From this page you can:
Home |
Search results
6 result(s) search for keyword(s) 'หนัีงสืออนุสรณ์พระราชทานเพลิงศพ. การปฎิบัติธรรม. จริยธรรม. ธรรมะกับชีวิตประจำวัน.'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
ธรรมนูญชีวิต : พุทธจริยธรรมเพื่อชีวิตที่ดีงาม / พระธรรมปิฎก, (ประยุทธ์ ปยุตฺโต) / บริษัทพิมพ์สวย จำกัด - 2552
Title : ธรรมนูญชีวิต : พุทธจริยธรรมเพื่อชีวิตที่ดีงาม Original title : A constitution for living : Buddhist principles for a fruitful and harmonious life Material Type: printed text Authors: พระธรรมปิฎก, (ประยุทธ์ ปยุตฺโต) (2481), Author Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 90 (ฉบับปรับปรุง-เพิ่มเติมใหม่) Publisher: บริษัทพิมพ์สวย จำกัด Publication Date: 2552 Pagination: 86 หน้า. Size: 21 ซม. ISBN (or other code): 978-974-770-105-7 Price: บริจาค. General note: หนังสือเล่มนี้จัดพิมพ์ เพื่อเป็นธรรมทานและเพื่อเป็นที่ระลึกและแจกมอบตอบแทนน้ำใจของท่านผู้มาร่วมงานพร้อมทั้งเป็นการมอบให้ซึ่งแสงสว่างแห่งปัญญาและทรัพย์อันล้ำค่าคือ ธรรม ที่จะนำมาซึ่งประโยชน์สุขที่แท้และยั่งยืนแก่ชีวิตและสังคม
การบำเพ็ญธรรมทานอุทิศกุศลในวาระสำคัญนี้ เป็นการแสดงออกซึ่งน้ำใจที่ประกอบด้วยกตัญญูกตเวทิตาธรรมต่อท่านผู้ล่วงลับและความปราถนาประโยชน์สุขที่เป็นแก่นสารแก่ประชาชนทั่วไป
ขออำนาจแห่งธรรมทานกุศลจริยา ที่คณะเจ้าภาพได้บำเพ็ญครั้งนี้ จงอำนวยสุขสมบัติแก่คุณแม่จำปา ยินดีมาก ในสัมปรายภพสมตามนโนปณิธานของคณะเจ้าภาพ ตามควรแก่คติวิสัยทุกประการLanguages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การปฏิบัติธรรม
[LCSH]จริยธรรม
[LCSH]ธรรมะ
[LCSH]ธรรมะ -- คำสอน
[LCSH]ธรรมะกับชีวิตประจำวันKeywords: หนัีงสืออนุสรณ์พระราชทานเพลิงศพ.
การปฎิบัติธรรม.
จริยธรรม.
ธรรมะกับชีวิตประจำวัน.Class number: ฺBQ4570.L5 พ335 255 2 Curricular : BALA/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23319 ธรรมนูญชีวิต : พุทธจริยธรรมเพื่อชีวิตที่ดีงาม = A constitution for living : Buddhist principles for a fruitful and harmonious life [printed text] / พระธรรมปิฎก, (ประยุทธ์ ปยุตฺโต) (2481), Author . - พิมพ์ครั้งที่ 90 (ฉบับปรับปรุง-เพิ่มเติมใหม่) . - กรุงเทพ ฯ : บริษัทพิมพ์สวย จำกัด, 2552 . - 86 หน้า. ; 21 ซม.
ISSN : 978-974-770-105-7 : บริจาค.
