From this page you can:
Home |
Search results
6 result(s) search for keyword(s) 'ยาบ้า. วัยทำงาน. การใช้สารเสพติด.'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
รายงานการวิจัยเรื่อง การตัดสินใจใช้ยาบ้าของผู้เสพติดชายวันทำงาน / เสริมสุข ราษฎร์ดุษฎี / โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข - 2544
Title : รายงานการวิจัยเรื่อง การตัดสินใจใช้ยาบ้าของผู้เสพติดชายวันทำงาน Material Type: printed text Authors: เสริมสุข ราษฎร์ดุษฎี, Author ; ดุษณีย์ ชาญปรีชา, Author ; อภิรดี พฤกษาพนาชาตื, Author ; รุจิรา อาภาุบุษยพันธุ์, Author Publisher: โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข Publication Date: 2544 Pagination: ก-ค, 39 หน้า Layout: ตารางประกอบ. Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-773-994-1 Price: บริจาค. Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]พฤติกรรมการใช้สารเสพติดประเภทยาบ้า -- ไทย
[LCSH]ยาบ้า -- การบำบัีด
[LCSH]ยาบ้า -- การเสพติดKeywords: ยาบ้า.
วัยทำงาน.
การใช้สารเสพติด.Class number: HV5840 ร726 2544 Abstract: งานวิจัยนี้เพื่อศึกษา การรับรู้ การให้ึความหมาย และการตัดสินใจใช้ยาบ้าของชายวัยทำงาน วิธีการศึกษาใช้วิธีการสัมภาษณ์เชิงลึก แบบกึ่งโครงสร้าง จากผู้ป่วยตึกมุกและตึกมรกตในโรงพยาบาลธัญญารักษ์ จำนวน 8 ราย ผลการศึกษามีดังนี้ ประเด็นที่เกี่ยวข้องและส่งผลให้เกิดการตัดสินใจใช้ยาบ้าของผู้เสพติดชายวัยทำงานได้แก่
การขาดความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องในเรื่องโทษ พิษภัยของยาบ้า ทำให้ผู้ป่วยมีความเชื่อและทัศนคติต่อยาบ้าไม่เหมาะสม โดยเชื่อว่าการเสพยาบ้าไม่ทำให้ติด และใช้แล้วจะทำงานได้มากขึ้น จึงทดลองใช้
โอกาสและประสบการณ์ที่ผู้ป่วยได้สัมผัสและคลุกคลีกับกลุ่มผู้ใช้ยาบ้า เมื่อมีโอกาสได้เข้าไปรับรู้และเห็นบ่อย ๆ ถูกเพื่อนชักชวย บางครั้งต้องการเป็นคนเด่น เท่ห์ เป็นส่วนหนึ่งในกลุ่มเพื่อน จึงตัดสินใจทดลองใช้
การที่อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่มีการแพร่ระบาดของยาบ้า จนเห็นเป็นเรื่องปกติ เมื่อถูกเพื่อนชักชวนจึงเข้าไปร่วมเสพโดยง่าย
การเผชิญความเครียดที่ไม่มีประสิทธิภาพ ปัญหาต่าง ๆ ที่ทำให้ผู้ป่วยเกิดความเครียด ได้แก่ ปัญหาครอบครัวแตกแยก ความขัดแย้งในครอบครัว ภาระหนี้ิสิน การขาดผู้ให้คำปรึกษา เมื่อผู้ป่วยไม่สามารถจัดการกับต้นเหตุของความเครียดได้สำเร็จ จึงเกิดพฤติกรรมการใช้ยาบ้าที่ทำให้ความเครียดลดลงได้เพียงชั่วคราวเท่านั้น
แนวทางการแำก้่ไขเพื่อลดปัญหาให้อยู่ในระดับที่มีผลเสียหายต่อสังคมน้อยที่สุด มีดังนี้
การให้ความรู้แก่ประชาชนโดยผ่านทางสือมวลชนแขนงต่าง ๆ เกี่ยวกับโทษและพิษของยาบ้า เพื่อลดการอยากรู้อยากลอง การเพิ่มบทบาทของชุมชน ส่งเสริมให้ชุมชนมีการรวมตัวกันเพื่อให้ชุมชนเข้มแข็ง ปลุกจิตสำนึกให้ทุกคนเกิดความรับผิดชอบ ป้องกันยาเสพติดที่อาจเกิดขี้นกับชุมชนของตนเอง กำจัดแหล่งมั่วสุมและแหล่งอบายมุขต่าง ๆ ที่อาจนำไปสู่ปัญหายาเสพติด และการเพิ่มหน่วยบริการให้คำปรึกษาปัญหายาเสพติดให้ครอบคลุมทุกพื้นที่ การเปิดบริการโทรศัพท์สายด่วนตอบปัญหายาเสพติด และปัญหาที่เกี่ยวข้องต่าง ๆ เพื่อให้ผู้ที่มีปัญหาได้มีที่ปรึกษาและได้รับความช่วยเหลือที่ถูกต้อง เป็นการแก้ไขและลดปัญหาทางสังคม
Curricular : BALA/BNS/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23297 รายงานการวิจัยเรื่อง การตัดสินใจใช้ยาบ้าของผู้เสพติดชายวันทำงาน [printed text] / เสริมสุข ราษฎร์ดุษฎี, Author ; ดุษณีย์ ชาญปรีชา, Author ; อภิรดี พฤกษาพนาชาตื, Author ; รุจิรา อาภาุบุษยพันธุ์, Author . - [S.l.] : โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข, 2544 . - ก-ค, 39 หน้า : ตารางประกอบ. ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-773-994-1 : บริจาค.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]พฤติกรรมการใช้สารเสพติดประเภทยาบ้า -- ไทย
[LCSH]ยาบ้า -- การบำบัีด
[LCSH]ยาบ้า -- การเสพติดKeywords: ยาบ้า.
วัยทำงาน.
