัีบรู้ที่เป็นประสบการณ์ตรงจากการมีชีวิตเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้น ครอบครัวให้ความรัก ความใอลอุ่นมากขึ้น การมีสุขภาพร่างกายที่ดีขึ้น การเห็นคุณค่าของตนเองจากความรู้สึกว่าเป็นที่ต้องการของผู้อื่น และพึ่งพาได้ มีความรู้สึกนึิกคิดต่อตนเองในทางบวกตรงตามสภาพความเป็นจริง เข้าใจตนเอง เข้าใจผู้อ่ืื่อนและเมื่อมีปัญหาก็มีแหล่งใหคำปรึกษา ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นคนในครอบครัว และเพื่อน ๆ ตลอดจนการได้รับโอกาสและการยอมรับจากชุมชน ทำให้ผู้เลิกยามีความพึงพอใจในตนเองในระดับหนึ่ง ช่วยลดความคับข้องใจและความเครียด ทำให้ผู้เลิกยามีความพึงพอใจในตนเองในระดับหนึ่ง ช่วยลดความคับข้องใจและความเครียด ทำให้ไม่ต้องหันกลับไปพึ่งพายาเสพติด
ผลการศึกษานี้เป็นประโยชน์สำหรับองค์กร และบุุคลากรทางด้านสาธารณสุข ในการนำไปกำหนดนโยบาย และประยุกต์ใช้ในด้านการปฏิบัติการพยาบาลเชิงรุก เพื่อให้ผู้บำบัดมีการรับรู้
Curricular : BALA/BNS/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23303 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354884 THE WM270 ส845 2544 Thesis Main Library Thesis Corner Available