From this page you can:
Home |
Search results
25 result(s) search for keyword(s) 'เจ้าอาวาสวัด, ผู้นับถือศาสนาพุทธ, ภาวะผู้นำ, วัด'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
SIU IS-T. ภาวะผู้นำของเจ้าอาวาสในอำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี / พระครูวินัยธรองค์การ สิริปญฺโญ (ศิริศักดิ์) / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2015
Collection Title: SIU IS-T Title : ภาวะผู้นำของเจ้าอาวาสในอำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี Original title : Leadership of Buddhist Temple Abbots in Meung District, Surattani Province Material Type: printed text Authors: พระครูวินัยธรองค์การ สิริปญฺโญ (ศิริศักดิ์), Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; สมพร เพชรสงค์, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2015 Pagination: vii, 75 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2015-05
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2015.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ภาวะผู้นำ -- แง่ศาสนา -- พุทธศาสนา
[LCSH]วัด -- การบริหารKeywords: เจ้าอาวาสวัด,
ผู้นับถือศาสนาพุทธ,
ภาวะผู้นำ,
วัดAbstract: การศึกษาวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความคิดเห็นของพระสงฆ์ที่มีต่อภาวะผู้นำของเจ้าอาวาสวัดในเขตอำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี และเพื่อศึกษาข้อเสนอแนะ ในการบริหารงานในวัดของภาวะผู้นำของเจ้าอาวาสวัดในเขตอำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี กลุ่มตัวอย่างได้แก่ พระภิกษุในเขตอำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี จำนวน 337 รูป เครื่องมือที่ใช้ เป็นแบบสอบถามวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพื้นฐาน ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนแบบมาตรฐาน
ผลของการวิจัย พบว่า พระภิกษุในอำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี มีความคิดเห็นต่อภาวะผู้นำของเจ้าอาวาสวัด โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้าน เรียงลำดับค่าเฉลี่ย จากมากไปหาน้อย ได้แก่ คุณลักษณะภาวะผู้นำเจ้าอาวาส การพัฒนาวัดด้านศาสนบุคคล การพัฒนาวัดด้านวัตถุ การพัฒนาวัดด้านศาสนพิธี สำหรับข้อเสนอแนะ พบว่า เจ้าอาวาสวัดควรที่ใช้คำพูดที่นิ่มนวล ปิยะวาจา ต้องรู้จักว่าเวลาไหนควรพูดเวลาไหนไม่ควรพูด ควรออกกฎระเบียบในการบวชการปฏิบัติถูกต้องตามหลักพระพุทธศาสนา ควรวางกฎระเบียบกติกาอย่างเคร่งครัด ควรจะศึกษาและปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ ก่อนที่จะลงมือก่อสร้างให้สอดคล้องกับศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น ควรจะรณรงค์ประชาสัมพันธ์เชิญชวนให้ประชาชนได้เห็นความสำคัญ หรือมีความตระหนักในฐานะที่เป็นชาวพุทธCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26659 SIU IS-T. ภาวะผู้นำของเจ้าอาวาสในอำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี = Leadership of Buddhist Temple Abbots in Meung District, Surattani Province [printed text] / พระครูวินัยธรองค์การ สิริปญฺโญ (ศิริศักดิ์), Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; สมพร เพชรสงค์, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2015 . - vii, 75 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2015-05
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2015.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ภาวะผู้นำ -- แง่ศาสนา -- พุทธศาสนา
[LCSH]วัด -- การบริหารKeywords: เจ้าอาวาสวัด,
ผู้นับถือศาสนาพุทธ,
ภาวะผู้นำ,
วัดAbstract: การศึกษาวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความคิดเห็นของพระสงฆ์ที่มีต่อภาวะผู้นำของเจ้าอาวาสวัดในเขตอำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี และเพื่อศึกษาข้อเสนอแนะ ในการบริหารงานในวัดของภาวะผู้นำของเจ้าอาวาสวัดในเขตอำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี กลุ่มตัวอย่างได้แก่ พระภิกษุในเขตอำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี จำนวน 337 รูป เครื่องมือที่ใช้ เป็นแบบสอบถามวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพื้นฐาน ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนแบบมาตรฐาน
ผลของการวิจัย พบว่า พระภิกษุในอำเภอเมือง จังหวัดสุราษฎร์ธานี มีความคิดเห็นต่อภาวะผู้นำของเจ้าอาวาสวัด โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณารายด้าน เรียงลำดับค่าเฉลี่ย จากมากไปหาน้อย ได้แก่ คุณลักษณะภาวะผู้นำเจ้าอาวาส การพัฒนาวัดด้านศาสนบุคคล การพัฒนาวัดด้านวัตถุ การพัฒนาวัดด้านศาสนพิธี สำหรับข้อเสนอแนะ พบว่า เจ้าอาวาสวัดควรที่ใช้คำพูดที่นิ่มนวล ปิยะวาจา ต้องรู้จักว่าเวลาไหนควรพูดเวลาไหนไม่ควรพูด ควรออกกฎระเบียบในการบวชการปฏิบัติถูกต้องตามหลักพระพุทธศาสนา ควรวางกฎระเบียบกติกาอย่างเคร่งครัด ควรจะศึกษาและปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ ก่อนที่จะลงมือก่อสร้างให้สอดคล้องกับศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น ควรจะรณรงค์ประชาสัมพันธ์เชิญชวนให้ประชาชนได้เห็นความสำคัญ หรือมีความตระหนักในฐานะที่เป็นชาวพุทธCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26659 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000593143 SIU IS-T: IPAG-MPA-2015-05 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000593119 SIU IS-T: IPAG-MPA-2015-05 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. การทดสอบปัจจัยที่นำไปสู่การยอมรับภาวะผู้นำของผู้บริหารสตรีในหน่วยงานกำกับดูแลกิจการกระจายเสียงกิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคม / กนกพรรณ ญาณภิรัต / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2020
Collection Title: SIU THE-T Title : การทดสอบปัจจัยที่นำไปสู่การยอมรับภาวะผู้นำของผู้บริหารสตรีในหน่วยงานกำกับดูแลกิจการกระจายเสียงกิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคม Original title : Factors Leading to the Acceptance of Female Executives’ Leadership in Brodcassting and Telecommunication Organization Material Type: printed text Authors: กนกพรรณ ญาณภิรัต, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; อุษณีย์ เสวกวัชรี, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2020 Pagination: xii, 88 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: SOM-DBA-2020-02
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2563Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]นักบริหารสตรี -- วิจัย
[LCSH]ภาวะผู้นำของสตรี
[LCSH]วิทยุกระจายเสียง
[LCSH]โทรคมนาคมKeywords: ภาวะผู้นำของผู้บริหารสตรี,
หน่วยงานกำกับดูแลกิจการกระจายเสียงกิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคม,
บุคลิกภาพของผู้นำAbstract: การทดสอบปัจจัยที่นำไปสู่การยอมรับภาวะผู้นำของผู้บริหารสตรีในหน่วยงานกำกับดูแลกิจการกระจายเสียงกิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคม เป็นงานวิจัยโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับการยอมรับของผู้บริหารสตรี และศึกษาภาวะผู้นำประเภทต่างๆ ที่นำไปสู่การยอมรับของผู้ร่วมงาน ลูกน้องและหัวหน้างานในหน่วยงานกำกับดูแลกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคม โดยศึกษาจากประชากรกลุ่มตัวอย่างซึ่งเป็นผู้ปฏิบัติงานในหน่วยงานกำกับดูแลกิจการกระจายเสียงกิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคม มีการใช้แบบสอบถามและการสัมภาษณ์ผู้บริหารระดับสูงของหน่วยงานในการเก็บข้อมูล และมีการวิเคราะห์ความแปรปรวน Analysis of Variance หรือ ANOVA และการวิเคราะห์การถดถอย (Regression Analysis) ในการทดสอบสมมติฐาน
ผลจากการวิจัยพบว่า คุณลักษณะ และบุคลิกภาพของผู้นำของผู้บริหารสตรีมีความสัมพันธ์ทางบวกโดยตรงกับการบริหารจัดการ และคุณลักษณะผู้นำของผู้บริหารความสัมพันธ์ทางลบโดยตรงและทางบวกโดยอ้อมกับความสำเร็จในการบริหารจัดการของหน่วยงาน ส่วนการบริหารจัดการมีความสัมพันธ์ทางบวกโดยตรงกับความสำเร็จในการบริหารจัดการของหน่วยงาน สำหรับผู้นำทางวิชาชีพ (professional leadership) เป็นตัวแปรที่สำคัญที่สุดของคุณลักษณะผู้นำของผู้บริหารสตรีที่ทำการศึกษาในครั้งนี้ อีกทั้งยังพบว่าปัจจัยด้านบุคลิกภาพซึ่งในที่นี้รวมถึงการวางตัว การแต่งตัว กริยาท่าทางของผู้บริหารสตรี ส่งผลต่อการยอมรับและนำไปสู่ความสำเร็จของการทำงาน ตลอดทั้งการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพสำหรับหน่วยงานกำกับ ดูแลกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมในประเทศไทย ซึ่งโมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุที่พัฒนาขึ้นมีความเหมาะสมเนื่องจากมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ อีกทั้งในแต่ละองค์ประกอบหรือปัจจัยแต่ละด้าน มีความเที่ยงตรง และเป็นที่ยอมรับได้ สำหรับปัจจัย เป็นตัวแปรที่สำคัญที่สุดของรูปแบบการบริหารจัดการของผู้บริหาร และเป็นตัวแปรที่สำคัญที่สุดของความสำเร็จของการยอมรับผู้บริหารสตรีCurricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28048 SIU THE-T. การทดสอบปัจจัยที่นำไปสู่การยอมรับภาวะผู้นำของผู้บริหารสตรีในหน่วยงานกำกับดูแลกิจการกระจายเสียงกิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคม = Factors Leading to the Acceptance of Female Executives’ Leadership in Brodcassting and Telecommunication Organization [printed text] / กนกพรรณ ญาณภิรัต, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; อุษณีย์ เสวกวัชรี, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020 . - xii, 88 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: SOM-DBA-2020-02
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2563
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]นักบริหารสตรี -- วิจัย
[LCSH]ภาวะผู้นำของสตรี
[LCSH]วิทยุกระจายเสียง
[LCSH]โทรคมนาคมKeywords: ภาวะผู้นำของผู้บริหารสตรี,
หน่วยงานกำกับดูแลกิจการกระจายเสียงกิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคม,
บุคลิกภาพของผู้นำAbstract: การทดสอบปัจจัยที่นำไปสู่การยอมรับภาวะผู้นำของผู้บริหารสตรีในหน่วยงานกำกับดูแลกิจการกระจายเสียงกิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคม เป็นงานวิจัยโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับการยอมรับของผู้บริหารสตรี และศึกษาภาวะผู้นำประเภทต่างๆ ที่นำไปสู่การยอมรับของผู้ร่วมงาน ลูกน้องและหัวหน้างานในหน่วยงานกำกับดูแลกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคม โดยศึกษาจากประชากรกลุ่มตัวอย่างซึ่งเป็นผู้ปฏิบัติงานในหน่วยงานกำกับดูแลกิจการกระจายเสียงกิจการโทรทัศน์และกิจการโทรคมนาคม มีการใช้แบบสอบถามและการสัมภาษณ์ผู้บริหารระดับสูงของหน่วยงานในการเก็บข้อมูล และมีการวิเคราะห์ความแปรปรวน Analysis of Variance หรือ ANOVA และการวิเคราะห์การถดถอย (Regression Analysis) ในการทดสอบสมมติฐาน