หนังสือเล่มนี้จัดพิมพ์ เพื่อเป็นธรรมทานและเพื่อเป็นที่ระลึกและแจกมอบตอบแทนน้ำใจของท่านผู้มาร่วมงานพร้อมทั้งเป็นการมอบให้ซึ่งแสงสว่างแห่งปัญญาและทรัพย์อันล้ำค่าคือ ธรรม ที่จะนำมาซึ่งประโยชน์สุขที่แท้และยั่งยืนแก่ชีวิตและสังคม
การบำเพ็ญธรรมทานอุทิศกุศลในวาระสำคัญนี้ เป็นการแสดงออกซึ่งน้ำใจที่ประกอบด้วยกตัญญูกตเวทิตาธรรมต่อท่านผู้ล่วงลับและความปราถนาประโยชน์สุขที่เป็นแก่นสารแก่ประชาชนทั่วไป
ขออำนาจแห่งธรรมทานกุศลจริยา ที่คณะเจ้าภาพได้บำเพ็ญครั้งนี้ จงอำนวยสุขสมบัติแก่คุณแม่จำปา ยินดีมาก ในสัมปรายภพสมตามนโนปณิธานของคณะเจ้าภาพ ตามควรแก่คติวิสัยทุกประการ
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การปฏิบัติธรรม
[LCSH]จริยธรรม
[LCSH]ธรรมะ
[LCSH]ธรรมะ -- คำสอน
[LCSH]ธรรมะกับชีวิตประจำวันKeywords: หนัีงสืออนุสรณ์พระราชทานเพลิงศพ.
การปฎิบัติธรรม.
จริยธรรม.
ธรรมะกับชีวิตประจำวัน.Class number: ฺBQ4570.L5 พ335 255 2 Curricular : BALA/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23319 Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000357093 BQ4570.L5 พ335 2552 Book Main Library Library Counter Not for loan SIU THE-T. การตัดสินใจเชิงจริยธรรมวิชาชีพสื่อมวลชนในกิจการโทรทัศน์ระบบดิจิทัลภาคพื้นดิน / เฉิมชัย ก๊กเกียรติกุล / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2018
Collection Title: SIU THE-T Title : การตัดสินใจเชิงจริยธรรมวิชาชีพสื่อมวลชนในกิจการโทรทัศน์ระบบดิจิทัลภาคพื้นดิน Original title : Ethical Decision Making of Media Profession in Digital Terrestrial Television Sector Material Type: printed text Authors: เฉิมชัย ก๊กเกียรติกุล, Author ; พิภพ วชังเงิน, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2018 Pagination: x, 301 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-10
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การตัดสินใจ
[LCSH]นักสื่อสารมวลชน -- แง่ศีลธรรมจรรยาKeywords: การตัดสินใจ,
จริยธรรม,
วิชาชีพสื่อมวลชนAbstract: การวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์คือ เพื่อศึกษาการตัดสินใจเชิงจริยธรรมวิชาชีพสื่อมวลชน และเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการตัดสินใจเชิงจริยธรรมวิชาชีพสื่อมวลชน ตลอดทั้งแนวทางส่งเสริมจริยธรรมวิชาชีพสื่อมวลชนในกิจการโทรทัศน์ระบบดิจิทัลภาคพื้นดิน วิจัยนี้เป็นการวิจัยแบบผสมผสานระหว่างเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ สำหรับงานวิจัยเชิงคุณภาพเก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึกสื่อมวลชนที่มีประสบการณ์ และผู้ทรงคุณวุฒิที่เกี่ยวข้อง และใช้แบบสอบถามกับสื่อมวลชนในกิจการโทรทัศน์ระบบดิจิทัลภาคพื้นดินสำหรับการวิจัยเชิงปริมาณ ซึ่งเริ่มต้นด้วยการสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลสำคัญจำนวน 15 คน เพื่อนำผลไปวิเคราะห์เพื่อพัฒนาแบบสอบถามเชิงปริมาณ โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลจากสื่อมวลชนกลุ่มตัวอย่างจำนวน 360 คน แล้วดำเนินการวิเคราะห์ประมวลผลข้อมูลทางสถิติ ผลการวิจัยพบความสัมพันธ์ระหว่างการตัดสินใจเชิงจริยธรรมของวิชาชีพสื่อมวลชนกับปัญหาจริยธรรมวิชาชีพสื่อมวลชนในระดับค่อนข้างน้อย โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เท่ากับ .393 โดยมีความคลาดเคลื่อนมาตรฐานในการพยากรณ์เท่ากับ ± 16.16 เมื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างการตัดสินใจเชิงจริยธรรมของวิชาชีพสื่อมวลชนกับแนวทางส่งเสริมจริยธรรมวิชาชีพสื่อมวลชน พบว่าทุกด้านมีความสัมพันธ์กันในทางบวกอย่างมีนัยทางสถิติ โดยพบว่าองค์กรวิชาชีพมีความสัมพันธ์กับแนวทางส่งเสริมจริยธรรมวิชาชีพสื่อมวลชนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติและเป็นไปในทิศทางเดียวกัน โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เท่ากับ .531 ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .01 โดยมีความคลาดเคลื่อนมาตรฐานในการพยากรณ์เท่ากับ ±.38 Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27883 SIU THE-T. การตัดสินใจเชิงจริยธรรมวิชาชีพสื่อมวลชนในกิจการโทรทัศน์ระบบดิจิทัลภาคพื้นดิน = Ethical Decision Making of Media Profession in Digital Terrestrial Television Sector [printed text] / เฉิมชัย ก๊กเกียรติกุล, Author ; พิภพ วชังเงิน, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018 . - x, 301 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-10