การใช้สารเสพติด.Class number: HV5840 ร726 2544 Abstract: งานวิจัยนี้เพื่อศึกษา การรับรู้ การให้ึความหมาย และการตัดสินใจใช้ยาบ้าของชายวัยทำงาน วิธีการศึกษาใช้วิธีการสัมภาษณ์เชิงลึก แบบกึ่งโครงสร้าง จากผู้ป่วยตึกมุกและตึกมรกตในโรงพยาบาลธัญญารักษ์ จำนวน 8 ราย ผลการศึกษามีดังนี้ ประเด็นที่เกี่ยวข้องและส่งผลให้เกิดการตัดสินใจใช้ยาบ้าของผู้เสพติดชายวัยทำงานได้แก่
การขาดความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องในเรื่องโทษ พิษภัยของยาบ้า ทำให้ผู้ป่วยมีความเชื่อและทัศนคติต่อยาบ้าไม่เหมาะสม โดยเชื่อว่าการเสพยาบ้าไม่ทำให้ติด และใช้แล้วจะทำงานได้มากขึ้น จึงทดลองใช้
โอกาสและประสบการณ์ที่ผู้ป่วยได้สัมผัสและคลุกคลีกับกลุ่มผู้ใช้ยาบ้า เมื่อมีโอกาสได้เข้าไปรับรู้และเห็นบ่อย ๆ ถูกเพื่อนชักชวย บางครั้งต้องการเป็นคนเด่น เท่ห์ เป็นส่วนหนึ่งในกลุ่มเพื่อน จึงตัดสินใจทดลองใช้
การที่อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่มีการแพร่ระบาดของยาบ้า จนเห็นเป็นเรื่องปกติ เมื่อถูกเพื่อนชักชวนจึงเข้าไปร่วมเสพโดยง่าย
การเผชิญความเครียดที่ไม่มีประสิทธิภาพ ปัญหาต่าง ๆ ที่ทำให้ผู้ป่วยเกิดความเครียด ได้แก่ ปัญหาครอบครัวแตกแยก ความขัดแย้งในครอบครัว ภาระหนี้ิสิน การขาดผู้ให้คำปรึกษา เมื่อผู้ป่วยไม่สามารถจัดการกับต้นเหตุของความเครียดได้สำเร็จ จึงเกิดพฤติกรรมการใช้ยาบ้าที่ทำให้ความเครียดลดลงได้เพียงชั่วคราวเท่านั้น
แนวทางการแำก้่ไขเพื่อลดปัญหาให้อยู่ในระดับที่มีผลเสียหายต่อสังคมน้อยที่สุด มีดังนี้
การให้ความรู้แก่ประชาชนโดยผ่านทางสือมวลชนแขนงต่าง ๆ เกี่ยวกับโทษและพิษของยาบ้า เพื่อลดการอยากรู้อยากลอง การเพิ่มบทบาทของชุมชน ส่งเสริมให้ชุมชนมีการรวมตัวกันเพื่อให้ชุมชนเข้มแข็ง ปลุกจิตสำนึกให้ทุกคนเกิดความรับผิดชอบ ป้องกันยาเสพติดที่อาจเกิดขี้นกับชุมชนของตนเอง กำจัดแหล่งมั่วสุมและแหล่งอบายมุขต่าง ๆ ที่อาจนำไปสู่ปัญหายาเสพติด และการเพิ่มหน่วยบริการให้คำปรึกษาปัญหายาเสพติดให้ครอบคลุมทุกพื้นที่ การเปิดบริการโทรศัพท์สายด่วนตอบปัญหายาเสพติด และปัญหาที่เกี่ยวข้องต่าง ๆ เพื่อให้ผู้ที่มีปัญหาได้มีที่ปรึกษาและได้รับความช่วยเหลือที่ถูกต้อง เป็นการแก้ไขและลดปัญหาทางสังคม
Curricular : BALA/BNS/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23297 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000355188 THE HV5840 ร726 2544 Thesis Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. ความเข้าใจเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิส่วนบุคคลต่อการใช้ Social Network - Facebook ของประชากรวัยทำงานในกรุงเทพมหานคร / อังคณา สุระอารีย์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU THE-T Title : ความเข้าใจเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิส่วนบุคคลต่อการใช้ Social Network - Facebook ของประชากรวัยทำงานในกรุงเทพมหานคร Original title : Understanding the Violation of Privacy Right of Working People in Bangkok Metropolis using Social Networks: The Case of Facebook Material Type: printed text Authors: อังคณา สุระอารีย์, Author ; วิษณุ สุวรรณเพิ่ม, Associated Name ; วุฒิพงศ์ พงศ์สุวรรณ, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: viii, 57 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU THE-T: SOLA-MAMIC-2017-03
Thesis. [MAMIC.[Arts in Media Information and Communication]]. Shinawatra University, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ละเมิด
[LCSH]สิทธิส่วนบุคคล
[LCSH]เฟซบุ๊คKeywords: การละเมิดสิทธิส่วนบุคคล, พฤติกรรมการใช้ Facebook, วัยทำงาน Abstract: Facebook เป็นเครือข่ายสังคม online ที่นิยมสูงสุดทั่วโลกโดยมีลักษณะการใช้เป็นการ post ข้อความ upload รูปภาพหรือ VDO ต่าง ๆ ที่เป็นของตนเองและบุคคลอื่น การถ่ายทอดสด (Live) รวมถึงการ share ข้อมูล รูปภาพหรือ VDO ของผู้ใช้ Facebook รายอื่น ๆ ด้วยลักษณะการใช้งานดังกล่าว ที่อาจจะทำให้เกิดการละเมิดสิทธิส่วนบุคคลโดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์ และส่งผลกระทบต่อผู้ละเมิดและถูกละเมิดสิทธิส่วนบุคคลได้ วัตถุประสงค์การวิจัยเพื่อ 1) ศึกษาลักษณะประชากรวัยทำงานของ
ผู้ใช้ Facebook ด้านความเข้าใจสิทธิส่วนบุคคลในกรุงเทพมหานคร 2) ศึกษาพฤติกรรมของบุคคลวัยทำงานผู้ใช้ Facebook ที่ละเมิดสิทธิส่วนบุคคลด้วยการสื่อสารผ่านทาง Facebook ในกรุงเทพมหานคร 3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการใช้ Facebook ของบุคคลวัยทำงานกับการละเมิดสิทธิส่วนบุคคลในกรุงเทพมหานคร 4) ศึกษาความเข้าใจเรื่องการละเมิดสิทธิส่วนบุคคลของบุคคลวัยทำงานต่อการใช้ Facebook ในกรุงเทพมหานคร