ผลจากการวิจัยพบว่า คุณลักษณะ และบุคลิกภาพของผู้นำของผู้บริหารสตรีมีความสัมพันธ์ทางบวกโดยตรงกับการบริหารจัดการ และคุณลักษณะผู้นำของผู้บริหารความสัมพันธ์ทางลบโดยตรงและทางบวกโดยอ้อมกับความสำเร็จในการบริหารจัดการของหน่วยงาน ส่วนการบริหารจัดการมีความสัมพันธ์ทางบวกโดยตรงกับความสำเร็จในการบริหารจัดการของหน่วยงาน สำหรับผู้นำทางวิชาชีพ (professional leadership) เป็นตัวแปรที่สำคัญที่สุดของคุณลักษณะผู้นำของผู้บริหารสตรีที่ทำการศึกษาในครั้งนี้ อีกทั้งยังพบว่าปัจจัยด้านบุคลิกภาพซึ่งในที่นี้รวมถึงการวางตัว การแต่งตัว กริยาท่าทางของผู้บริหารสตรี ส่งผลต่อการยอมรับและนำไปสู่ความสำเร็จของการทำงาน ตลอดทั้งการบริหารจัดการที่มีประสิทธิภาพสำหรับหน่วยงานกำกับ ดูแลกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมในประเทศไทย ซึ่งโมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุที่พัฒนาขึ้นมีความเหมาะสมเนื่องจากมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ อีกทั้งในแต่ละองค์ประกอบหรือปัจจัยแต่ละด้าน มีความเที่ยงตรง และเป็นที่ยอมรับได้ สำหรับปัจจัย เป็นตัวแปรที่สำคัญที่สุดของรูปแบบการบริหารจัดการของผู้บริหาร และเป็นตัวแปรที่สำคัญที่สุดของความสำเร็จของการยอมรับผู้บริหารสตรีCurricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28048 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607380 SIU THE-T: SOM-DBA-2020-02 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000607377 SIU THE-T: SOM-DBA-2020-02 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available SIU THE-T. การพัฒนาภาวะผู้นำตามหลักสัปปุริสธรรม 7 ของพระสังฆาธิการในเขตปกครองคณะสงฆ์ ภาค 10 / พระมหาสมคิด มะลัยทอง / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2020
Collection Title: SIU THE-T Title : การพัฒนาภาวะผู้นำตามหลักสัปปุริสธรรม 7 ของพระสังฆาธิการในเขตปกครองคณะสงฆ์ ภาค 10 Original title : Leadership Development towards Sappurisadhamma 7 Principles of Administrative Monks Under Sangha Region 10 Material Type: printed text Authors: พระมหาสมคิด มะลัยทอง, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2020 Pagination: xi, 147 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-21
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]พระสังฆาธิการ
[LCSH]ภาวะผู้นำ -- แง่ศาสนา -- พุทธศาสนา
[LCSH]สัปปุริสธรรม -- วิจัยKeywords: ภาวะผู้นำ, สัปปุริสธรรม 7, คณะสงฆ์ภาค 10 Abstract: งานวิจัยนี้มีจุดประสงค์ โดยมีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามหลักสัปปุริสธรรม 7 ของพระสังฆาธิการ ในเขตปกครองคณะสงฆ์ภาค10 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการพัฒนาภาวะผู้นำตามหลักสัปปุริสธรรม 7 ของพระสังฆาธิการ ในเขตปกครองคณะสงฆ์ภาค10 3) เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำตามหลักสัปปุริสธรรม 7 ของพระสังฆาธิการในเขตปกครองคณะสงฆ์ภาค10 ผู้วิจัยใช้การวิจัยแบบผสานวิธี (Mixed Methods Research) คือ 1) การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ด้วยการสัมภาษณ์จำนวน 16 คน โดยการวิเคราะห์เนื้อหา 2) การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) ด้วยการเก็บรวบรวมข้อมูลแบบสอบถามจากกลุ่มตัวอย่าง ของพระสงฆ์ในเขตปกครองคณะสงฆ์ภาค10 จำนวน 6 จังหวัด จำนวน 400 คน โดยการวิเคราะห์สมการถดถอยเชิงพหุคูณ
ผลการวิจัยเชิงคุณภาพพบว่า การพัฒนาภาวะผู้นำตามหลักสัปปุริสธรรม 7 คือผู้นำที่มีความรู้ ความสามารถ จูงใจให้ผู้อื่นปฏิบัติตามได้ดั่งใจประสงค์และเกิดความพึงพอใจ เป็นไปตามหลักพระพุทธศาสนาได้กล่าวถึง และงานวิจัยเชิงปริมาณ พบว่า ปัจจัยหลักสัปปุริสธรรม 7 ที่ส่งผลต่อการพัฒนาภาวะผู้นำตามหลักสัปปุริสธรรม 7 ของพระสังฆาธิการ ในเขตปกครองคณะสงฆ์ภาค10 ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ ด้านกาลัญญุตา มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมากที่สุด ( = 4.48, S.D. = 0.63) โดยตัวแปรอิสระทั้ง 5 ตัวแปรสามารถร่วมกันทำนายการพัฒนาภาวะผู้นำของพระสังฆาธิการตามหลักสัปปุริสธรรม 7 ในเขตปกครองคณะสงฆ์ภาค10 ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยมีค่าสัมประสิทธิสหสัมพันธ์พหุคูณเท่ากับ 0.542 อำนาจทำนายประมาณร้อยละ 29.40 (R Square = 0.294) ค่าความคลาดเคลื่อนมาตรฐานของการทำนายมีค่า 1.914 ปัจจัยภาวะผู้นำของพระสังฆาธิการที่ส่งผลต่อการพัฒนาภาวะผู้นำตามหลักสัปปุริสธรรม 7 ของพระสังฆาธิการ ในเขตปกครองคณะสงฆ์ภาค10 ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ แบบกระจายความรับผิดชอบ มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมากที่สุด ( = 4.35, S.D. = 0.69) โดยตัวแปรอิสระ 2 ตัวแปรสามารถร่วมกันทำนายการพัฒนาภาวะผู้นำตามหลักสัปปุริสธรรม 7 ของพระสังฆาธิการ ในเขตปกครองคณะสงฆ์ภาค10 ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยค่าสัมประสิทธิ์สัมพันธ์พหุคูณเท่ากับ 0.507 อำนาจทำนายประมาณร้อยละ 25.70 (R Square = 0.257) ค่าความคลาดเคลื่อนมาตรฐานของการทำนายมีค่า 1.893
ข้อเสนอแนะ การพัฒนาภาวะผู้นำให้เหมาะสมกับบริบทของแต่ละวัด เพื่อให้การพัฒนาเป็นไปตามหลักปริสัญญุตา การเข้าใจความแตกต่างของบุคลากรและวัฒนธรรมของชุมชนCurricular : MPA/DPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28105 SIU THE-T. การพัฒนาภาวะผู้นำตามหลักสัปปุริสธรรม 7 ของพระสังฆาธิการในเขตปกครองคณะสงฆ์ ภาค 10 = Leadership Development towards Sappurisadhamma 7 Principles of Administrative Monks Under Sangha Region 10 [printed text] / พระมหาสมคิด มะลัยทอง, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020 . - xi, 147 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-21
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]พระสังฆาธิการ
[LCSH]ภาวะผู้นำ -- แง่ศาสนา -- พุทธศาสนา
[LCSH]สัปปุริสธรรม -- วิจัยKeywords: ภาวะผู้นำ, สัปปุริสธรรม 7, คณะสงฆ์ภาค 10 Abstract: งานวิจัยนี้มีจุดประสงค์ โดยมีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการพัฒนาภาวะผู้นำตามหลักสัปปุริสธรรม 7 ของพระสังฆาธิการ ในเขตปกครองคณะสงฆ์ภาค10 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการพัฒนาภาวะผู้นำตามหลักสัปปุริสธรรม 7 ของพระสังฆาธิการ ในเขตปกครองคณะสงฆ์ภาค10 3) เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำตามหลักสัปปุริสธรรม 7 ของพระสังฆาธิการในเขตปกครองคณะสงฆ์ภาค10 ผู้วิจัยใช้การวิจัยแบบผสานวิธี (Mixed Methods Research) คือ 1) การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) ด้วยการสัมภาษณ์จำนวน 16 คน โดยการวิเคราะห์เนื้อหา 2) การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) ด้วยการเก็บรวบรวมข้อมูลแบบสอบถามจากกลุ่มตัวอย่าง ของพระสงฆ์ในเขตปกครองคณะสงฆ์ภาค10 จำนวน 6 จังหวัด จำนวน 400 คน โดยการวิเคราะห์สมการถดถอยเชิงพหุคูณ
ผลการวิจัยเชิงคุณภาพพบว่า การพัฒนาภาวะผู้นำตามหลักสัปปุริสธรรม 7 คือผู้นำที่มีความรู้ ความสามารถ จูงใจให้ผู้อื่นปฏิบัติตามได้ดั่งใจประสงค์และเกิดความพึงพอใจ เป็นไปตามหลักพระพุทธศาสนาได้กล่าวถึง และงานวิจัยเชิงปริมาณ พบว่า ปัจจัยหลักสัปปุริสธรรม 7 ที่ส่งผลต่อการพัฒนาภาวะผู้นำตามหลักสัปปุริสธรรม 7 ของพระสังฆาธิการ ในเขตปกครองคณะสงฆ์ภาค10 ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ ด้านกาลัญญุตา มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมากที่สุด ( = 4.48, S.D. = 0.63) โดยตัวแปรอิสระทั้ง 5 ตัวแปรสามารถร่วมกันทำนายการพัฒนาภาวะผู้นำของพระสังฆาธิการตามหลักสัปปุริสธรรม 7 ในเขตปกครองคณะสงฆ์ภาค10 ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยมีค่าสัมประสิทธิสหสัมพันธ์พหุคูณเท่ากับ 0.542 อำนาจทำนายประมาณร้อยละ 29.40 (R Square = 0.294) ค่าความคลาดเคลื่อนมาตรฐานของการทำนายมีค่า 1.914 ปัจจัยภาวะผู้นำของพระสังฆาธิการที่ส่งผลต่อการพัฒนาภาวะผู้นำตามหลักสัปปุริสธรรม 7 ของพระสังฆาธิการ ในเขตปกครองคณะสงฆ์ภาค10 ด้านที่มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด คือ แบบกระจายความรับผิดชอบ มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมากที่สุด ( = 4.35, S.D. = 0.69) โดยตัวแปรอิสระ 2 ตัวแปรสามารถร่วมกันทำนายการพัฒนาภาวะผู้นำตามหลักสัปปุริสธรรม 7 ของพระสังฆาธิการ ในเขตปกครองคณะสงฆ์ภาค10 ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยค่าสัมประสิทธิ์สัมพันธ์พหุคูณเท่ากับ 0.507 อำนาจทำนายประมาณร้อยละ 25.70 (R Square = 0.257) ค่าความคลาดเคลื่อนมาตรฐานของการทำนายมีค่า 1.893
ข้อเสนอแนะ การพัฒนาภาวะผู้นำให้เหมาะสมกับบริบทของแต่ละวัด เพื่อให้การพัฒนาเป็นไปตามหลักปริสัญญุตา การเข้าใจความแตกต่างของบุคลากรและวัฒนธรรมของชุมชนCurricular : MPA/DPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28105 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607332 SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-21 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available 32002000607334 SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-21 c.2 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. การศึกษารูปแบบความสัมพันธ์ขององค์ประกอบที่มีผลต่อภาวะผู้นำของผู้บริหารสถาบันอุดมศึกษาเอกชน สังกัดกรุงเทพมหานคร / อังคณา ผิวละออ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2020
Collection Title: SIU THE-T Title : การศึกษารูปแบบความสัมพันธ์ขององค์ประกอบที่มีผลต่อภาวะผู้นำของผู้บริหารสถาบันอุดมศึกษาเอกชน สังกัดกรุงเทพมหานคร Original title : A study of the Relationship of Factors Affecting the Administrators’ Leadership of Private Higher Education Institutions in Bangkok Area Material Type: printed text Authors: อังคณา ผิวละออ, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; เฟื่องฟ้า อัมพรสถิร, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2020 Pagination: ix, 128 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: SOM-DBA-2020-08
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2563Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ผู้บริหาร