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การตัดสินใจ
[LCSH]นักสื่อสารมวลชน -- แง่ศีลธรรมจรรยาKeywords: การตัดสินใจ,
จริยธรรม,
วิชาชีพสื่อมวลชนAbstract: การวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์คือ เพื่อศึกษาการตัดสินใจเชิงจริยธรรมวิชาชีพสื่อมวลชน และเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการตัดสินใจเชิงจริยธรรมวิชาชีพสื่อมวลชน ตลอดทั้งแนวทางส่งเสริมจริยธรรมวิชาชีพสื่อมวลชนในกิจการโทรทัศน์ระบบดิจิทัลภาคพื้นดิน วิจัยนี้เป็นการวิจัยแบบผสมผสานระหว่างเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ สำหรับงานวิจัยเชิงคุณภาพเก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึกสื่อมวลชนที่มีประสบการณ์ และผู้ทรงคุณวุฒิที่เกี่ยวข้อง และใช้แบบสอบถามกับสื่อมวลชนในกิจการโทรทัศน์ระบบดิจิทัลภาคพื้นดินสำหรับการวิจัยเชิงปริมาณ ซึ่งเริ่มต้นด้วยการสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลสำคัญจำนวน 15 คน เพื่อนำผลไปวิเคราะห์เพื่อพัฒนาแบบสอบถามเชิงปริมาณ โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลจากสื่อมวลชนกลุ่มตัวอย่างจำนวน 360 คน แล้วดำเนินการวิเคราะห์ประมวลผลข้อมูลทางสถิติ ผลการวิจัยพบความสัมพันธ์ระหว่างการตัดสินใจเชิงจริยธรรมของวิชาชีพสื่อมวลชนกับปัญหาจริยธรรมวิชาชีพสื่อมวลชนในระดับค่อนข้างน้อย โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เท่ากับ .393 โดยมีความคลาดเคลื่อนมาตรฐานในการพยากรณ์เท่ากับ ± 16.16 เมื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างการตัดสินใจเชิงจริยธรรมของวิชาชีพสื่อมวลชนกับแนวทางส่งเสริมจริยธรรมวิชาชีพสื่อมวลชน พบว่าทุกด้านมีความสัมพันธ์กันในทางบวกอย่างมีนัยทางสถิติ โดยพบว่าองค์กรวิชาชีพมีความสัมพันธ์กับแนวทางส่งเสริมจริยธรรมวิชาชีพสื่อมวลชนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติและเป็นไปในทิศทางเดียวกัน โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เท่ากับ .531 ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .01 โดยมีความคลาดเคลื่อนมาตรฐานในการพยากรณ์เท่ากับ ±.38 Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27883 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000598845 SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-10 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000598811 SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-10 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available การศึกษาเหตุผลเชิงจริยธรรมของมารดาที่มีแนวโน้มทอดทิ้งบุตร / ปริญดา ตี่ด้วง / บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล - 2543
Title : การศึกษาเหตุผลเชิงจริยธรรมของมารดาที่มีแนวโน้มทอดทิ้งบุตร Original title : A study of moral reasons of mothers who tend to abandon their children Material Type: printed text Authors: ปริญดา ตี่ด้วง, Author Publisher: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล Publication Date: 2543 Pagination: ก-ฌ, 116 แผ่น Layout: ตารางประกอบ, แผนภูมิ Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-663-693-6 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ (อ.ม. (จริยศาสตร์ศึกษา))-- มหาวิทยาลัยมหิดล, 2543 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]จริยธรรม
[LCSH]มารดาและทารก
[LCSH]เด็กที่ถูกทอดทิ้งKeywords: จริยธรรม.