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ ได้แก่ ประชาชนวัยทำงานในกรุงเทพมหานครผู้ใช้ Facebook จำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลครั้งนี้ ได้แก่ แบบสอบถาม ค่าความน่าเชื่อถือได้ (Reliability Coefficients) เท่ากับ .86 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติ t-test และ ANOVA เมื่อพบค่าความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติจะเปรียบเทียบรายคู่โดยวิธี LSD ผลการวิเคราะห์ข้อมูล พบว่า ด้านลักษณะประชากรระดับการศึกษาที่แตกต่างกันมีผลต่อความเข้าใจเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิส่วนบุคคลต่อการใช้ Facebook และด้านเนื้อหาที่ใช้ เรื่องที่ post แตกต่างกัน มีผลต่อความเข้าใจเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิส่วนบุคคลต่อการใช้ Facebook โดยผู้วิจัยได้ศึกษากลุ่มตัวอย่างวัยทำงานเฉพาะในกรุงเทพมหานครเท่านั้น จึงควรเพิ่มการวิจัยในกลุ่มประชากรกลุ่มอื่น ๆ ด้วย เนื่องจากการใช้งาน Facebook มีการใช้งานอย่างแพร่หลายในทุก ๆ วัยCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27604 SIU THE-T. ความเข้าใจเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิส่วนบุคคลต่อการใช้ Social Network - Facebook ของประชากรวัยทำงานในกรุงเทพมหานคร = Understanding the Violation of Privacy Right of Working People in Bangkok Metropolis using Social Networks: The Case of Facebook [printed text] / อังคณา สุระอารีย์, Author ; วิษณุ สุวรรณเพิ่ม, Associated Name ; วุฒิพงศ์ พงศ์สุวรรณ, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - viii, 57 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00
SIU THE-T: SOLA-MAMIC-2017-03
Thesis. [MAMIC.[Arts in Media Information and Communication]]. Shinawatra University, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ละเมิด
[LCSH]สิทธิส่วนบุคคล
[LCSH]เฟซบุ๊คKeywords: การละเมิดสิทธิส่วนบุคคล, พฤติกรรมการใช้ Facebook, วัยทำงาน Abstract: Facebook เป็นเครือข่ายสังคม online ที่นิยมสูงสุดทั่วโลกโดยมีลักษณะการใช้เป็นการ post ข้อความ upload รูปภาพหรือ VDO ต่าง ๆ ที่เป็นของตนเองและบุคคลอื่น การถ่ายทอดสด (Live) รวมถึงการ share ข้อมูล รูปภาพหรือ VDO ของผู้ใช้ Facebook รายอื่น ๆ ด้วยลักษณะการใช้งานดังกล่าว ที่อาจจะทำให้เกิดการละเมิดสิทธิส่วนบุคคลโดยรู้เท่าไม่ถึงการณ์ และส่งผลกระทบต่อผู้ละเมิดและถูกละเมิดสิทธิส่วนบุคคลได้ วัตถุประสงค์การวิจัยเพื่อ 1) ศึกษาลักษณะประชากรวัยทำงานของ
ผู้ใช้ Facebook ด้านความเข้าใจสิทธิส่วนบุคคลในกรุงเทพมหานคร 2) ศึกษาพฤติกรรมของบุคคลวัยทำงานผู้ใช้ Facebook ที่ละเมิดสิทธิส่วนบุคคลด้วยการสื่อสารผ่านทาง Facebook ในกรุงเทพมหานคร 3) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการใช้ Facebook ของบุคคลวัยทำงานกับการละเมิดสิทธิส่วนบุคคลในกรุงเทพมหานคร 4) ศึกษาความเข้าใจเรื่องการละเมิดสิทธิส่วนบุคคลของบุคคลวัยทำงานต่อการใช้ Facebook ในกรุงเทพมหานคร
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ ได้แก่ ประชาชนวัยทำงานในกรุงเทพมหานครผู้ใช้ Facebook จำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลครั้งนี้ ได้แก่ แบบสอบถาม ค่าความน่าเชื่อถือได้ (Reliability Coefficients) เท่ากับ .86 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติ t-test และ ANOVA เมื่อพบค่าความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติจะเปรียบเทียบรายคู่โดยวิธี LSD ผลการวิเคราะห์ข้อมูล พบว่า ด้านลักษณะประชากรระดับการศึกษาที่แตกต่างกันมีผลต่อความเข้าใจเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิส่วนบุคคลต่อการใช้ Facebook และด้านเนื้อหาที่ใช้ เรื่องที่ post แตกต่างกัน มีผลต่อความเข้าใจเกี่ยวกับการละเมิดสิทธิส่วนบุคคลต่อการใช้ Facebook โดยผู้วิจัยได้ศึกษากลุ่มตัวอย่างวัยทำงานเฉพาะในกรุงเทพมหานครเท่านั้น จึงควรเพิ่มการวิจัยในกลุ่มประชากรกลุ่มอื่น ๆ ด้วย เนื่องจากการใช้งาน Facebook มีการใช้งานอย่างแพร่หลายในทุก ๆ วัยCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27604 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000596880 SIU THE-T: SOLA-MAMIC-2017-03 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000596872 SIU THE-T: SOLA-MAMIC-2017-03 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available รายงานการวิจัยเรื่อง กระบวนการกลายเป็นผู้ติดยาบ้าของวัยรุ่นชาย / สุกุมา แสงเดือนฉาย / โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข - 2544
Title : รายงานการวิจัยเรื่อง กระบวนการกลายเป็นผู้ติดยาบ้าของวัยรุ่นชาย Material Type: printed text Authors: สุกุมา แสงเดือนฉาย, Author ; ขนิ็ิษฐา ขันตี, Author ; ฉวีวรรณ ปัญจบุศย์, Author Publisher: โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข Publication Date: 2544 Pagination: 71 แผ่น Layout: ตาราง. Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-774-009-5 Price: บริจาค. Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การควบคุมยาเสพติด -- ไทย
[LCSH]พฤติกรรมการใช้สารเสพติดประเภทยาบ้า -- ไทย
[LCSH]พฤติกรรมการใช้แอมฟิตะมีนในทางที่ผิด -- ไทย
[LCSH]ยาบ้า -- การบำบัดKeywords: ยาบ้า
วัยรุ่นชาย.
การเสพ.
การบำบัด.