[LCSH]ภาวะผู้นำ
[LCSH]สถาบันอุดมศึกษาเอกชน -- กรุงเทพฯKeywords: ภาวะผู้นำ,
องค์ประกอบที่มีผลต่อภาวะผู้นำ,
สถาบันอุดมศึกษาเอกชนAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาองค์ประกอบที่มีผลต่อภาวะผู้นำของผู้บริหารสถาบันอุดมศึกษาเอกชน สังกัดกรุงเทพมหานคร และ 2) ศึกษาความสัมพันธ์ขององค์ประกอบที่มีผลต่อภาวะผู้นำของผู้บริหารสถาบันอุดมศึกษาเอกชน สังกัดกรุงเทพมหานคร โดยมีกลุ่มตัวอย่างเป็นผู้บริหาร ซึ่งปฏิบัติงานในสถาบันอุดมศึกษาเอกชน สังกัดกรุงเทพมหานคร เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามความคิดเห็นที่พัฒนาขึ้นตามกรอบแนวคิดเกี่ยวกับภาวะผู้นำของผู้บริหาร โดยเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 270 ตัวอย่าง จากผู้บริหารของสถาบันอุดมศึกษาเอกชน สังกัดกรุงเทพมหานคร จำนวน 18 สถาบัน ซึ่งใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบสัดส่วน (Quota Sampling) ทำการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ โดยมีการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนา และใช้สถิติเชิงอนุมานในการหาค่า Independent Samples t-test และ One-Way ANOVA ในการทดสอบสมมติฐาน
ผลการศึกษาพบว่า
1) องค์ประกอบด้านคุณลักษณะในการบริหาร ในด้านบุคลิกภาพ ด้านความรู้ความสามารถและด้านทักษะในการบริหาร มีความสัมพันธ์กันกับภาวะผู้นำของผู้บริหาร อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.01
2) องค์ประกอบด้านพฤติกรรมในการบริหารของผู้บริหารสถาบันอุดมศึกษาเอกชน ในด้านการมีส่วนร่วม ด้านความสำเร็จของงาน ด้านการให้การสนับสนุน และด้านอำนาจบารมี กับภาวะผู้นำของผู้บริหาร มีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.01
3) องค์ประกอบด้านสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องในหน่วยงานมีความสัมพันธ์ในด้านวุฒิภาวะและความพร้อม ด้านโครงสร้างงานในมหาวิทยาลัย และด้านการสนับสนุนของผู้บริหาร กับภาวะผู้นำของผู้บริหาร มีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.01Curricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28045 SIU THE-T. การศึกษารูปแบบความสัมพันธ์ขององค์ประกอบที่มีผลต่อภาวะผู้นำของผู้บริหารสถาบันอุดมศึกษาเอกชน สังกัดกรุงเทพมหานคร = A study of the Relationship of Factors Affecting the Administrators’ Leadership of Private Higher Education Institutions in Bangkok Area [printed text] / อังคณา ผิวละออ, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; เฟื่องฟ้า อัมพรสถิร, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020 . - ix, 128 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: SOM-DBA-2020-08
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2563
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ผู้บริหาร
[LCSH]ภาวะผู้นำ
[LCSH]สถาบันอุดมศึกษาเอกชน -- กรุงเทพฯKeywords: ภาวะผู้นำ,
องค์ประกอบที่มีผลต่อภาวะผู้นำ,
สถาบันอุดมศึกษาเอกชนAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาองค์ประกอบที่มีผลต่อภาวะผู้นำของผู้บริหารสถาบันอุดมศึกษาเอกชน สังกัดกรุงเทพมหานคร และ 2) ศึกษาความสัมพันธ์ขององค์ประกอบที่มีผลต่อภาวะผู้นำของผู้บริหารสถาบันอุดมศึกษาเอกชน สังกัดกรุงเทพมหานคร โดยมีกลุ่มตัวอย่างเป็นผู้บริหาร ซึ่งปฏิบัติงานในสถาบันอุดมศึกษาเอกชน สังกัดกรุงเทพมหานคร เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามความคิดเห็นที่พัฒนาขึ้นตามกรอบแนวคิดเกี่ยวกับภาวะผู้นำของผู้บริหาร โดยเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง จำนวน 270 ตัวอย่าง จากผู้บริหารของสถาบันอุดมศึกษาเอกชน สังกัดกรุงเทพมหานคร จำนวน 18 สถาบัน ซึ่งใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบสัดส่วน (Quota Sampling) ทำการวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติ ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ โดยมีการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงพรรณนา และใช้สถิติเชิงอนุมานในการหาค่า Independent Samples t-test และ One-Way ANOVA ในการทดสอบสมมติฐาน
ผลการศึกษาพบว่า
1) องค์ประกอบด้านคุณลักษณะในการบริหาร ในด้านบุคลิกภาพ ด้านความรู้ความสามารถและด้านทักษะในการบริหาร มีความสัมพันธ์กันกับภาวะผู้นำของผู้บริหาร อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.01
2) องค์ประกอบด้านพฤติกรรมในการบริหารของผู้บริหารสถาบันอุดมศึกษาเอกชน ในด้านการมีส่วนร่วม ด้านความสำเร็จของงาน ด้านการให้การสนับสนุน และด้านอำนาจบารมี กับภาวะผู้นำของผู้บริหาร มีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.01
3) องค์ประกอบด้านสถานการณ์ที่เกี่ยวข้องในหน่วยงานมีความสัมพันธ์ในด้านวุฒิภาวะและความพร้อม ด้านโครงสร้างงานในมหาวิทยาลัย และด้านการสนับสนุนของผู้บริหาร กับภาวะผู้นำของผู้บริหาร มีความสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.01Curricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28045 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607383 SIU THE-T: SOM-DBA-2020-08 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000607385 SIU THE-T: SOM-DBA-2020-08 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำกับขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงาน กรณีศึกษา: ข้าราชการตำรวจสังกัดสำนักงานยุทธศาสตร์ตำรวจ / เนตินันท์ ด้วงประดิษฐ์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU IS-T Title : ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำกับขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงาน กรณีศึกษา: ข้าราชการตำรวจสังกัดสำนักงานยุทธศาสตร์ตำรวจ Original title : Relationships between Leadership and Work Morale: A Case of Police Officers at the Office of Strategy Material Type: printed text Authors: เนตินันท์ ด้วงประดิษฐ์, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; อุษณีย์ เสวกวัชรี, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: viii, 123 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: SOM-MBA-2016-04
Independent Study. [MS[MBA]]--Shinawatra University, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ตำรวจ -- การปฏิบัติงาน
[LCSH]ภาวะผู้นำ -- การศึกษาเฉพาะกรณี
[LCSH]สำนักงานยุทธศาสตร์ตำรวจ -- ตำรวจKeywords: ภาวะผู้นำ
ข้าราชการตำรวจ
แรงจูงใจในการทำงานAbstract: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาภาวะผู้นำที่มีผลต่อขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงาน โดยศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำกับขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงาน ของข้าราชการตำรวจ สังกัด สำนักงานยุทธศาสตร์ตำรวจ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาวิจัย คือ ข้าราชการตำรวจ สังกัด สำนักงานยุทธศาสตร์ตำรวจ ซึ่งเป็นการศึกษาเชิงสำรวจ โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล จำนวน 169 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ คือ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติที่ใช้ในการทดสอบสมมติฐาน คือ Independent t-test, One-way ANOVA หากพบความแตกต่างจะทดสอบความแตกต่างเป็นรายคู่ โดยวิธี LSD (Least Significant Difference) และทดสอบความสัมพันธ์โดยใช้ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน
ผลการศึกษาพบว่า ข้าราชการตำรวจ สังกัด สำนักงานยุทธศาสตร์ตำรวจ มีระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับภาวะผู้นำที่มีผลต่อขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงาน ภาพรวมมีระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก ส่วนระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงาน โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง และภาวะผู้นำแบบชี้นำ ผู้นำแบบสนับสนุน ผู้นำแบบมีส่วนร่วม ผู้นำแบบมุ่งเน้นความสำเร็จมีความสัมพันธ์กับขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานอยู่ในระดับสูงมากและเป็นไปในทิศทางเดียวกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 นอกจากนี้ยังพบว่า เพศ อายุ ระดับการศึกษา ระยะเวลาการทำงาน และระดับชั้นยศ ที่แตกต่างกันมีผลต่อขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานที่ไม่แตกต่างกัน ส่วนสถานภาพที่แตกต่างกันมีผลต่อขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานที่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05Curricular : BBA/GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26489 SIU IS-T. ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำกับขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงาน กรณีศึกษา: ข้าราชการตำรวจสังกัดสำนักงานยุทธศาสตร์ตำรวจ = Relationships between Leadership and Work Morale: A Case of Police Officers at the Office of Strategy [printed text] / เนตินันท์ ด้วงประดิษฐ์, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; อุษณีย์ เสวกวัชรี, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - viii, 123 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: SOM-MBA-2016-04
Independent Study. [MS[MBA]]--Shinawatra University, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ตำรวจ -- การปฏิบัติงาน
[LCSH]ภาวะผู้นำ -- การศึกษาเฉพาะกรณี
[LCSH]สำนักงานยุทธศาสตร์ตำรวจ -- ตำรวจKeywords: ภาวะผู้นำ
ข้าราชการตำรวจ
แรงจูงใจในการทำงานAbstract: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาภาวะผู้นำที่มีผลต่อขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงาน โดยศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำกับขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงาน ของข้าราชการตำรวจ สังกัด สำนักงานยุทธศาสตร์ตำรวจ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาวิจัย คือ ข้าราชการตำรวจ สังกัด สำนักงานยุทธศาสตร์ตำรวจ ซึ่งเป็นการศึกษาเชิงสำรวจ โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล จำนวน 169 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ คือ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติที่ใช้ในการทดสอบสมมติฐาน คือ Independent t-test, One-way ANOVA หากพบความแตกต่างจะทดสอบความแตกต่างเป็นรายคู่ โดยวิธี LSD (Least Significant Difference) และทดสอบความสัมพันธ์โดยใช้ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน
ผลการศึกษาพบว่า ข้าราชการตำรวจ สังกัด สำนักงานยุทธศาสตร์ตำรวจ มีระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับภาวะผู้นำที่มีผลต่อขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงาน ภาพรวมมีระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก ส่วนระดับความคิดเห็นเกี่ยวกับขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงาน โดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง และภาวะผู้นำแบบชี้นำ ผู้นำแบบสนับสนุน ผู้นำแบบมีส่วนร่วม ผู้นำแบบมุ่งเน้นความสำเร็จมีความสัมพันธ์กับขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานอยู่ในระดับสูงมากและเป็นไปในทิศทางเดียวกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 นอกจากนี้ยังพบว่า เพศ อายุ ระดับการศึกษา ระยะเวลาการทำงาน และระดับชั้นยศ ที่แตกต่างกันมีผลต่อขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานที่ไม่แตกต่างกัน ส่วนสถานภาพที่แตกต่างกันมีผลต่อขวัญและกำลังใจในการปฏิบัติงานที่แตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05Curricular : BBA/GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26489 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000591550 SIU IS-T: SOM-MBA-2016-04 c.1 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำของผู้บังคับบัญชากับความผูกพันต่อองค์กร กรณีศึกษาเจ้าหน้าที่ตำรวจในจังหวัดสุราษฎร์ธานี / ธนัญชัย ปรีชาเชี่ยว / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2015
Collection Title: SIU IS-T Title : ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำของผู้บังคับบัญชากับความผูกพันต่อองค์กร กรณีศึกษาเจ้าหน้าที่ตำรวจในจังหวัดสุราษฎร์ธานี Original title : Relationships between Leadership of Commander and Organizational Commitment: A Case of Police Officers in Surattani Province) Material Type: printed text Authors: ธนัญชัย ปรีชาเชี่ยว, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; สมพร เพชรสงค์, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2015 Pagination: viii, 63 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2015-04
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2015.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ตำรวจ -- สุราษฎร์ธานี
[LCSH]ภาวะผู้นำ -- กรณีศึกษาKeywords: ภาวะผู้นำ,
ความผูกพันต่อองค์กรAbstract: การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความผูกพันต่อองค์กรของเจ้าหน้าที่ตำรวจ เปรียบเทียบระดับความผูกพันต่อองค์กรของเจ้าหน้าที่ตำรวจ และศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำของผู้บังคับบัญชากับความผูกพันต่อองค์กรของเจ้าหน้าที่ตำรวจในจังหวัดสุราษฎร์ธานี โดยใช้แบบสอบถามเก็บรวบรวมข้อมูลจากเจ้าหน้าที่ตำรวจชั้นประทวนถึงรองสารวัตรในจังหวัดสุราษฎร์ธานี จำนวน 340 คน สถิติที่ใช้ในวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าแจกแจงความถี่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสถิติทดสอบที (t-test) ค่าสถิติทดสอบเอฟ (F-test) และค่าสัมประสิทธิสหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน
ผลการศึกษาพบว่า เจ้าหน้าที่ตำรวจในจังหวัดสุราษฎร์ธานี มีความผูกพันต่อองค์กรในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง โดยเรียงตามลำดับจากมากไปหาน้อย คือ มีความรู้สึกภาคภูมิใจในองค์กร การยอมรับและเชื่อมั่นเป้าหมายขององค์กร ความต้องการเป็นสมาชิกขององค์กร และมีความเต็มใจที่จะปฏิบัติงานเพื่อองค์กร ผลการเปรียบเทียบระดับความผูกพันต่อองค์กร พบว่า เจ้าหน้าที่ตำรวจที่มีอายุ ระยะเวลารับราชการ ระดับการศึกษา ระดับชั้นตำแหน่ง และอัตราเงินเดือนที่แตกต่างกัน มีความผูกพันต่อองค์กรไม่แตกต่างกัน และผลการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำของผู้บังคับบัญชากับความผูกพันต่อองค์กร พบว่า ภาวะผู้นำของผู้บังคับบัญชาด้านสติปัญญา ความรู้ความสามารถ และบุคลิกภาพ มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับต่ำกับความผูกพันต่อองค์กร และภาวะผู้นำของผู้บังคับบัญชาด้านลักษณะทางด้านเทคนิคที่เกี่ยวข้องกับงาน และลักษณะทางสังคมและการมีปฏิสัมพันธ์ มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลางกับความผูกพันต่อองค์กรของเจ้าหน้าที่ตำรวจในจังหวัดสุราษฎร์ธานี
Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26658 SIU IS-T. ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำของผู้บังคับบัญชากับความผูกพันต่อองค์กร กรณีศึกษาเจ้าหน้าที่ตำรวจในจังหวัดสุราษฎร์ธานี = Relationships between Leadership of Commander and Organizational Commitment: A Case of Police Officers in Surattani Province) [printed text] / ธนัญชัย ปรีชาเชี่ยว, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; สมพร เพชรสงค์, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2015 . - viii, 63 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2015-04
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2015.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ตำรวจ -- สุราษฎร์ธานี
[LCSH]ภาวะผู้นำ -- กรณีศึกษาKeywords: ภาวะผู้นำ,
ความผูกพันต่อองค์กรAbstract: การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับความผูกพันต่อองค์กรของเจ้าหน้าที่ตำรวจ เปรียบเทียบระดับความผูกพันต่อองค์กรของเจ้าหน้าที่ตำรวจ และศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำของผู้บังคับบัญชากับความผูกพันต่อองค์กรของเจ้าหน้าที่ตำรวจในจังหวัดสุราษฎร์ธานี โดยใช้แบบสอบถามเก็บรวบรวมข้อมูลจากเจ้าหน้าที่ตำรวจชั้นประทวนถึงรองสารวัตรในจังหวัดสุราษฎร์ธานี จำนวน 340 คน สถิติที่ใช้ในวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าแจกแจงความถี่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสถิติทดสอบที (t-test) ค่าสถิติทดสอบเอฟ (F-test) และค่าสัมประสิทธิสหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน
ผลการศึกษาพบว่า เจ้าหน้าที่ตำรวจในจังหวัดสุราษฎร์ธานี มีความผูกพันต่อองค์กรในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง โดยเรียงตามลำดับจากมากไปหาน้อย คือ มีความรู้สึกภาคภูมิใจในองค์กร การยอมรับและเชื่อมั่นเป้าหมายขององค์กร ความต้องการเป็นสมาชิกขององค์กร และมีความเต็มใจที่จะปฏิบัติงานเพื่อองค์กร ผลการเปรียบเทียบระดับความผูกพันต่อองค์กร พบว่า เจ้าหน้าที่ตำรวจที่มีอายุ ระยะเวลารับราชการ ระดับการศึกษา ระดับชั้นตำแหน่ง และอัตราเงินเดือนที่แตกต่างกัน มีความผูกพันต่อองค์กรไม่แตกต่างกัน และผลการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำของผู้บังคับบัญชากับความผูกพันต่อองค์กร พบว่า ภาวะผู้นำของผู้บังคับบัญชาด้านสติปัญญา ความรู้ความสามารถ และบุคลิกภาพ มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับต่ำกับความผูกพันต่อองค์กร และภาวะผู้นำของผู้บังคับบัญชาด้านลักษณะทางด้านเทคนิคที่เกี่ยวข้องกับงาน และลักษณะทางสังคมและการมีปฏิสัมพันธ์ มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลางกับความผูกพันต่อองค์กรของเจ้าหน้าที่ตำรวจในจังหวัดสุราษฎร์ธานี
Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26658 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000593127 SIU IS-T: IPAG-MPA-2015-04 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000593093 SIU IS-T: IPAG-MPA-2015-04 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. ความเจริญของวัดไทยในต่างแดน / ปวรุตม์ ฐิติพงศิริกุล / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2018
Collection Title: SIU THE-T Title : ความเจริญของวัดไทยในต่างแดน Original title : The Prosperity of Thai Buddhist Temples in Overseas Material Type: printed text Authors: ปวรุตม์ ฐิติพงศิริกุล, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2018 Pagination: ix, 261 p. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-02
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]พระพุทธศาสนา
[LCSH]วัดไทย
[LCSH]วัดไทย -- จีน
[LCSH]วัดไทย -- สิงคโปร์Keywords: พระพุทธศาสนา,
ต่างแดน,
ความเจริญ,
วัดไทยAbstract: การศึกษาวิจัยนี้เป็นการศึกษาวัดไทยในต่างแดนว่ามีความเจริญรุ่งเรืองดำรงอยู่ได้เพราะอะไร และศึกษาแนวทางในการพัฒนาวัดไทยในต่างแดน เป็นการวิจัยแบบผสม มีกลุ่มเป้าหมายเป็นวัดจำนวน 2 พื้นที่คือวัดไทยในเขตปกครองพิเศษฮ่องกง ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน และวัดไทยประเทศสาธารณรัฐสิงคโปร์ เนื่องจากเป็นวัดที่มีผู้ไปเยี่ยมเยียนเป็นจำนวนมาก ประกอบกับเป็นขอบเขตที่ผู้วิจัยจะทำการศึกษาได้ไม่ไกลจนเกินไป ในการวิจัยเชิงปริมาณใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล โดยสอบถามพุทธศาสนิกชน ผู้ที่นับถือพระพุทธศาสนาในเขตชุมชน รวมทั้งนักท่องเที่ยวที่มาทำบุญ หรือเข้าร่วมจัดกิจกรรมที่วัด จำนวน 214 คน และการวิจัยเชิงคุณภาพ ทำการสัมภาษณ์เชิงลึก (Indepth-Interview) เจ้าอาวาสวัด/รองเจ้าอาวาส หรือผู้แทนที่ได้รับมอบหมาย เป็นผู้ให้ข้อมูลสำคัญ
ผลการศึกษา พบว่า วัดไทยในต่างแดนมีความเจริญขึ้น ด้วยเหตุผล 3 ประการคือประการที่หนึ่งด้านความเลื่อมใสศรัทธา ตามทฤษฎีปทัสถาน ประการที่สองด้านวัตถุ ตามทฤษฎีบริหารธุรกิจ เช่น คนเข้าวัดเพราะว่าอยากบูชาวัตถุมงคล เครื่องราง นำโชค มีสิ่งศักดิ์สิทธิ์ภายในวัด และประการสุดท้ายคือด้านการปรับตัว ตามทฤษฎีการปรับตัวขององค์การ และคนไปวัดเพราะว่าวัดรู้จักปรับตัวตามทฤษฎีการปรับตัวซึ่งสอดคล้องกับทฤษฎีการปรับตัวของ ทัลคอร์ต พาร์สัน ผลการวิจัยครั้งนี้พบว่า การที่จะสามารถปรับตัวที่ทำให้วัดไทยในต่างแดนมีความเจริญรุ่งเรืองเป็นเพราะว่าจะต้องอิงกับธุรกิจบ้างเพื่อให้สามารถสนองตอบกับความต้องการของผู้มาทำบุญในต่างแดน ซึ่งสิ่งเหล่านี้เป็นสิ่งที่ยอมรับได้ แต่เพื่อให้พระพุทธศาสนาดำรงตามหลักคำสอนของพระพุทธเจ้าจะต้องสนับสนุนและส่งเสริมในเรื่องของปทัสถานลงไปและจะต้องปรับตัวให้ทันตามความเจริญก้าวหน้าของสังคมและตามความต้องการของสังคม และโลกในยุคดิจิทัลCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27708 SIU THE-T. ความเจริญของวัดไทยในต่างแดน = The Prosperity of Thai Buddhist Temples in Overseas [printed text] / ปวรุตม์ ฐิติพงศิริกุล, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018 . - ix, 261 p. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00
SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-02
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]พระพุทธศาสนา
[LCSH]วัดไทย
[LCSH]วัดไทย -- จีน
[LCSH]วัดไทย -- สิงคโปร์Keywords: พระพุทธศาสนา,
ต่างแดน,
ความเจริญ,