มารดา.
เด็กที่ถูกทอดทิ้ง.Class number: HV873 ป573 2543 Abstract: การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ ทราบเ้หตุผลเชิงจริยธรรมของมารดาที่มีแนวโน้มทอดทิ้งบุตร ศึกษาจากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นมารดาตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ที่สถานสงเคราะห์บ้านพักฉุกเฉิน แขวงทุ่งสีกัน เขตดอนเมือง จำนวน 18 คน รวบรวมข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกผลการศึกษาพบว่า มารดาที่มีแนวโน้มทอดทิ้งบุตรให้เหตุผลไว้ 5 ประการ คือ 1. เพราะสงสารและเป็นห่วงอนาคตของบุตร 2. เพราะความไม่ปลอดภัยของบุตร 3.เพราะบุตรเป็นภาระเกินเลย 4.เพราะอับอายญาติพี่น้องในครอบครัวและคนในสังคม 5. เพราะไม่รู้สึกผูกผันกับบุตร Curricular : BALA/BNS/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23287 การศึกษาเหตุผลเชิงจริยธรรมของมารดาที่มีแนวโน้มทอดทิ้งบุตร = A study of moral reasons of mothers who tend to abandon their children [printed text] / ปริญดา ตี่ด้วง, Author . - กรุงเทพ ฯ : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล, 2543 . - ก-ฌ, 116 แผ่น : ตารางประกอบ, แผนภูมิ ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-663-693-6 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์ (อ.ม. (จริยศาสตร์ศึกษา))-- มหาวิทยาลัยมหิดล, 2543
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]จริยธรรม
[LCSH]มารดาและทารก
[LCSH]เด็กที่ถูกทอดทิ้งKeywords: จริยธรรม.
มารดา.
เด็กที่ถูกทอดทิ้ง.Class number: HV873 ป573 2543 Abstract: การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ ทราบเ้หตุผลเชิงจริยธรรมของมารดาที่มีแนวโน้มทอดทิ้งบุตร ศึกษาจากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นมารดาตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ที่สถานสงเคราะห์บ้านพักฉุกเฉิน แขวงทุ่งสีกัน เขตดอนเมือง จำนวน 18 คน รวบรวมข้อมูลด้วยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกผลการศึกษาพบว่า มารดาที่มีแนวโน้มทอดทิ้งบุตรให้เหตุผลไว้ 5 ประการ คือ 1. เพราะสงสารและเป็นห่วงอนาคตของบุตร 2. เพราะความไม่ปลอดภัยของบุตร 3.เพราะบุตรเป็นภาระเกินเลย 4.เพราะอับอายญาติพี่น้องในครอบครัวและคนในสังคม 5. เพราะไม่รู้สึกผูกผันกับบุตร Curricular : BALA/BNS/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23287 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000355873 THE HV873 ป573 2543 Thesis Main Library Thesis Corner Available ความสัมพันธ์ระหว่วงปัจจัยส่วนบุคคล บรรยากาศจริยธรรมในงานของกลุ่มการพยาบาลคุณภาพชีวิตการทำงาน กับความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลทั่วไป / ญาณิศา ลิ้มรัตน์ / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2547
Title : ความสัมพันธ์ระหว่วงปัจจัยส่วนบุคคล บรรยากาศจริยธรรมในงานของกลุ่มการพยาบาลคุณภาพชีวิตการทำงาน กับความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลทั่วไป Original title : Relationships between personal factors,ethical work climate in nursing deparments,quality of working life,and organization commitment of professional nurses, general hospitals Material Type: printed text Authors: ญาณิศา ลิ้มรัตน์, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2547 Pagination: ก-ฎ, 121 แผ่น Layout: ตาราง Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-17-6311-5 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม [การบริหารการพยาบาล ]] --จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2547 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]คุณภาพชีวิตการทำงาน
[LCSH]จริยศาสตร์
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพKeywords: จริยธรรม.
พยาบาลวิชาชีพ.