พฤติกรรม.Class number: HV5840 ส841 2544 Abstract: เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ เพื่อศึกษากระบวนการกลายเป็นผู้ติดยาบ้า และปัจจัยที่ทำให้มีการพัฒนาในการเสพยาบ้า ตั้งแต่ระยะปลูกฝัง ระยะเสพ และระยะเสพประจำของวัยรุ่นชาย อันจะนำไปสู่แนวทางป้องกันและการวางแผนในการดูแลบำบัดรักษาผู้เสพติดยาเสพติด เพื่อให้เลิกยาบ้าได้อย่างถาวร กลุ่มตัวอย่าง คือ วัยรุ่นชายอายุ 15-19 ปี ที่เข้ารับการบำบัดรักษายาบ้าในระยะบำบัดด้วยยา ในโรงพยาบาลธัญญารักษ์ระหว่างเดือนมีนาคม - เมษายน 2544 จำนวน 8 รายเก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์มาวิเคราะห์ กระบวนการกลายเป็นผู้เสพติดยาบ้าในวัยรุ่นชาย
ผลการวิจัย พบว่า การเกิดกระบวนการกลายเป็นผู้เสพติดยาบ้า ประกอบด้วย 3 ขั้นตอน คือ ระยะปลูกฝัง ซึ่งเป็นระยะที่หล่อหลอมความคิด ความรู้สึก ค่านิยมของวัยรุ่นที่มีต่อยาบ้าแล้วดำเนินผ่านจากระยะปลูกฝังสู่ีระยะเีริ่มเสพ ซึ่งเป็นการลองเสพในครั้งแรก โดยมีปัจจัยสาเหตุต่าง ๆ เช่น เพื่อนชวน อยากลอง สัมภันธภาพในครอบครัวไม่ดี และมีการเสพครั้งต่อ ๆ ไป เนื่องจากติดใจในรสชาดของยาบ้า มองว่ายาบ้าใช้ แล้วไม่ติด ทำให้การเสพเข้าสู่ระยะเสพประจำ ระยะนี้จะมีการเพิ่มปริมาณ และจำนวนครั้งของการเสพมากขึ้น มีความต้องการพึ่งพายาบ้าทั้งร่างกาย และจิตใจเป็นผู้เสพติดยาบ้าในที่สุด
ผลการวิจัยครั้งนี้มีข้อเสนอแนะว่า ควรพัฒนานโยบายในการแก้ไขปัญหาอย่างครบวงจร โดยเฉพาะการป้องกันตั้งแต่ระยะปลูกฝัง ก่อนที่เยาวชนจะเข้าสู่กระบวนการกลายเป็นผู้ติดยาบ้าใหมีความรู้ ความคิด ทัศนคติ และค่านิยม ที่ถูกต้องเกี่ยวกับยาเสพติดในทุกระบบ และประสานความร่วมมือทุกหน่วยงานทั้งภาคเอกชน และรัฐบาลในการแก้ปัญหาอย่างจริงจังCurricular : BALA/BNS/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23296 รายงานการวิจัยเรื่อง กระบวนการกลายเป็นผู้ติดยาบ้าของวัยรุ่นชาย [printed text] / สุกุมา แสงเดือนฉาย, Author ; ขนิ็ิษฐา ขันตี, Author ; ฉวีวรรณ ปัญจบุศย์, Author . - [S.l.] : โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข, 2544 . - 71 แผ่น : ตาราง. ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-774-009-5 : บริจาค.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การควบคุมยาเสพติด -- ไทย
[LCSH]พฤติกรรมการใช้สารเสพติดประเภทยาบ้า -- ไทย
[LCSH]พฤติกรรมการใช้แอมฟิตะมีนในทางที่ผิด -- ไทย
[LCSH]ยาบ้า -- การบำบัดKeywords: ยาบ้า
วัยรุ่นชาย.
การเสพ.
การบำบัด.
พฤติกรรม.Class number: HV5840 ส841 2544 Abstract: เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ เพื่อศึกษากระบวนการกลายเป็นผู้ติดยาบ้า และปัจจัยที่ทำให้มีการพัฒนาในการเสพยาบ้า ตั้งแต่ระยะปลูกฝัง ระยะเสพ และระยะเสพประจำของวัยรุ่นชาย อันจะนำไปสู่แนวทางป้องกันและการวางแผนในการดูแลบำบัดรักษาผู้เสพติดยาเสพติด เพื่อให้เลิกยาบ้าได้อย่างถาวร กลุ่มตัวอย่าง คือ วัยรุ่นชายอายุ 15-19 ปี ที่เข้ารับการบำบัดรักษายาบ้าในระยะบำบัดด้วยยา ในโรงพยาบาลธัญญารักษ์ระหว่างเดือนมีนาคม - เมษายน 2544 จำนวน 8 รายเก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์มาวิเคราะห์ กระบวนการกลายเป็นผู้เสพติดยาบ้าในวัยรุ่นชาย
ผลการวิจัย พบว่า การเกิดกระบวนการกลายเป็นผู้เสพติดยาบ้า ประกอบด้วย 3 ขั้นตอน คือ ระยะปลูกฝัง ซึ่งเป็นระยะที่หล่อหลอมความคิด ความรู้สึก ค่านิยมของวัยรุ่นที่มีต่อยาบ้าแล้วดำเนินผ่านจากระยะปลูกฝังสู่ีระยะเีริ่มเสพ ซึ่งเป็นการลองเสพในครั้งแรก โดยมีปัจจัยสาเหตุต่าง ๆ เช่น เพื่อนชวน อยากลอง สัมภันธภาพในครอบครัวไม่ดี และมีการเสพครั้งต่อ ๆ ไป เนื่องจากติดใจในรสชาดของยาบ้า มองว่ายาบ้าใช้ แล้วไม่ติด ทำให้การเสพเข้าสู่ระยะเสพประจำ ระยะนี้จะมีการเพิ่มปริมาณ และจำนวนครั้งของการเสพมากขึ้น มีความต้องการพึ่งพายาบ้าทั้งร่างกาย และจิตใจเป็นผู้เสพติดยาบ้าในที่สุด
ผลการวิจัยครั้งนี้มีข้อเสนอแนะว่า ควรพัฒนานโยบายในการแก้ไขปัญหาอย่างครบวงจร โดยเฉพาะการป้องกันตั้งแต่ระยะปลูกฝัง ก่อนที่เยาวชนจะเข้าสู่กระบวนการกลายเป็นผู้ติดยาบ้าใหมีความรู้ ความคิด ทัศนคติ และค่านิยม ที่ถูกต้องเกี่ยวกับยาเสพติดในทุกระบบ และประสานความร่วมมือทุกหน่วยงานทั้งภาคเอกชน และรัฐบาลในการแก้ปัญหาอย่างจริงจังCurricular : BALA/BNS/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23296 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354819 THE HV5840 ส841 2544 Book Main Library General Shelf Available รายงานการวิจัยเรื่อง การรับรู้และการสนับสนุนของสมาชิกในครอบครัวให้ผู้เสพติดยาบ้า / อุไรวรรณ วงศ์พรประทีป / โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข - 2544
Title : รายงานการวิจัยเรื่อง การรับรู้และการสนับสนุนของสมาชิกในครอบครัวให้ผู้เสพติดยาบ้า : สมัครใจเข้ารับการบำบัดรักษาในโรงพยาบาลธัญญารักษ์ Material Type: printed text Authors: อุไรวรรณ วงศ์พรประทีป, Author ; อัมพร วิเศษชาติ, Author ; ราตรี หุ่นดี, Author Publisher: โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข Publication Date: 2544 Pagination: 48 แผ่น. Layout: ตารางประกอบ, แผนภูมิ Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-774-018-4 Price: บริจาค. Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ผู้ป่วย -- ยาเสพติด -- การบำบัด
[LCSH]พฤติกรรมการใช้สารเสพติดประเภทยาบ้า -- ไทย
[LCSH]ยาบ้า -- การเสพติดKeywords: ยาบ้า.