วัดไทยAbstract: การศึกษาวิจัยนี้เป็นการศึกษาวัดไทยในต่างแดนว่ามีความเจริญรุ่งเรืองดำรงอยู่ได้เพราะอะไร และศึกษาแนวทางในการพัฒนาวัดไทยในต่างแดน เป็นการวิจัยแบบผสม มีกลุ่มเป้าหมายเป็นวัดจำนวน 2 พื้นที่คือวัดไทยในเขตปกครองพิเศษฮ่องกง ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน และวัดไทยประเทศสาธารณรัฐสิงคโปร์ เนื่องจากเป็นวัดที่มีผู้ไปเยี่ยมเยียนเป็นจำนวนมาก ประกอบกับเป็นขอบเขตที่ผู้วิจัยจะทำการศึกษาได้ไม่ไกลจนเกินไป ในการวิจัยเชิงปริมาณใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล โดยสอบถามพุทธศาสนิกชน ผู้ที่นับถือพระพุทธศาสนาในเขตชุมชน รวมทั้งนักท่องเที่ยวที่มาทำบุญ หรือเข้าร่วมจัดกิจกรรมที่วัด จำนวน 214 คน และการวิจัยเชิงคุณภาพ ทำการสัมภาษณ์เชิงลึก (Indepth-Interview) เจ้าอาวาสวัด/รองเจ้าอาวาส หรือผู้แทนที่ได้รับมอบหมาย เป็นผู้ให้ข้อมูลสำคัญ
ผลการศึกษา พบว่า วัดไทยในต่างแดนมีความเจริญขึ้น ด้วยเหตุผล 3 ประการคือประการที่หนึ่งด้านความเลื่อมใสศรัทธา ตามทฤษฎีปทัสถาน ประการที่สองด้านวัตถุ ตามทฤษฎีบริหารธุรกิจ เช่น คนเข้าวัดเพราะว่าอยากบูชาวัตถุมงคล เครื่องราง นำโชค มีสิ่งศักดิ์สิทธิ์ภายในวัด และประการสุดท้ายคือด้านการปรับตัว ตามทฤษฎีการปรับตัวขององค์การ และคนไปวัดเพราะว่าวัดรู้จักปรับตัวตามทฤษฎีการปรับตัวซึ่งสอดคล้องกับทฤษฎีการปรับตัวของ ทัลคอร์ต พาร์สัน ผลการวิจัยครั้งนี้พบว่า การที่จะสามารถปรับตัวที่ทำให้วัดไทยในต่างแดนมีความเจริญรุ่งเรืองเป็นเพราะว่าจะต้องอิงกับธุรกิจบ้างเพื่อให้สามารถสนองตอบกับความต้องการของผู้มาทำบุญในต่างแดน ซึ่งสิ่งเหล่านี้เป็นสิ่งที่ยอมรับได้ แต่เพื่อให้พระพุทธศาสนาดำรงตามหลักคำสอนของพระพุทธเจ้าจะต้องสนับสนุนและส่งเสริมในเรื่องของปทัสถานลงไปและจะต้องปรับตัวให้ทันตามความเจริญก้าวหน้าของสังคมและตามความต้องการของสังคม และโลกในยุคดิจิทัลCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27708 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000597375 SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-02 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000597409 SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-02 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available SIU IS-T. บทบาทของผู้จัดการในการนำองค์กรไปสู่ความสำเร็จ กรณีศึกษา : สายการบินบิสสิเนสแอร์ / ดำรง ตะนารัตน์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : บทบาทของผู้จัดการในการนำองค์กรไปสู่ความสำเร็จ กรณีศึกษา : สายการบินบิสสิเนสแอร์ Original title : The Manager’s Role in leading the Organization to Success Case Study: Business Air Airlines Material Type: printed text Authors: ดำรง ตะนารัตน์, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: vii, 77 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-14
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ผู้จัดการ
[LCSH]ภาวะผู้นำ -- กรณีศึกษา
[LCSH]สายการบินKeywords: บทบาท, ผู้นำ, ภาวะผู้นำ, ผู้จัดการ, การตัดสินใจ, สายการบิน บิสสิเนสแอร์ Abstract: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบทบาทของผู้จัดการในการนำองค์กรไปสู่ความสำเร็จ กรณีศึกษา : สายการบินบิสสิเนสแอร์ และเพื่อเสนอแนวทางการพัฒนาบทบาทของผู้จัดการในการนำองค์กรไปสู่ความสำเร็จ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ ผู้จัดการ จำนวน 10 คนซึ่งเป็นผู้ปฏิบัติงานของสายการบินบิสสิเนสแอร์ เป็นผู้ให้ข้อมูลหลักโดยใช้วิธีการสัมภาษณ์เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล
ผลการศึกษา พบว่า แนวทางการบริหารงานของสายการบินบิสสิเนสแอร์ มีการกำหนดเป้าหมายขององค์กรอย่างชัดเจน ชี้แจงวัตถุประสงค์และเป้าหมายให้ผู้ใต้บังคับบัญชาทราบ ด้านความรอบรู้ในงาน ผู้จัดการต้องมีความรู้ในฝ่ายอื่นๆทุกๆฝ่าย การตัดสินใจผิดพลาดไม่กล้าตัดสินใจ หรือตัดสินใจล่าช้าก็จะเกิดการสูญเสียค่าใช้จ่าย ด้านความสามารถทางการบริหาร ควรมีการสอนงาน แก้ปัญหาและให้ผู้ใต้บังคับบัญชาปฏิบัติตามเพื่อบรรลุเป้าหมาย ด้านมนุษย์สัมพันธ์ช่วยเป็นตัวประสานงานให้งานคล่องตัวขึ้น ลดการขัดแย้ง ลดความไม่เข้าใจกันในการทำงาน บทบาทของผู้จัดการในการนำองค์กรไปสู่ความสำเร็จ ต้องใช้หลักธรรมาภิบาลในการบริหารงาน
แนวทางการพัฒนาบทบาทของผู้จัดการในการนำองค์กรไปสู่ความสำเร็จ ควรเพิ่มทักษะการบริหารโดยการฝึกอบรมผู้จัดการ การบริหารจัดการบุคลากร และต้องมีเส้นทางความก้าวหน้าในสายวิชาชีพ
ปัญหาในการทำงาน ได้แก่ เป็นการบริหารงานแบบครอบครัว โดยเจ้าของเป็นผู้ตัดสินใจ ขาดสภาพคล่องทางการเงิน นักบินขาดแคลน เครื่องบินมีอายุเกิน 16ปี ขาดแคลนชิ้นส่วนอะไหล่ (spare part) ในการซ่อมบำรุง ฝ่ายการตลาดและการเงินยังขาดประสบการณ์การด้านการจัดการในการวางแผน กระแสเงินสดหมุนเวียน(Cash Flow) มาจาก(กำไร)Margin ต่ำและขาดผู้มีความสามารถ หรือผู้ชำนาญการทำการควบคุมต้นทุน(cost control)
อุปสรรค ได้แก่ การเปลี่ยนกฎข้อบังคับของกรมการบินพลเรือนทำให้การดำเนินธุรกิจลำบากขึ้น การถูกปรับลดความน่าเชื่อถือด้านความปลอดภัย การเสียโอกาสในการดำเนินธุรกิจ มีผู้บริหารในแต่ละหน่วยเพิ่มขึ้น ส่งผลให้ค่าใช้จ่ายด้านบุคลากรเพิ่มขึ้น และภัยพิบัติทางธรรมชาติ การบริหารการเงินของผู้บริหารผิดพลาด การบริหารบุคคลล้มเหลวCurricular : BBA/GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26890 SIU IS-T. บทบาทของผู้จัดการในการนำองค์กรไปสู่ความสำเร็จ กรณีศึกษา : สายการบินบิสสิเนสแอร์ = The Manager’s Role in leading the Organization to Success Case Study: Business Air Airlines [printed text] / ดำรง ตะนารัตน์, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - vii, 77 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-14
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ผู้จัดการ
[LCSH]ภาวะผู้นำ -- กรณีศึกษา
[LCSH]สายการบินKeywords: บทบาท, ผู้นำ, ภาวะผู้นำ, ผู้จัดการ, การตัดสินใจ, สายการบิน บิสสิเนสแอร์ Abstract: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาบทบาทของผู้จัดการในการนำองค์กรไปสู่ความสำเร็จ กรณีศึกษา : สายการบินบิสสิเนสแอร์ และเพื่อเสนอแนวทางการพัฒนาบทบาทของผู้จัดการในการนำองค์กรไปสู่ความสำเร็จ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา ได้แก่ ผู้จัดการ จำนวน 10 คนซึ่งเป็นผู้ปฏิบัติงานของสายการบินบิสสิเนสแอร์ เป็นผู้ให้ข้อมูลหลักโดยใช้วิธีการสัมภาษณ์เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล
ผลการศึกษา พบว่า แนวทางการบริหารงานของสายการบินบิสสิเนสแอร์ มีการกำหนดเป้าหมายขององค์กรอย่างชัดเจน ชี้แจงวัตถุประสงค์และเป้าหมายให้ผู้ใต้บังคับบัญชาทราบ ด้านความรอบรู้ในงาน ผู้จัดการต้องมีความรู้ในฝ่ายอื่นๆทุกๆฝ่าย การตัดสินใจผิดพลาดไม่กล้าตัดสินใจ หรือตัดสินใจล่าช้าก็จะเกิดการสูญเสียค่าใช้จ่าย ด้านความสามารถทางการบริหาร ควรมีการสอนงาน แก้ปัญหาและให้ผู้ใต้บังคับบัญชาปฏิบัติตามเพื่อบรรลุเป้าหมาย ด้านมนุษย์สัมพันธ์ช่วยเป็นตัวประสานงานให้งานคล่องตัวขึ้น ลดการขัดแย้ง ลดความไม่เข้าใจกันในการทำงาน บทบาทของผู้จัดการในการนำองค์กรไปสู่ความสำเร็จ ต้องใช้หลักธรรมาภิบาลในการบริหารงาน
แนวทางการพัฒนาบทบาทของผู้จัดการในการนำองค์กรไปสู่ความสำเร็จ ควรเพิ่มทักษะการบริหารโดยการฝึกอบรมผู้จัดการ การบริหารจัดการบุคลากร และต้องมีเส้นทางความก้าวหน้าในสายวิชาชีพ
ปัญหาในการทำงาน ได้แก่ เป็นการบริหารงานแบบครอบครัว โดยเจ้าของเป็นผู้ตัดสินใจ ขาดสภาพคล่องทางการเงิน นักบินขาดแคลน เครื่องบินมีอายุเกิน 16ปี ขาดแคลนชิ้นส่วนอะไหล่ (spare part) ในการซ่อมบำรุง ฝ่ายการตลาดและการเงินยังขาดประสบการณ์การด้านการจัดการในการวางแผน กระแสเงินสดหมุนเวียน(Cash Flow) มาจาก(กำไร)Margin ต่ำและขาดผู้มีความสามารถ หรือผู้ชำนาญการทำการควบคุมต้นทุน(cost control)
อุปสรรค ได้แก่ การเปลี่ยนกฎข้อบังคับของกรมการบินพลเรือนทำให้การดำเนินธุรกิจลำบากขึ้น การถูกปรับลดความน่าเชื่อถือด้านความปลอดภัย การเสียโอกาสในการดำเนินธุรกิจ มีผู้บริหารในแต่ละหน่วยเพิ่มขึ้น ส่งผลให้ค่าใช้จ่ายด้านบุคลากรเพิ่มขึ้น และภัยพิบัติทางธรรมชาติ การบริหารการเงินของผู้บริหารผิดพลาด การบริหารบุคคลล้มเหลวCurricular : BBA/GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26890 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000593655 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-14 c.1 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000593663 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-14 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available SIU Thesis. บทบาทภาวะผู้นำในการธำรงรักษาพนักงาน กรณีศึกษาสถาบันอุดมศึกษาเอกชนในประเทศไทย / บัญชา ลิมปะพันธุ์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU Thesis Title : บทบาทภาวะผู้นำในการธำรงรักษาพนักงาน กรณีศึกษาสถาบันอุดมศึกษาเอกชนในประเทศไทย Original title : Leadership Roles in Retaining Employees: A Case of Private Higher Education Institutions in Thailand Material Type: printed text Authors: บัญชา ลิมปะพันธุ์, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; วิไลพร เลาหโกศล, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: ix, 124 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU THE-T: SOM-DBA-2017-09
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2560Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ภาวะผู้นำ
[LCSH]สถาบันอุดมศึกษาเอกชน -- ไทยKeywords: ภาวะผู้นำ,
การธำรงรักษาพนักงาน,
การลาออกของพนักงานAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาบทบาทภาวะผู้นำของผู้บริหารสถาบันอุดมศึกษาเอกชนในการธำรงรักษาบุคลากร 2) ศึกษาความสัมพันธ์และปัจจัยที่มีผลต่อการธำรงรักษาบุคลากรโดยกลุ่มตัวอย่างเป็นพนักงานสายวิชาการและสายสนับสนุนของสถาบันอุดมศึกษาเอกชนในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 400 ตัวอย่าง ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบสัดส่วน (Quota Sampling) ทำการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ใช้ค่าสถิติเชิงพรรณา และใช้สิถิติเชิงอนุมานในการหาค่า Independent-Sample t-test และ One-Way ANOVA ในการทดสอบสมมุติฐาน