ความผูกพัน.Class number: WY11 ญ324 2547 Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล บรรยากาศจริยธรรมในงานของกลุ่มการพยาบาล คุณภาพชีวิตการทำงานกับความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลทั่วไป กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลวิชาชีพระดับปฏิบัติืการที่ปฎิบัิติงานในโรงพยาบาลทั่วไป จำนวน 384 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วยแบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามบรรยากาศจริยธรรมในงานของกลุ่มการพยาบาล แบบสอบถามคุณภาพชีวิตการทำงาน และแบบสอบถามความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การพยาบาลของพยาบาลวิชาชีพตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา และหาค่าความเที่ยงโดยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาคได้ 093 .88 และ.96 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการแจกแจงความถี่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน
ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
1. ความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การ บรรยากาศจริยธรรมในงานของกลุ่มการพยาบาล และคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลทั้วไป อยู่ในระดับสูง
2. ปัจัจส่วนบุคคลด้านประสบการณ์ในการทำงานมีความสัีมพันธ์ทางบวกกับความยึดมั่นผูกผันต่อองค์การของพยาบาลวิชาชีพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 [r=.22]
3. บรรยากาศจริยธรรมในงานของกลุ่มการพยาบาลมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลวิชาชีพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 [r=.60]
4. คุณภาพชีวิตการทำงานมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลวิชาชีพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 [r=.67]
5. ตัวแปรที่ร่วมกันพยากรณ์ความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลวิชาชีพได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 คือ คุณภาพชีวิตการทำงานและบรรยาการจริยธรรมในงานของกลุ่มการพยาบาลสามารถร่วมกันพยากรณ์ความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลวิชาชีพได้ร้อยละ 50.7 [R2 =.507]Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23179 ความสัมพันธ์ระหว่วงปัจจัยส่วนบุคคล บรรยากาศจริยธรรมในงานของกลุ่มการพยาบาลคุณภาพชีวิตการทำงาน กับความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลทั่วไป = Relationships between personal factors,ethical work climate in nursing deparments,quality of working life,and organization commitment of professional nurses, general hospitals [printed text] / ญาณิศา ลิ้มรัตน์, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547 . - ก-ฎ, 121 แผ่น : ตาราง ; 30 ซม.
ISBN : 978-974-17-6311-5 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม [การบริหารการพยาบาล ]] --จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2547
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]คุณภาพชีวิตการทำงาน
[LCSH]จริยศาสตร์
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพKeywords: จริยธรรม.
พยาบาลวิชาชีพ.
ความผูกพัน.Class number: WY11 ญ324 2547 Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล บรรยากาศจริยธรรมในงานของกลุ่มการพยาบาล คุณภาพชีวิตการทำงานกับความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลทั่วไป กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลวิชาชีพระดับปฏิบัติืการที่ปฎิบัิติงานในโรงพยาบาลทั่วไป จำนวน 384 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วยแบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามบรรยากาศจริยธรรมในงานของกลุ่มการพยาบาล แบบสอบถามคุณภาพชีวิตการทำงาน และแบบสอบถามความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การพยาบาลของพยาบาลวิชาชีพตรวจสอบความตรงตามเนื้อหา และหาค่าความเที่ยงโดยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาคได้ 093 .88 และ.96 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการแจกแจงความถี่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน และวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน
ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
1. ความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การ บรรยากาศจริยธรรมในงานของกลุ่มการพยาบาล และคุณภาพชีวิตการทำงานของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลทั้วไป อยู่ในระดับสูง
2. ปัจัจส่วนบุคคลด้านประสบการณ์ในการทำงานมีความสัีมพันธ์ทางบวกกับความยึดมั่นผูกผันต่อองค์การของพยาบาลวิชาชีพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 [r=.22]
3. บรรยากาศจริยธรรมในงานของกลุ่มการพยาบาลมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลวิชาชีพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 [r=.60]
4. คุณภาพชีวิตการทำงานมีความสัมพันธ์ทางบวกกับความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลวิชาชีพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 [r=.67]
5. ตัวแปรที่ร่วมกันพยากรณ์ความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลวิชาชีพได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 คือ คุณภาพชีวิตการทำงานและบรรยาการจริยธรรมในงานของกลุ่มการพยาบาลสามารถร่วมกันพยากรณ์ความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของพยาบาลวิชาชีพได้ร้อยละ 50.7 [R2 =.507]Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23179 ผลของการเรียนการสอนบูรณาการจริยธรรมต่อความสามารถในการตัดสินใจเชิงจริยธรรม / จินตนา ทองเพชร / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2545
Title : ผลของการเรียนการสอนบูรณาการจริยธรรมต่อความสามารถในการตัดสินใจเชิงจริยธรรม : ในการปฎิบัติการพยาบาลของนักศึกษาพยาบาล Material Type: printed text Authors: จินตนา ทองเพชร, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2545 Pagination: ญ, 102 แผ่น Layout: ตาราง Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-172-264-3 Price: บริจาค General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การพยาบาลศึกษา]] - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2545 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]จริยธรรม -- พยาบาล
[LCSH]บริการการพยาบาลKeywords: จริยธรรม.