การเสพยา.
การบำบัด
การรักษา.Class number: WM270 อ949 2544 Abstract: การศึกษาครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพแบบปรากฎการณ์วิทยา โดยแบ่งการศึกษาออกเป็นการศึกษาค้นคว้าวิจัยจากเอกสารและงานวิจัย ผู้ศึกษาได้ออกแบบสอบถามให้ครอบคลุมเนื้อหา และสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการศึกษา ตลอดจนได้วิเคราะห์ข้อมูลโดยการจัดกลุ่ม และอภิปรายผลโดยการให้การพรรณาความประกอบ
ผลการศึกษาพบว่า ผู้เสพยาบ้าส่สนใหญ่ไม่ได้อาศัยอยู่บ้านเดียวกับผู้นำเข้ารัีบการบำบัดรักษา แสดงให้เห็นว่าการรับรู้ของบุคคลในครอบครัวที่มิใช่บิดา มารดา มีการแสดงออกของการรับรู้ การยอมรับในตัวผู้เสพยา และให้ความช่วยเหลือนำผู้เสพติดยาบ้าเข้ารับการบำบัดรักษาด้วยความสมัครใจดีกว่าบิดา มารดา ในกรณีที่ผู้เสพติดมีปัญหาทางด้านสัมพันธภาพในครอบครัว และการใช้สถานการณ์ที่สำคัญที่เกิดขึ้นกับตัวผู้เสพเป็นเครื่องมือในการนำไปสู่การตรวจหาสารเสพติดเพื่อยืนยันว่าผู้เสพมีการเสพยาเสพติด ทำให้ผู้เสพยายอมรับว่าเสพยาและสมาชิกในครอบครัวที่การนำผู้เสพยาบ้าสมัครใจเข้ารับการบำบัดส่วนใหญ่เป็นน้า ร้อยละ 50 และเป็นเพศหญิงร้อยละ 70
จากการศึกษาครั้งนี้ ผู้ศึุกษาได้ให้ข้อเสนอแนะว่า ควรมีการนำเอาสมาชิกในครอบครัวมาร่วมกันและเปลี่ยนแนวคิดในการที่จะะนำผู้เสพยาบ้าเข้าบำบัดรักษาด้วยความสมัครใจและช่วยประชาสัมพันธ์แก่ครอบครัวผู้เสพติดรายอื่นCurricular : BALA/BNS/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23302 รายงานการวิจัยเรื่อง การรับรู้และการสนับสนุนของสมาชิกในครอบครัวให้ผู้เสพติดยาบ้า : สมัครใจเข้ารับการบำบัดรักษาในโรงพยาบาลธัญญารักษ์ [printed text] / อุไรวรรณ วงศ์พรประทีป, Author ; อัมพร วิเศษชาติ, Author ; ราตรี หุ่นดี, Author . - [S.l.] : โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข, 2544 . - 48 แผ่น. : ตารางประกอบ, แผนภูมิ ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-774-018-4 : บริจาค.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ผู้ป่วย -- ยาเสพติด -- การบำบัด
[LCSH]พฤติกรรมการใช้สารเสพติดประเภทยาบ้า -- ไทย
[LCSH]ยาบ้า -- การเสพติดKeywords: ยาบ้า.
การเสพยา.
การบำบัด
การรักษา.Class number: WM270 อ949 2544 Abstract: การศึกษาครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพแบบปรากฎการณ์วิทยา โดยแบ่งการศึกษาออกเป็นการศึกษาค้นคว้าวิจัยจากเอกสารและงานวิจัย ผู้ศึกษาได้ออกแบบสอบถามให้ครอบคลุมเนื้อหา และสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการศึกษา ตลอดจนได้วิเคราะห์ข้อมูลโดยการจัดกลุ่ม และอภิปรายผลโดยการให้การพรรณาความประกอบ
ผลการศึกษาพบว่า ผู้เสพยาบ้าส่สนใหญ่ไม่ได้อาศัยอยู่บ้านเดียวกับผู้นำเข้ารัีบการบำบัดรักษา แสดงให้เห็นว่าการรับรู้ของบุคคลในครอบครัวที่มิใช่บิดา มารดา มีการแสดงออกของการรับรู้ การยอมรับในตัวผู้เสพยา และให้ความช่วยเหลือนำผู้เสพติดยาบ้าเข้ารับการบำบัดรักษาด้วยความสมัครใจดีกว่าบิดา มารดา ในกรณีที่ผู้เสพติดมีปัญหาทางด้านสัมพันธภาพในครอบครัว และการใช้สถานการณ์ที่สำคัญที่เกิดขึ้นกับตัวผู้เสพเป็นเครื่องมือในการนำไปสู่การตรวจหาสารเสพติดเพื่อยืนยันว่าผู้เสพมีการเสพยาเสพติด ทำให้ผู้เสพยายอมรับว่าเสพยาและสมาชิกในครอบครัวที่การนำผู้เสพยาบ้าสมัครใจเข้ารับการบำบัดส่วนใหญ่เป็นน้า ร้อยละ 50 และเป็นเพศหญิงร้อยละ 70
จากการศึกษาครั้งนี้ ผู้ศึุกษาได้ให้ข้อเสนอแนะว่า ควรมีการนำเอาสมาชิกในครอบครัวมาร่วมกันและเปลี่ยนแนวคิดในการที่จะะนำผู้เสพยาบ้าเข้าบำบัดรักษาด้วยความสมัครใจและช่วยประชาสัมพันธ์แก่ครอบครัวผู้เสพติดรายอื่นCurricular : BALA/BNS/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23302 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000355204 THE WM270 อ949 2544 Thesis Main Library Thesis Corner Available รายงานการวิจัียเรื่อง ปัจจัยที่มีผลต่อการเลิกเสพยาเสพติดของผู้ที่เคยผ่านการบำบัีดรักษา / สุนีรัตน์ บริพันธ์ / โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข - 2544
Title : รายงานการวิจัียเรื่อง ปัจจัยที่มีผลต่อการเลิกเสพยาเสพติดของผู้ที่เคยผ่านการบำบัีดรักษา Material Type: printed text Authors: สุนีรัตน์ บริพันธ์, Author ; ศรีพรรณ สว่างวงศ์, Author Publisher: โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข Publication Date: 2544 Pagination: 58 แผ่น Layout: ตารางประกอบ Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-774-019-2 Price: บริจาค. Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]พฤติกรรมการใช้สารเสพติดประเภทยาบ้า -- ไทย
[LCSH]ยาบ้า -- การบำบัีด
[LCSH]ยาบ้า -- การเสพติดKeywords: ยาบ้า.