ผลการศึกษาพบว่า 1) พบความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถาม คือ สถานภาพ รายได้ อายุงานรวม การรักษาพยาบาล และวันหยุด กับการธำรงรักษาพนักงานที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 2) พบความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ภาวะผู้นำ (ด้านมุ่งเกณฑ์ ภาวะผู้นำด้านมุ่งงาน ภาวะผู้นำด้านมุ่งสัมพันธ์ และภาวะผู้นำด้านมุ่งประสาน) กับการธำรงรักษาพนักงานอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05 3) ผลการวิจัยพบความสัมพันธ์ระหว่างผลตอบแทนด้านการเงินของผู้ตอบแบบสอบถาม คือ ความยุติธรรมของระบบการประเมินผลสำหรับการขึ้นเงินเดือนในองค์กร และผลตอบแทนด้านการเงินทำให้รู้สึกรักองค์กร กับการธำรงรักษาพนักงาน และพบความสัมพันธ์ระหว่างผลตอบแทนที่ไม่ใช่ด้านการเงินของผู้ตอบแบบสอบถาม คือ การได้รับการยกย่องจากผู้บังคับบัญชา การได้รับการยอมรับจากเพื่อนร่วมงาน ผลตอบแทนที่ไม่ใช่ด้านการเงินทำให้รู้สึกรักองค์กร และความก้าวหน้าในตำแหน่งหน้าที่การงาน กับการธำรงรักษาพนักงานอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05
Curricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27317 SIU Thesis. บทบาทภาวะผู้นำในการธำรงรักษาพนักงาน กรณีศึกษาสถาบันอุดมศึกษาเอกชนในประเทศไทย = Leadership Roles in Retaining Employees: A Case of Private Higher Education Institutions in Thailand [printed text] / บัญชา ลิมปะพันธุ์, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; วิไลพร เลาหโกศล, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - ix, 124 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00
SIU THE-T: SOM-DBA-2017-09
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2560
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ภาวะผู้นำ
[LCSH]สถาบันอุดมศึกษาเอกชน -- ไทยKeywords: ภาวะผู้นำ,
การธำรงรักษาพนักงาน,
การลาออกของพนักงานAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาบทบาทภาวะผู้นำของผู้บริหารสถาบันอุดมศึกษาเอกชนในการธำรงรักษาบุคลากร 2) ศึกษาความสัมพันธ์และปัจจัยที่มีผลต่อการธำรงรักษาบุคลากรโดยกลุ่มตัวอย่างเป็นพนักงานสายวิชาการและสายสนับสนุนของสถาบันอุดมศึกษาเอกชนในเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 400 ตัวอย่าง ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบสัดส่วน (Quota Sampling) ทำการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ใช้ค่าสถิติเชิงพรรณา และใช้สิถิติเชิงอนุมานในการหาค่า Independent-Sample t-test และ One-Way ANOVA ในการทดสอบสมมุติฐาน
ผลการศึกษาพบว่า 1) พบความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถาม คือ สถานภาพ รายได้ อายุงานรวม การรักษาพยาบาล และวันหยุด กับการธำรงรักษาพนักงานที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 2) พบความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ภาวะผู้นำ (ด้านมุ่งเกณฑ์ ภาวะผู้นำด้านมุ่งงาน ภาวะผู้นำด้านมุ่งสัมพันธ์ และภาวะผู้นำด้านมุ่งประสาน) กับการธำรงรักษาพนักงานอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05 3) ผลการวิจัยพบความสัมพันธ์ระหว่างผลตอบแทนด้านการเงินของผู้ตอบแบบสอบถาม คือ ความยุติธรรมของระบบการประเมินผลสำหรับการขึ้นเงินเดือนในองค์กร และผลตอบแทนด้านการเงินทำให้รู้สึกรักองค์กร กับการธำรงรักษาพนักงาน และพบความสัมพันธ์ระหว่างผลตอบแทนที่ไม่ใช่ด้านการเงินของผู้ตอบแบบสอบถาม คือ การได้รับการยกย่องจากผู้บังคับบัญชา การได้รับการยอมรับจากเพื่อนร่วมงาน ผลตอบแทนที่ไม่ใช่ด้านการเงินทำให้รู้สึกรักองค์กร และความก้าวหน้าในตำแหน่งหน้าที่การงาน กับการธำรงรักษาพนักงานอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ 0.05
Curricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27317 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000595270 SIU THE-T: SOM-DBA-2017-09 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000595304 SIU THE-T: SOM-DBA-2017-09 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available Readers who borrowed this document also borrowed:
Human resource management Mathis,, Robert L. (1944-) SIU Thesis. ภาวะผู้นำที่นำไปสู่การยอมรับผู้บริหารสตรีของผู้ร่วมงานในหน่วยงานปราบปรามภาครัฐ กรณีศึกษากระทรวงการคลัง / สุพัชรา บุญเกิดรัมย์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU Thesis Title : ภาวะผู้นำที่นำไปสู่การยอมรับผู้บริหารสตรีของผู้ร่วมงานในหน่วยงานปราบปรามภาครัฐ กรณีศึกษากระทรวงการคลัง Original title : Leadership Leading to the Acceptance of Female Executives of Colleagues in Public Suppression Agencies: A Case of Ministry of Finance Material Type: printed text Authors: สุพัชรา บุญเกิดรัมย์, Author ; ธนสุวิทย์ ทับหิรัญรักษ์, Associated Name ; หทัยรัตน์ เลิศจรรยากิจ, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: ix, 131 น. Layout: ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU THE-T: SOM-DBA-2017-05
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2560Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ผู้บริหาร
[LCSH]ภาวะผู้นำ
[LCSH]สตรีKeywords: การยอมรับ,
ภาวะผู้นำ,
ผู้บริหารสตรี,
ปราบปรามAbstract: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและวิเคราะห์องค์ประกอบสำคัญของคุณลักษณะภาวะผู้นำของผู้บริหารสตรีที่นำไปสู่การยอมรับของผู้ร่วมงานในสายงานปราบปราม โดยใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นเจ้าพนักงานที่ทำงานในกรมสรรพสามิตและกรมศุลกากร กระทรวงการคลัง จำนวน 400 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณา และการวิเคราะห์ค่าความแปรปรวนทางเดียว (One-Way ANOVA) และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (Multiple Regression) ในการทดสอบความสัมพันธ์ของตัวแปรและทดสอบสมมุติฐาน
ผลการศึกษา พบว่าผู้บริหารสตรีในหน่วยงานปราบปรามมีภาวะผู้นำแบบมีส่วนร่วมอยู่ในลำดับสูงสุด รองลงมาคือ ภาวะผู้นำแบบแบบชี้นำ แบบสนับสนุน แบบมุ่งความสำเร็จ ตามลำดับ ส่วนการรับรู้คุณลักษณะของผู้บริหารสตรีพบว่าด้านการนำ คะแนนเฉลี่ยสูงสุด รองลงมาเป็นการจัดองค์กร การติดต่อสื่อสาร มนุษย์สัมพันธ์ การตัดสินใจที่เป็นระบบ การควบคุม การเป็นผู้กำกับดูแลที่ดีภายใต้กรอบจริยธรรม นอกจากนี้ผลจากการวิจัยยังพบว่าผู้ร่วมงานมีทัศนคติต่อผู้บริหารสตรีในระดับที่ดีมาก ทำให้เพื่อนร่วมงานมีความพึงพอใจในการทำงานร่วมกับผู้บริหารสตรี โดยผู้ร่วมงานเชื่อว่าผู้บริหารสตรีสามารถนำให้งานบรรลุเป้าหมาย และผู้ร่วมงานยอมรับผู้บริหารสตรีในระดับมาก นอกจากนี้ยังพบว่าผู้บริหารสตรีมีความสามารถในการเจรจาเพื่อลดปัญหามากกว่าผู้บริหารบุรุษ ส่วนผลการทดสอบสมมุติฐานพบว่าคุณลักษณะของผู้ร่วมงานมีความสัมพันธ์กับการยอมรับผู้บริหารสตรี คุณลักษณะของผู้ร่วมงานมีความสัมพันธ์กับการรับรู้ภาวะผู้นำของผู้บริหารสตรี และภาวะผู้นำของผู้บริหารสตรีมีความสัมพันธ์กับความพึงพอใจ การยอมรับ และความสำเร็จของงาน
Curricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27316 SIU Thesis. ภาวะผู้นำที่นำไปสู่การยอมรับผู้บริหารสตรีของผู้ร่วมงานในหน่วยงานปราบปรามภาครัฐ กรณีศึกษากระทรวงการคลัง = Leadership Leading to the Acceptance of Female Executives of Colleagues in Public Suppression Agencies: A Case of Ministry of Finance [printed text] / สุพัชรา บุญเกิดรัมย์, Author ; ธนสุวิทย์ ทับหิรัญรักษ์, Associated Name ; หทัยรัตน์ เลิศจรรยากิจ, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - ix, 131 น. : ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU THE-T: SOM-DBA-2017-05
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2560
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ผู้บริหาร
[LCSH]ภาวะผู้นำ
[LCSH]สตรีKeywords: การยอมรับ,
ภาวะผู้นำ,
ผู้บริหารสตรี,
ปราบปรามAbstract: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและวิเคราะห์องค์ประกอบสำคัญของคุณลักษณะภาวะผู้นำของผู้บริหารสตรีที่นำไปสู่การยอมรับของผู้ร่วมงานในสายงานปราบปราม โดยใช้แบบสอบถามในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นเจ้าพนักงานที่ทำงานในกรมสรรพสามิตและกรมศุลกากร กระทรวงการคลัง จำนวน 400 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณา และการวิเคราะห์ค่าความแปรปรวนทางเดียว (One-Way ANOVA) และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (Multiple Regression) ในการทดสอบความสัมพันธ์ของตัวแปรและทดสอบสมมุติฐาน
ผลการศึกษา พบว่าผู้บริหารสตรีในหน่วยงานปราบปรามมีภาวะผู้นำแบบมีส่วนร่วมอยู่ในลำดับสูงสุด รองลงมาคือ ภาวะผู้นำแบบแบบชี้นำ แบบสนับสนุน แบบมุ่งความสำเร็จ ตามลำดับ ส่วนการรับรู้คุณลักษณะของผู้บริหารสตรีพบว่าด้านการนำ คะแนนเฉลี่ยสูงสุด รองลงมาเป็นการจัดองค์กร การติดต่อสื่อสาร มนุษย์สัมพันธ์ การตัดสินใจที่เป็นระบบ การควบคุม การเป็นผู้กำกับดูแลที่ดีภายใต้กรอบจริยธรรม นอกจากนี้ผลจากการวิจัยยังพบว่าผู้ร่วมงานมีทัศนคติต่อผู้บริหารสตรีในระดับที่ดีมาก ทำให้เพื่อนร่วมงานมีความพึงพอใจในการทำงานร่วมกับผู้บริหารสตรี โดยผู้ร่วมงานเชื่อว่าผู้บริหารสตรีสามารถนำให้งานบรรลุเป้าหมาย และผู้ร่วมงานยอมรับผู้บริหารสตรีในระดับมาก นอกจากนี้ยังพบว่าผู้บริหารสตรีมีความสามารถในการเจรจาเพื่อลดปัญหามากกว่าผู้บริหารบุรุษ ส่วนผลการทดสอบสมมุติฐานพบว่าคุณลักษณะของผู้ร่วมงานมีความสัมพันธ์กับการยอมรับผู้บริหารสตรี คุณลักษณะของผู้ร่วมงานมีความสัมพันธ์กับการรับรู้ภาวะผู้นำของผู้บริหารสตรี และภาวะผู้นำของผู้บริหารสตรีมีความสัมพันธ์กับความพึงพอใจ การยอมรับ และความสำเร็จของงาน
Curricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27316 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000595288 SIU THE-T: SOM-DBA-2017-05 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000595254 SIU THE-T: SOM-DBA-2017-05 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available ความสัมพันธ์ ระหว่างการเสริมสร้างพลังอำนาจด้านโครงสร้าง ความพึงพอใจในการทำงานกับความสามารถในการปฏิบัติบทบาทด้านการบริหารของหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ กรุงเทพมหานคร / กัลยลักษณ์ คลับคล้าย / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2553
Title : ความสัมพันธ์ ระหว่างการเสริมสร้างพลังอำนาจด้านโครงสร้าง ความพึงพอใจในการทำงานกับความสามารถในการปฏิบัติบทบาทด้านการบริหารของหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ กรุงเทพมหานคร Original title : Relationships between structural empowerment, Job satisfaction, and administrative roles performance of head nurses, tertiary hospitals, Bangkok Metropolis Material Type: printed text Authors: กัลยลักษณ์ คลับคล้าย, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2553 Pagination: ก-ฎ, 126 แผ่น Layout: แผนภูมิ Size: 30 cm. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]] --จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2553 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]พยาบาล -- ความพอใจในการทำงาน