นักศึกษาพยาบาล.
การพยาบาล.Class number: WY86 จ235 2545 Abstract: การวิจัยกึ่งทดลองครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบความสามารถในการตัดสินใจเชิงจริยธรรมในการปฏิบัติการพยาบาลของนักศึกษาพยาบาลระหว่างกลุ่มที่ได้รับการเรียนการสอนบูรณาการจริยธรรมกับกลุ่มที่สอนตามปกติ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาพยาบาลหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต ชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยพยาบาลพระจอมเกล้า จังหวัดเพชรบุรี จำนวน 50 คน สุ่มตัวอย่างแบบง่ายและแบ่งกลุ่มด้วยวิธีการจับคู่ได้กลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 25 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วยเครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง เป็นแผนการเรียนการสอนบูรณาการจริยธรรมและเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นแบบสอบอัตนัยประยุกต์ ( Modified Essay Questions : MEQ ) วัดความสามารถในการตัดสินใจเชิงจริยธรรม ตรวจสอบค่าความเที่ยงของแบบสอบด้วยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบราค (Cronbach's Alpha Coefficient) ได้เท่ากับ 0.94 ดัชนีความยากง่ายเท่ากับ 0.47 และค่าอำนาจจำแนก 0.55 วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติที ( t-test ) ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ความสามารถในการตัดสินใจเชิงจริยธรรมในการปฏิบัติการพยาบาลของนักศึกษาพยาบาลหลังการเรียนการสอนบูรณาการจริยธรรมสูงกว่าก่อนการสอน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. ความสามารถในการตัดสินใจเชิงจริยธรรมในการปฏิบัติการพยาบาลของนักศึกษาพยาบาลหลังการทดลองกลุ่มที่ได้รับการเรียนการสอนบูรณาการจริยธรรมสูงกว่ากลุ่มที่ได้รับการสอนตามปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23124 ผลของการเรียนการสอนบูรณาการจริยธรรมต่อความสามารถในการตัดสินใจเชิงจริยธรรม : ในการปฎิบัติการพยาบาลของนักศึกษาพยาบาล [printed text] / จินตนา ทองเพชร, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545 . - ญ, 102 แผ่น : ตาราง ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-172-264-3 : บริจาค
วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การพยาบาลศึกษา]] - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2545
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]จริยธรรม -- พยาบาล
[LCSH]บริการการพยาบาลKeywords: จริยธรรม.
นักศึกษาพยาบาล.