การเสพติด.
การบำบัด.
การรักษา.Class number: WM270 ส845 2544 Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อ ศึกษาปัจจัย เงื่อนไขที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการเลิกยาเสพติดของผู้ที่เคยผ่านการบำบัดรักษา โดยเก็บรวบรวมข้อมูลใช้แนวการสัมภาษณ์แบบกึ่งโคีรงสร้างลักษณะคำถามปลายเปิดที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น ผู้ให้ข้อมูลถูกคัดเลือกอย่างเฉพาะเจาะจง โดยต้องเป็นผู้ที่เคยผ่านการบำบัดรักษาจากศูนย์บำบัดรักษายาเสพติดจังหวัดเชียงใหม่ และไม่กลับไปเสพซ้ำเป็นเวลามากกว่า 1 ปีขึ้นไป มีภูมิลำเนาอยู่ใน 17 จังหวัดภาคเหนือจำนวน 10 ราย
ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยที่น่าจะเป็นปัจจัยเบื้องต้นที่นำไปสู่การเลิกยาได้ในที่สุด คือ ความสมัครใจเข้ารับการบำบัดรักษาจากสถานบำบัด โดยพบว่าแรงบันดาลใจที่สำคัญที่ทำให้ต้องการเลิกยา ได้แก่ ความรับผิดชอบและภาระหน้าที่ที่ต้องเลี้ยงดูครอบครัว เพราตระหนักในความรัก ความห่วงใยของพ่อแม่ ไม่อยากให้พ่อแม่เสียใจและเป็นทุกข์ ต้องการเอาชนะคำสบประมาทและการดูถูกดูแคลนจากผู้อื่น ต่อมาเมื่อผู้ติดยาได้รับการจำหน่ายจากสถานบำบัด หลังจากได้รับการบำบัดครบขั้นตอนแล้ว จะมีการหลีกเลี่ยงภาวะเสี่ยงที่จะไม่กลับไปเสพซ้ำด้วยการตัดขาดจากสังคมเดิม ไม่คบเพื่อนกลุ่มเก่า การรู้จักปฏิเสธ บางรายพักงานอยู่กับบ้านเป็นปี หรือพักการเรียนระยะหนึ่ง แล้วจึงย้ายโรงเรียนใหม่ นอกจากนี้ความเชื่อมั่นว่ายาเสพติิดเป็นสิ่งที่สามารถเลิกได้ได้ใจเข็มแข็ง เป็นแรงจูงใจที่สำคัญที่ทำให้ผู้ติดยาเสพติดมีความมุ่งมั่นที่จะเลิกให้ได้ การรับรู้โทษและผลเสียของการติดยาเสพติด โดยเฉพาะการรัีบรู้ที่เป็นประสบการณ์ตรงจากการมีชีวิตเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้น ครอบครัวให้ความรัก ความใอลอุ่นมากขึ้น การมีสุขภาพร่างกายที่ดีขึ้น การเห็นคุณค่าของตนเองจากความรู้สึกว่าเป็นที่ต้องการของผู้อื่น และพึ่งพาได้ มีความรู้สึกนึิกคิดต่อตนเองในทางบวกตรงตามสภาพความเป็นจริง เข้าใจตนเอง เข้าใจผู้อ่ืื่อนและเมื่อมีปัญหาก็มีแหล่งใหคำปรึกษา ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นคนในครอบครัว และเพื่อน ๆ ตลอดจนการได้รับโอกาสและการยอมรับจากชุมชน ทำให้ผู้เลิกยามีความพึงพอใจในตนเองในระดับหนึ่ง ช่วยลดความคับข้องใจและความเครียด ทำให้ผู้เลิกยามีความพึงพอใจในตนเองในระดับหนึ่ง ช่วยลดความคับข้องใจและความเครียด ทำให้ไม่ต้องหันกลับไปพึ่งพายาเสพติด
ผลการศึกษานี้เป็นประโยชน์สำหรับองค์กร และบุุคลากรทางด้านสาธารณสุข ในการนำไปกำหนดนโยบาย และประยุกต์ใช้ในด้านการปฏิบัติการพยาบาลเชิงรุก เพื่อให้ผู้บำบัดมีการรับรู้
Curricular : BALA/BNS/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23303 รายงานการวิจัียเรื่อง ปัจจัยที่มีผลต่อการเลิกเสพยาเสพติดของผู้ที่เคยผ่านการบำบัีดรักษา [printed text] / สุนีรัตน์ บริพันธ์, Author ; ศรีพรรณ สว่างวงศ์, Author . - [S.l.] : โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข, 2544 . - 58 แผ่น : ตารางประกอบ ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-774-019-2 : บริจาค.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]พฤติกรรมการใช้สารเสพติดประเภทยาบ้า -- ไทย
[LCSH]ยาบ้า -- การบำบัีด
[LCSH]ยาบ้า -- การเสพติดKeywords: ยาบ้า.
การเสพติด.
การบำบัด.