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพ
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย
[LCSH]ภาวะผู้นำKeywords: หัวหน้ัาหอผู้ป่วย.
โรงพยาบาลตติยภูมิ.
ความพึงพอใจ.
ภาวะผู้นำ.Class number: WY105 ก117 2553 Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาหาความสัมพันธ์ระหว่างการเสริมสร้างพลังอำนาจด้านโครงสร้าง ความพึงพอใจในการทำงานกับความสามารถในการปฏิบัติบทบาทด้านการบริหารของหัวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาลระดับตติยภูมิ กรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่าง คือ หัวหน้าหอผู้ป่วยที่มีประสบการณ์ทำงานตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไป ในโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ กรุงเทพมหานคร จำนวน 246 คน ซึ่งได้จากการสุ่มตัวอย่างอย่างง่าย เครื่องมือการวิจัยประกอบด้วย แบบสอบถามความสามารถในการปฏิบัติบทบาทด้านการบริหาร การเสริมสร้างพลังอำนาจด้านโครงสร้าง และความพึงพอใจในการทำงาน ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาและหาค่าความเที่ยง โดยค่าสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาค มีค่าเท่ากับ .83, .92 และ .76 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23216 ความสัมพันธ์ ระหว่างการเสริมสร้างพลังอำนาจด้านโครงสร้าง ความพึงพอใจในการทำงานกับความสามารถในการปฏิบัติบทบาทด้านการบริหารของหัวหน้าหอผู้ป่วยโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ กรุงเทพมหานคร = Relationships between structural empowerment, Job satisfaction, and administrative roles performance of head nurses, tertiary hospitals, Bangkok Metropolis [printed text] / กัลยลักษณ์ คลับคล้าย, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553 . - ก-ฎ, 126 แผ่น : แผนภูมิ ; 30 cm.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]] --จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2553
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]พยาบาล -- ความพอใจในการทำงาน
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพ
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย
[LCSH]ภาวะผู้นำKeywords: หัวหน้ัาหอผู้ป่วย.
โรงพยาบาลตติยภูมิ.
ความพึงพอใจ.
ภาวะผู้นำ.Class number: WY105 ก117 2553 Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาหาความสัมพันธ์ระหว่างการเสริมสร้างพลังอำนาจด้านโครงสร้าง ความพึงพอใจในการทำงานกับความสามารถในการปฏิบัติบทบาทด้านการบริหารของหัวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาลระดับตติยภูมิ กรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่าง คือ หัวหน้าหอผู้ป่วยที่มีประสบการณ์ทำงานตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไป ในโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ กรุงเทพมหานคร จำนวน 246 คน ซึ่งได้จากการสุ่มตัวอย่างอย่างง่าย เครื่องมือการวิจัยประกอบด้วย แบบสอบถามความสามารถในการปฏิบัติบทบาทด้านการบริหาร การเสริมสร้างพลังอำนาจด้านโครงสร้าง และความพึงพอใจในการทำงาน ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาและหาค่าความเที่ยง โดยค่าสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาค มีค่าเท่ากับ .83, .92 และ .76 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สัน Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23216 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000355154 WY105 ก117 2553 Thesis Main Library Thesis Corner Available ความสัมพันธ์ระว่างภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย การมีส่วนร่วมในงานของพยาบาลประจำการ กับประสิทธิผลของหอผู้ป่วย โรงพยาบาลทั่วไปสังกัดกระทรวงสาธารณสุข เขตภาคเหนือ / ทิพย์สุดา ดวงแก้ว / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2552
Title : ความสัมพันธ์ระว่างภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย การมีส่วนร่วมในงานของพยาบาลประจำการ กับประสิทธิผลของหอผู้ป่วย โรงพยาบาลทั่วไปสังกัดกระทรวงสาธารณสุข เขตภาคเหนือ Original title : Relationships between strategic leadership of head nurse, job involvment of staff nurse, and effectiveness of patient unit, general hospitals under jurisdiction of the Ministry of Public Health in Northern region Material Type: printed text Authors: ทิพย์สุดา ดวงแก้ว, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2552 Pagination: ก-ฎ, 150 แผ่น Layout: ตารางประกอบ. Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย. ม [การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2552 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารเชิงกลยุทธ์
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย
[LCSH]ภาวะผู้นำKeywords: การบริหารเชิงกลยุทธ์.
ภาวะผู้นำ.
หอผู้ป่วย.
โรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข.Class number: WY18 ท436 2552 Abstract: ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย การมีส่วนร่วมในงานของพยาบาลประจำการ กับประสิทธิผลของหอผู้ป่วย โรงพยาบาลทั่วไป สังกัดกระทรวงสาธารณสุข เขตภาคเหนือ กลุ่มตัวอย่างคือพยาบาลประจำการที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลทั่วไป เขตภาคเหนือ จำนวน 356 คน ซึ่งได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย แบบสอบถามการมีส่วนร่วมในงานของพยาบาลประจำการ และแบบสอบถามประสิทธิผลของหอผู้ป่วย ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาและหาค่าความเที่ยงของแบบสอบถามโดยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาคได้ .95, .93 และ .87 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย การมีส่วนร่วมในงานของพยาบาลประจำการ และประสิทธิผลของหอผู้ป่วย โรงพยาบาลทั่วไป สังกัดกระทรวงสาธารณสุข เขตภาคเหนือ อยู่ในระดับสูง (x-bar = 3.78, SD = .67 ; x-bar = 3.99, SD = .45 และ x-bar = 3.80, SD = .47 ตามลำดับ) 2. ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย การมีส่วนร่วมในงานของพยาบาลประจำการ มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลางกับประสิทธิผลของหอผู้ป่วย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = .428 และ .613 ตามลำดับ) Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23230 ความสัมพันธ์ระว่างภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย การมีส่วนร่วมในงานของพยาบาลประจำการ กับประสิทธิผลของหอผู้ป่วย โรงพยาบาลทั่วไปสังกัดกระทรวงสาธารณสุข เขตภาคเหนือ = Relationships between strategic leadership of head nurse, job involvment of staff nurse, and effectiveness of patient unit, general hospitals under jurisdiction of the Ministry of Public Health in Northern region [printed text] / ทิพย์สุดา ดวงแก้ว, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552 . - ก-ฎ, 150 แผ่น : ตารางประกอบ. ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย. ม [การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2552
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารเชิงกลยุทธ์
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย
[LCSH]ภาวะผู้นำKeywords: การบริหารเชิงกลยุทธ์.
ภาวะผู้นำ.
หอผู้ป่วย.
โรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข.Class number: WY18 ท436 2552 Abstract: ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย การมีส่วนร่วมในงานของพยาบาลประจำการ กับประสิทธิผลของหอผู้ป่วย โรงพยาบาลทั่วไป สังกัดกระทรวงสาธารณสุข เขตภาคเหนือ กลุ่มตัวอย่างคือพยาบาลประจำการที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลทั่วไป เขตภาคเหนือ จำนวน 356 คน ซึ่งได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย แบบสอบถามการมีส่วนร่วมในงานของพยาบาลประจำการ และแบบสอบถามประสิทธิผลของหอผู้ป่วย ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาและหาค่าความเที่ยงของแบบสอบถามโดยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาคได้ .95, .93 และ .87 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย การมีส่วนร่วมในงานของพยาบาลประจำการ และประสิทธิผลของหอผู้ป่วย โรงพยาบาลทั่วไป สังกัดกระทรวงสาธารณสุข เขตภาคเหนือ อยู่ในระดับสูง (x-bar = 3.78, SD = .67 ; x-bar = 3.99, SD = .45 และ x-bar = 3.80, SD = .47 ตามลำดับ) 2. ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย การมีส่วนร่วมในงานของพยาบาลประจำการ มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลางกับประสิทธิผลของหอผู้ป่วย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = .428 และ .613 ตามลำดับ) Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23230 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354744 WY18 ท436 2552 Thesis Main Library Thesis Corner Available ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยบุคคล ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วยบรรยากาศองค์การ กับความตั้งใจที่จะอยู่ในงานของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ / ปิ่นฤทัย ประดิษฐศิลป์, / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2551
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยบุคคล ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วยบรรยากาศองค์การ กับความตั้งใจที่จะอยู่ในงานของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ Original title : Relationships between personal factors, strategic leadership of head nurse, organizational climate and intention to stay in nursing, service of professional nurses, government university hospitals Material Type: printed text Authors: ปิ่นฤทัย ประดิษฐศิลป์, (2525-), Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2551 Pagination: ก-ฎ, 164 แผ่น Layout: ตารางประกอบ Size: 30 ซม. Price: บริจาค General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม. [การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,2551 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารเชิงกลยุทธ์
[LCSH]พยาบาล -- การทำงาน
[LCSH]พยาบาล--วิชาชีพ
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย
[LCSH]ภาวะผู้นำKeywords: ภาวะผู้นำ.