การพยาบาล.Class number: WY86 จ235 2545 Abstract: การวิจัยกึ่งทดลองครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบความสามารถในการตัดสินใจเชิงจริยธรรมในการปฏิบัติการพยาบาลของนักศึกษาพยาบาลระหว่างกลุ่มที่ได้รับการเรียนการสอนบูรณาการจริยธรรมกับกลุ่มที่สอนตามปกติ กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาพยาบาลหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต ชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยพยาบาลพระจอมเกล้า จังหวัดเพชรบุรี จำนวน 50 คน สุ่มตัวอย่างแบบง่ายและแบ่งกลุ่มด้วยวิธีการจับคู่ได้กลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 25 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วยเครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง เป็นแผนการเรียนการสอนบูรณาการจริยธรรมและเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นแบบสอบอัตนัยประยุกต์ ( Modified Essay Questions : MEQ ) วัดความสามารถในการตัดสินใจเชิงจริยธรรม ตรวจสอบค่าความเที่ยงของแบบสอบด้วยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบราค (Cronbach's Alpha Coefficient) ได้เท่ากับ 0.94 ดัชนีความยากง่ายเท่ากับ 0.47 และค่าอำนาจจำแนก 0.55 วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติที ( t-test ) ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ความสามารถในการตัดสินใจเชิงจริยธรรมในการปฏิบัติการพยาบาลของนักศึกษาพยาบาลหลังการเรียนการสอนบูรณาการจริยธรรมสูงกว่าก่อนการสอน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. ความสามารถในการตัดสินใจเชิงจริยธรรมในการปฏิบัติการพยาบาลของนักศึกษาพยาบาลหลังการทดลองกลุ่มที่ได้รับการเรียนการสอนบูรณาการจริยธรรมสูงกว่ากลุ่มที่ได้รับการสอนตามปกติ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23124 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354207 WY86 จ235 2545 Thesis Main Library Thesis Corner Available ผลของโปรแกรมการฝึกทักษะการใช้เหตุผลเชิงจริยธรรมต่อความสามารถในการตัดสินใจเชิงจริยธรรมของพยาบาลวิชาชีพ / ศิริมา ทองดี / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2549
Title : ผลของโปรแกรมการฝึกทักษะการใช้เหตุผลเชิงจริยธรรมต่อความสามารถในการตัดสินใจเชิงจริยธรรมของพยาบาลวิชาชีพ Original title : The effect of moral resoning skill training program on ethical decision making ability of professional nurses Material Type: printed text Authors: ศิริมา ทองดี, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2549 Pagination: ก-ฌ, 146 แผ่น Layout: ตาราง, แผนภูมิ Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2549 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การพยาบาล -- การตัดสินใจ
[LCSH]จริยธรรม -- พยาบาลKeywords: จริยธรรม.
วิชาชีพพยาบาล.Class number: WY85 ศ837 2549 Abstract: การวิจัยกึ่งทดลองแบบสองกลุ่มวัดก่อนและหลังการทดลองครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการตัดสินใจเชิงจริยธรรมของพยาบาลวิชาชีพก่อนและหลังได้รับโปรแกรมฝึกทักษะการใช้เหตุผลเขิงจริยธรรม และเปรียบเทียบความสามามรในการตัดสินใจเชิงจริยธรรมของพยาบาลวิชาชีพระหว่างกลุ่มที่ได้รับโปรแกรมฝึกทักษะการใช้เหตุผลเชิงจริยธรรมกับกลุ่มที่ไม่ได้รับโปรแกรมฝึกทักษะการใช้เหตุผลเชิงจริยธรรม กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลบ้านหมี่จำนวน 40 คน เป็นกลุ่มทดลอง 20 คน กลุ่มควบคุม 20 คน สุ่มอย่างง่ายและจัดเข้ากลุ่มโดยวิธีการจับคู่กลุ่มตัวอย่างให้มีคุณสมบัติใกล้เคียงกันที่สุดในด้านหอผู้ป่วยระยะเวลาการปฏิบัติงาน อายุและคะแนนความสามารถในการตัดสินใจเชิงจริยธรรม เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง เป็นโปรแกรมการฝึกทักษะการใช้เหตุผลเชิงจริยธรรมและแบบบันทึกสถานการณ์ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบอัตนัยประยุกต์ (MEQ)