การรักษา.Class number: WM270 ส845 2544 Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อ ศึกษาปัจจัย เงื่อนไขที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการเลิกยาเสพติดของผู้ที่เคยผ่านการบำบัดรักษา โดยเก็บรวบรวมข้อมูลใช้แนวการสัมภาษณ์แบบกึ่งโคีรงสร้างลักษณะคำถามปลายเปิดที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น ผู้ให้ข้อมูลถูกคัดเลือกอย่างเฉพาะเจาะจง โดยต้องเป็นผู้ที่เคยผ่านการบำบัดรักษาจากศูนย์บำบัดรักษายาเสพติดจังหวัดเชียงใหม่ และไม่กลับไปเสพซ้ำเป็นเวลามากกว่า 1 ปีขึ้นไป มีภูมิลำเนาอยู่ใน 17 จังหวัดภาคเหนือจำนวน 10 ราย
ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยที่น่าจะเป็นปัจจัยเบื้องต้นที่นำไปสู่การเลิกยาได้ในที่สุด คือ ความสมัครใจเข้ารับการบำบัดรักษาจากสถานบำบัด โดยพบว่าแรงบันดาลใจที่สำคัญที่ทำให้ต้องการเลิกยา ได้แก่ ความรับผิดชอบและภาระหน้าที่ที่ต้องเลี้ยงดูครอบครัว เพราตระหนักในความรัก ความห่วงใยของพ่อแม่ ไม่อยากให้พ่อแม่เสียใจและเป็นทุกข์ ต้องการเอาชนะคำสบประมาทและการดูถูกดูแคลนจากผู้อื่น ต่อมาเมื่อผู้ติดยาได้รับการจำหน่ายจากสถานบำบัด หลังจากได้รับการบำบัดครบขั้นตอนแล้ว จะมีการหลีกเลี่ยงภาวะเสี่ยงที่จะไม่กลับไปเสพซ้ำด้วยการตัดขาดจากสังคมเดิม ไม่คบเพื่อนกลุ่มเก่า การรู้จักปฏิเสธ บางรายพักงานอยู่กับบ้านเป็นปี หรือพักการเรียนระยะหนึ่ง แล้วจึงย้ายโรงเรียนใหม่ นอกจากนี้ความเชื่อมั่นว่ายาเสพติิดเป็นสิ่งที่สามารถเลิกได้ได้ใจเข็มแข็ง เป็นแรงจูงใจที่สำคัญที่ทำให้ผู้ติดยาเสพติดมีความมุ่งมั่นที่จะเลิกให้ได้ การรับรู้โทษและผลเสียของการติดยาเสพติด โดยเฉพาะการรัีบรู้ที่เป็นประสบการณ์ตรงจากการมีชีวิตเปลี่ยนแปลงในทางที่ดีขึ้น ครอบครัวให้ความรัก ความใอลอุ่นมากขึ้น การมีสุขภาพร่างกายที่ดีขึ้น การเห็นคุณค่าของตนเองจากความรู้สึกว่าเป็นที่ต้องการของผู้อื่น และพึ่งพาได้ มีความรู้สึกนึิกคิดต่อตนเองในทางบวกตรงตามสภาพความเป็นจริง เข้าใจตนเอง เข้าใจผู้อ่ืื่อนและเมื่อมีปัญหาก็มีแหล่งใหคำปรึกษา ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นคนในครอบครัว และเพื่อน ๆ ตลอดจนการได้รับโอกาสและการยอมรับจากชุมชน ทำให้ผู้เลิกยามีความพึงพอใจในตนเองในระดับหนึ่ง ช่วยลดความคับข้องใจและความเครียด ทำให้ผู้เลิกยามีความพึงพอใจในตนเองในระดับหนึ่ง ช่วยลดความคับข้องใจและความเครียด ทำให้ไม่ต้องหันกลับไปพึ่งพายาเสพติด
ผลการศึกษานี้เป็นประโยชน์สำหรับองค์กร และบุุคลากรทางด้านสาธารณสุข ในการนำไปกำหนดนโยบาย และประยุกต์ใช้ในด้านการปฏิบัติการพยาบาลเชิงรุก เพื่อให้ผู้บำบัดมีการรับรู้
Curricular : BALA/BNS/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23303 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354884 THE WM270 ส845 2544 Thesis Main Library Thesis Corner Available เหตุผลของการเปลี่ยนจาการเสพเฮดรอีนเป็นยาบ้าในผู้ป่วยเสพติด / วัชรี มีศิลป์ / โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข - 2544
Title : เหตุผลของการเปลี่ยนจาการเสพเฮดรอีนเป็นยาบ้าในผู้ป่วยเสพติด : รายงานการวิจัย Material Type: printed text Authors: วัชรี มีศิลป์, Author ; ลัดดา ขอบทอง, Author Publisher: โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข Publication Date: 2544 Pagination: ค, 51 แผ่น Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-773-998-4 Price: บริจาค Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ผู้ป่วย -- ยาเสพติด
[LCSH]ผู้ป่วย -- ยาเสพติด -- การบำบัด
[LCSH]ยาบ้า
[LCSH]เฮโรอีน
[LCSH]โรงพยาบาลธัญญารักษ์Keywords: เฮโรอีน.
ผู้ป่วย.
ยาบ้า.Class number: WM100 ว712 2544 Abstract: เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ เพื่อศึกษาการรับรู้เกี่ยวกับเฮโรอีน ยาบ้า และเหตุผลการเปลี่ยนจากการเสพเฮโรอีนมาเป็นยาบ้า โดยศึกษาในกลุ่มผู้ติดเสพติดที่เข้ารับการบำบัดรักษาในโรงพยาบาลธัญญารักษ์ด้วยการติดยาบ้า และมีประวัติการเสพติดเฮโรอีนมาก่อนจำนวนทั้งสิ้น 14 คน การเก็บข้อมูลเป็นการเก็บข้อมูลเชิงลึก ตั้งแต่วันที่ 18 เมษายน - 17 พฤษภาคม 2544 ผลการศึกษาพบว่า ผู้เสพติดรับรู้เกี่ยวกับเฮโรอีนใน 2 ลักษณะคือ รู้ประโยชน์ของเฮโรอีนว่าเป็นสารแห่งความสุข และลดความเจ็บป่วย และรู้เกี่ยวกับโทษของเฮโรอีนว่าทำให้สุขภาพทรุดโทรม มีความทุกข์ทรมานมากเมื่อขาดเฮดรอีน มีพฤติกรรมเปลี่ยนแปลงในทางลบ ทำลายอนาคต และมีความรู้สึกทางเพศลดลง ส่วนการรับรู้เกี่ยวกับยาบ้ามี 2 ลักษณะ เช่นกันคือ รับรู้เกี่ยวกับประโยชน์ของยาบ้าว่า เป็นสารกระตุ้นประสาทที่ทำให้ร่างกายกระชุ่มกระชวย กล้าคิดกล้าทำ เป็นยาที่ทดแืทนเฮโรอีน ลดความเจ็บป่วยทางกาย และทำให้มีความต้องการทางเพศมากขึ้น ส่วนโทษของยาบ้า พบว่าทำให้บุคลิกกภาพเปลี่ยนไปในทางลงคือ ก้าวร้าวและหยาบคายมากขึ้น สุขภาพเสื่อมโทรมจากการขาดสารอาหาร หรือรับประทานอาหารไม่เป็นเวลา