การบริหาร.
พยาบาลวิชาชีพ.Class number: WY18 ป535 2551 Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยส่วนบุคคล ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย บรรยากาศองค์การ และความตั้งใจที่จะอยู่ในงานของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ และเพื่อศึกษาหาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย บรรยากาศองค์การ กับความตั้งใจที่จะอยู่ในงานของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ กลุ่มตัวอย่าง คือ พยาบาลวิชาชีพระดับปฏิบัติการที่มีประสบการณ์ทำงานตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไป ในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ จำนวน 350 คน ซึ่งได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือการวิจัยประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย บรรยากาศองค์การ และความตั้งใจที่จะอยู่ในงาน ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา และหาค่าความเที่ยง โดยค่าสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาค มีค่าเท่ากับ .97 และ .93 วิเคราะห์ข้อมูลโดยการแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติไคสแควร์ ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
1.พยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐส่วนใหญ่มีความตั้งใจที่จะอยู่ในงานต่อไป มากถึง ร้อยละ 93.7 2.ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ มีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับสูง และบรรยากาศองค์การ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ มีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับดี ( [Mean] = 3.93 และ [Mean] = 3.89 ตามลำดับ) 3.ปัจจัยส่วนบุคคล ด้านระดับการศึกษา มีความสัมพันธ์กับความตั้งใจที่จะอยู่ในงานของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วน อายุ สถานภาพสมรส ประสบการณ์การทำงาน และสถานภาพการทำงาน ไม่มีความสัมพันธ์กับความตั้งใจที่จะอยู่ในงานของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ 4.ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย ไม่มีความสัมพันธ์กับความตั้งใจที่จะอยู่ในงานของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 5.บรรยากาศองค์การ มีความสัมพันธ์กับความตั้งใจที่จะอยู่ในงานของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23171 ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยบุคคล ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วยบรรยากาศองค์การ กับความตั้งใจที่จะอยู่ในงานของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ = Relationships between personal factors, strategic leadership of head nurse, organizational climate and intention to stay in nursing, service of professional nurses, government university hospitals [printed text] / ปิ่นฤทัย ประดิษฐศิลป์, (2525-), Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551 . - ก-ฎ, 164 แผ่น : ตารางประกอบ ; 30 ซม.
บริจาค
วิทยานิพนธ์ [พย.ม. [การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,2551
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารเชิงกลยุทธ์
[LCSH]พยาบาล -- การทำงาน
[LCSH]พยาบาล--วิชาชีพ
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย
[LCSH]ภาวะผู้นำKeywords: ภาวะผู้นำ.
การบริหาร.
พยาบาลวิชาชีพ.Class number: WY18 ป535 2551 Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยส่วนบุคคล ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย บรรยากาศองค์การ และความตั้งใจที่จะอยู่ในงานของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ และเพื่อศึกษาหาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย บรรยากาศองค์การ กับความตั้งใจที่จะอยู่ในงานของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ กลุ่มตัวอย่าง คือ พยาบาลวิชาชีพระดับปฏิบัติการที่มีประสบการณ์ทำงานตั้งแต่ 1 ปีขึ้นไป ในโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ จำนวน 350 คน ซึ่งได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือการวิจัยประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย บรรยากาศองค์การ และความตั้งใจที่จะอยู่ในงาน ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา และหาค่าความเที่ยง โดยค่าสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาค มีค่าเท่ากับ .97 และ .93 วิเคราะห์ข้อมูลโดยการแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติไคสแควร์ ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
1.พยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐส่วนใหญ่มีความตั้งใจที่จะอยู่ในงานต่อไป มากถึง ร้อยละ 93.7 2.ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ มีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับสูง และบรรยากาศองค์การ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ มีค่าเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับดี ( [Mean] = 3.93 และ [Mean] = 3.89 ตามลำดับ) 3.ปัจจัยส่วนบุคคล ด้านระดับการศึกษา มีความสัมพันธ์กับความตั้งใจที่จะอยู่ในงานของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส่วน อายุ สถานภาพสมรส ประสบการณ์การทำงาน และสถานภาพการทำงาน ไม่มีความสัมพันธ์กับความตั้งใจที่จะอยู่ในงานของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ 4.ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของหัวหน้าหอผู้ป่วย ไม่มีความสัมพันธ์กับความตั้งใจที่จะอยู่ในงานของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 5.บรรยากาศองค์การ มีความสัมพันธ์กับความตั้งใจที่จะอยู่ในงานของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23171 ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ความฉลาดทางอารมณ์ / เบญจลักษณ์ สทุมถิระ, / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2546
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ความฉลาดทางอารมณ์ : การสนับสนุนจากครอบครัวกับความเป็นผู้นำที่มีประสิทธิผลของหัวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาลสังกัดกระทรวงกลาโหม Original title : Relationships between personal factors, : emotional quotient, family support, and effective leadership of head nurses, hospitals under the jurisdiction of the Ministry of Defense Material Type: printed text Authors: เบญจลักษณ์ สทุมถิระ, (2499), Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2546 Pagination: ก-ฎ, 100 แผ่น Layout: ตาราง Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-175-361-6 Price: บริจาค General note: วิทยานิพนธ์ [พย. ม. [การบริหารการพยาบาล]] - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2546 Languages : English (eng) Descriptors: [LCSH]การพัฒนาตนเอง
[LCSH]ความฉลาดทางอารมณ์
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย
[LCSH]ภาวะผู้นำ
[LCSH]วิทยานิพนธ์Keywords: ความฉลาดทางอารมณ์.
ภาวะผู้นำ.Class number: WY18 บ532 2546 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23128 ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ความฉลาดทางอารมณ์ = Relationships between personal factors, : emotional quotient, family support, and effective leadership of head nurses, hospitals under the jurisdiction of the Ministry of Defense : การสนับสนุนจากครอบครัวกับความเป็นผู้นำที่มีประสิทธิผลของหัวหน้าหอผู้ป่วย โรงพยาบาลสังกัดกระทรวงกลาโหม [printed text] / เบญจลักษณ์ สทุมถิระ, (2499), Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546 . - ก-ฎ, 100 แผ่น : ตาราง ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-175-361-6 : บริจาค
วิทยานิพนธ์ [พย. ม. [การบริหารการพยาบาล]] - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2546
Languages : English (eng)
Descriptors: [LCSH]การพัฒนาตนเอง
[LCSH]ความฉลาดทางอารมณ์
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย
[LCSH]ภาวะผู้นำ
[LCSH]วิทยานิพนธ์Keywords: ความฉลาดทางอารมณ์.
ภาวะผู้นำ.Class number: WY18 บ532 2546 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23128 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354496 WY18 บ532 2546 Thesis Main Library Thesis Corner Available ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย / ปราณี มีหาญพงษ์ / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2547
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย : พฤติกรรมการเป็นสมาชิกองค์การ กับประสิทธิผลของหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลทั่วไป Original title : Relationships between transformational leadership of head nurses organizational citizenship behavior and effectiveness of patient units as perceived by staff nurses general hospital Material Type: printed text Authors: ปราณี มีหาญพงษ์, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2547 Pagination: ฎ, 126 แผ่น Layout: ตาราง Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-175-935-5 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย. ม. [การบริหารการพยาบาล]]- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2547 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารองค์การ
[LCSH]การพัฒนาตนเอง
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย
[LCSH]ภาวะผู้นำKeywords: การบริหารองค์การ.
ภาวะผู้นำ.
พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย.Class number: WY18 ป572 2547 Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย พฤติกรรมการเป็นสมาชิกขององค์การ กับประสิทธิผลของหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลทั่วไป กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลวิชาชีพระดับปฏิบัติการที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลทั่วไปจำนวน 389 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามจำนวน 1 ชุด แบ่งเป็น 4 ตอน คือ แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย แบบสอบถามพฤติกรรมการเป็นสมาชิกขององค์การ และแบบสอบถามประสิทธิผลของหอผู้ป่วย ตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาและหาค่าความเที่ยงของแบบสอบถามโดยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาคได้ .96, .91 และ .93 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ประสิทธิผลของหอผู้ป่วย ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วยและพฤติกรรมการเป็นสมาชิกขององค์การของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลทั่วไป อยู่ในระดับสูง ([Mean] = 4.00, S.D. = .40, [Mean] = 3.84, S.D. = .56 และ [Mean] = 4.00, S.D. = .33 ตามลำดับ) 2. ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย และพฤติกรรมการเป็นสมาชิกขององค์การ มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลางกับประสิทธิผลของหอผู้ป่วย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = .57 และ .52 ตามลำดับ) Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23131 ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย = Relationships between transformational leadership of head nurses organizational citizenship behavior and effectiveness of patient units as perceived by staff nurses general hospital : พฤติกรรมการเป็นสมาชิกองค์การ กับประสิทธิผลของหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลทั่วไป [printed text] / ปราณี มีหาญพงษ์, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547 . - ฎ, 126 แผ่น : ตาราง ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-175-935-5 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย. ม. [การบริหารการพยาบาล]]- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2547
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารองค์การ
[LCSH]การพัฒนาตนเอง
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย
[LCSH]ภาวะผู้นำKeywords: การบริหารองค์การ.
ภาวะผู้นำ.
พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย.Class number: WY18 ป572 2547 Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย พฤติกรรมการเป็นสมาชิกขององค์การ กับประสิทธิผลของหอผู้ป่วยตามการรับรู้ของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลทั่วไป กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลวิชาชีพระดับปฏิบัติการที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลทั่วไปจำนวน 389 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามจำนวน 1 ชุด แบ่งเป็น 4 ตอน คือ แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย แบบสอบถามพฤติกรรมการเป็นสมาชิกขององค์การ และแบบสอบถามประสิทธิผลของหอผู้ป่วย ตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาและหาค่าความเที่ยงของแบบสอบถามโดยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาคได้ .96, .91 และ .93 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ประสิทธิผลของหอผู้ป่วย ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วยและพฤติกรรมการเป็นสมาชิกขององค์การของพยาบาลประจำการ โรงพยาบาลทั่วไป อยู่ในระดับสูง ([Mean] = 4.00, S.D. = .40, [Mean] = 3.84, S.D. = .56 และ [Mean] = 4.00, S.D. = .33 ตามลำดับ) 2. ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย และพฤติกรรมการเป็นสมาชิกขององค์การ มีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับปานกลางกับประสิทธิผลของหอผู้ป่วย อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = .57 และ .52 ตามลำดับ) Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23131 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354470 WY18 ป572 2547 Thesis Main Library Thesis Corner Available