วัดความสามารถในการตัดสินใจเชิงจริยธรรมของพยาบาลวิชาชีพ ตรวจสอบค่าความเที่ยงด้วยสูตรสัมประสิทธิแอลฟาของครอนบาค (Conbrach’s Alpha coefficient0 ได้เท่ากับ 0.59 ค่าดัชนีความยากง่ายเท่ากับ 0.43 และ ค่าอำนาจจำแนกเท่ากับ 0.42 สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและสถิติทดสอบที ผลการวิจัยพบว่า 1. ความสามารถในการตัดสินใจเชิงจริยธรรมของพยาบาลวิชาชีพภายหลังการได้รับโปรแกรมการฝึกทักษะการใช้เหตุผลเชิงจริยธรรมสูงกว่าก่อนได้รับโปรแกรมการฝึกทักษะการใช้เหตุผลเชิงจริยธรรม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05 2. ความสามารถในการตัดสินใจเชิงจริยธรรมของพยาบาลวิชาชีพกลุ่มที่ได้รับโปรแกรมการฝึกทักษะการใช้เหตุผลเชิงจริยธรรมสูงกว่ากลุ่มที่ไม่ได้รับโปรแกรมการฝึกทักษะการใช้เหตุผลเชิงจริยธรรม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23189 ผลของโปรแกรมการฝึกทักษะการใช้เหตุผลเชิงจริยธรรมต่อความสามารถในการตัดสินใจเชิงจริยธรรมของพยาบาลวิชาชีพ = The effect of moral resoning skill training program on ethical decision making ability of professional nurses [printed text] / ศิริมา ทองดี, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549 . - ก-ฌ, 146 แผ่น : ตาราง, แผนภูมิ ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2549
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การพยาบาล -- การตัดสินใจ
[LCSH]จริยธรรม -- พยาบาลKeywords: จริยธรรม.
วิชาชีพพยาบาล.Class number: WY85 ศ837 2549 Abstract: การวิจัยกึ่งทดลองแบบสองกลุ่มวัดก่อนและหลังการทดลองครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการตัดสินใจเชิงจริยธรรมของพยาบาลวิชาชีพก่อนและหลังได้รับโปรแกรมฝึกทักษะการใช้เหตุผลเขิงจริยธรรม และเปรียบเทียบความสามามรในการตัดสินใจเชิงจริยธรรมของพยาบาลวิชาชีพระหว่างกลุ่มที่ได้รับโปรแกรมฝึกทักษะการใช้เหตุผลเชิงจริยธรรมกับกลุ่มที่ไม่ได้รับโปรแกรมฝึกทักษะการใช้เหตุผลเชิงจริยธรรม กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลบ้านหมี่จำนวน 40 คน เป็นกลุ่มทดลอง 20 คน กลุ่มควบคุม 20 คน สุ่มอย่างง่ายและจัดเข้ากลุ่มโดยวิธีการจับคู่กลุ่มตัวอย่างให้มีคุณสมบัติใกล้เคียงกันที่สุดในด้านหอผู้ป่วยระยะเวลาการปฏิบัติงาน อายุและคะแนนความสามารถในการตัดสินใจเชิงจริยธรรม เครื่องมือที่ใช้ในการทดลอง เป็นโปรแกรมการฝึกทักษะการใช้เหตุผลเชิงจริยธรรมและแบบบันทึกสถานการณ์ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบอัตนัยประยุกต์ (MEQ)
วัดความสามารถในการตัดสินใจเชิงจริยธรรมของพยาบาลวิชาชีพ ตรวจสอบค่าความเที่ยงด้วยสูตรสัมประสิทธิแอลฟาของครอนบาค (Conbrach’s Alpha coefficient0 ได้เท่ากับ 0.59 ค่าดัชนีความยากง่ายเท่ากับ 0.43 และ ค่าอำนาจจำแนกเท่ากับ 0.42 สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและสถิติทดสอบที ผลการวิจัยพบว่า 1. ความสามารถในการตัดสินใจเชิงจริยธรรมของพยาบาลวิชาชีพภายหลังการได้รับโปรแกรมการฝึกทักษะการใช้เหตุผลเชิงจริยธรรมสูงกว่าก่อนได้รับโปรแกรมการฝึกทักษะการใช้เหตุผลเชิงจริยธรรม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05 2. ความสามารถในการตัดสินใจเชิงจริยธรรมของพยาบาลวิชาชีพกลุ่มที่ได้รับโปรแกรมการฝึกทักษะการใช้เหตุผลเชิงจริยธรรมสูงกว่ากลุ่มที่ไม่ได้รับโปรแกรมการฝึกทักษะการใช้เหตุผลเชิงจริยธรรม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23189 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000355030 WY85 ศ837 2549 Thesis Main Library Thesis Corner Available