ส่วนเหตุผลของการหันมาเสพยาบ้า คือ ในระยะเริ่มต้นเสพเกิดจากคำแนะนำจากกลุ่มเพือ่น และต้องการทดลอง ในระยะต่อมาผู้เสพติดตัดสินใจเสพยาบ้าด้วยเหตุผลที่ว่าเฮโรอีนหายากและแพงกว่ายาบ้า สามารถทดแทนอาการขาดเฮโรอีนได้ มีความพึงพอมจต่อฤทธิ์ของยาบ้า หาซื้อได้ง่าย เลิกเสพง่าย ต้องการการยอมรับจากกลุ่มเพื่อนที่เสพติด จากสมาชิกในครอบครัวว่ายาบ้ามีความรุนแรงน้อยกว่าเฮโรอีน และการได้รับการกระตุ้นจากสื่อโฆษณาต่าง ๆ
ข้อเสนอแนะ ด้านการป้องกัน เนื่องจากยาบ้ามีการวางขายกันมาก แม้ในที่สาธารณะ เช่น ตลาดนัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรเข้าไปกวดขันในสถานที่ต่าง ๆ ให้มากขึ้น ให้ความรู้ที่ถูกต้องเกี่ยวกับยาบ้าแก่เยาวชน และประชาชนทั่วไป ด้านสื่อ ควรระมัดระวังในการให้ข้อมูลทางสื่อโฆษณาต่าง ๆ ให้มากขึ้นเนื่องจากการเสนอภาพยาบ้า หรือยาสเพติดในการจับกุมเอเยนต์ หรือผู้ขายอย่างชัดเจนเป็นการกระตุ้น หรือยั่วยุให้ผู้เสพติด หรือผู้เคยเสพมีความต้องการในการเสพได้ ในสถานบำบัดรักษายาเสพติดควรเน้นการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้เสพติดในทางบวก วิธีการที่ถูกต้องในการสร้างความสุขให้ตนเองและมีระบบการส่งต่อ รวมทั้งส่งเสริมสนับสนุนให้มีการอบรมหลักสูตรทางจิตเวชแก่บุคลากรต่าง ๆ เพิ่มขึ้นCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23264 เหตุผลของการเปลี่ยนจาการเสพเฮดรอีนเป็นยาบ้าในผู้ป่วยเสพติด : รายงานการวิจัย [printed text] / วัชรี มีศิลป์, Author ; ลัดดา ขอบทอง, Author . - [S.l.] : โรงพยาบาลธัญญารักษ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข, 2544 . - ค, 51 แผ่น ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-773-998-4 : บริจาค
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ผู้ป่วย -- ยาเสพติด
[LCSH]ผู้ป่วย -- ยาเสพติด -- การบำบัด
[LCSH]ยาบ้า
[LCSH]เฮโรอีน
[LCSH]โรงพยาบาลธัญญารักษ์Keywords: เฮโรอีน.
ผู้ป่วย.
ยาบ้า.Class number: WM100 ว712 2544 Abstract: เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ เพื่อศึกษาการรับรู้เกี่ยวกับเฮโรอีน ยาบ้า และเหตุผลการเปลี่ยนจากการเสพเฮโรอีนมาเป็นยาบ้า โดยศึกษาในกลุ่มผู้ติดเสพติดที่เข้ารับการบำบัดรักษาในโรงพยาบาลธัญญารักษ์ด้วยการติดยาบ้า และมีประวัติการเสพติดเฮโรอีนมาก่อนจำนวนทั้งสิ้น 14 คน การเก็บข้อมูลเป็นการเก็บข้อมูลเชิงลึก ตั้งแต่วันที่ 18 เมษายน - 17 พฤษภาคม 2544 ผลการศึกษาพบว่า ผู้เสพติดรับรู้เกี่ยวกับเฮโรอีนใน 2 ลักษณะคือ รู้ประโยชน์ของเฮโรอีนว่าเป็นสารแห่งความสุข และลดความเจ็บป่วย และรู้เกี่ยวกับโทษของเฮโรอีนว่าทำให้สุขภาพทรุดโทรม มีความทุกข์ทรมานมากเมื่อขาดเฮดรอีน มีพฤติกรรมเปลี่ยนแปลงในทางลบ ทำลายอนาคต และมีความรู้สึกทางเพศลดลง ส่วนการรับรู้เกี่ยวกับยาบ้ามี 2 ลักษณะ เช่นกันคือ รับรู้เกี่ยวกับประโยชน์ของยาบ้าว่า เป็นสารกระตุ้นประสาทที่ทำให้ร่างกายกระชุ่มกระชวย กล้าคิดกล้าทำ เป็นยาที่ทดแืทนเฮโรอีน ลดความเจ็บป่วยทางกาย และทำให้มีความต้องการทางเพศมากขึ้น ส่วนโทษของยาบ้า พบว่าทำให้บุคลิกกภาพเปลี่ยนไปในทางลงคือ ก้าวร้าวและหยาบคายมากขึ้น สุขภาพเสื่อมโทรมจากการขาดสารอาหาร หรือรับประทานอาหารไม่เป็นเวลา
ส่วนเหตุผลของการหันมาเสพยาบ้า คือ ในระยะเริ่มต้นเสพเกิดจากคำแนะนำจากกลุ่มเพือ่น และต้องการทดลอง ในระยะต่อมาผู้เสพติดตัดสินใจเสพยาบ้าด้วยเหตุผลที่ว่าเฮโรอีนหายากและแพงกว่ายาบ้า สามารถทดแทนอาการขาดเฮโรอีนได้ มีความพึงพอมจต่อฤทธิ์ของยาบ้า หาซื้อได้ง่าย เลิกเสพง่าย ต้องการการยอมรับจากกลุ่มเพื่อนที่เสพติด จากสมาชิกในครอบครัวว่ายาบ้ามีความรุนแรงน้อยกว่าเฮโรอีน และการได้รับการกระตุ้นจากสื่อโฆษณาต่าง ๆ
ข้อเสนอแนะ ด้านการป้องกัน เนื่องจากยาบ้ามีการวางขายกันมาก แม้ในที่สาธารณะ เช่น ตลาดนัด หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรเข้าไปกวดขันในสถานที่ต่าง ๆ ให้มากขึ้น ให้ความรู้ที่ถูกต้องเกี่ยวกับยาบ้าแก่เยาวชน และประชาชนทั่วไป ด้านสื่อ ควรระมัดระวังในการให้ข้อมูลทางสื่อโฆษณาต่าง ๆ ให้มากขึ้นเนื่องจากการเสนอภาพยาบ้า หรือยาสเพติดในการจับกุมเอเยนต์ หรือผู้ขายอย่างชัดเจนเป็นการกระตุ้น หรือยั่วยุให้ผู้เสพติด หรือผู้เคยเสพมีความต้องการในการเสพได้ ในสถานบำบัดรักษายาเสพติดควรเน้นการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของผู้เสพติดในทางบวก วิธีการที่ถูกต้องในการสร้างความสุขให้ตนเองและมีระบบการส่งต่อ รวมทั้งส่งเสริมสนับสนุนให้มีการอบรมหลักสูตรทางจิตเวชแก่บุคลากรต่าง ๆ เพิ่มขึ้นCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23264 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000355170 THE WM100 ว712 2544 Thesis Main Library Thesis Corner Available