From this page you can:
Home |
Search results
94 result(s) search for keyword(s) 'วิทยาลัยพยาบาล. การบริหาร. กระทรวงสาธารณสุข. การศึกษาขั้นอุดมศึกษา.'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
อนาคตภาพการบริหารงานของวิทยาลัยพยาบาล สังกัดกกระทรวงสาธารณสุขในช่วงแผนพัฒนาการศึกษาระดับอุมศึกษาฉบับที่ 9 / เสียงพิณ อ่ำโพธิ์ / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2543
Title : อนาคตภาพการบริหารงานของวิทยาลัยพยาบาล สังกัดกกระทรวงสาธารณสุขในช่วงแผนพัฒนาการศึกษาระดับอุมศึกษาฉบับที่ 9 Original title : Scenario of administration in nursing colleges under the jurisdiction of the Ministry of Public Health during the Ninth National Plan for Higher Education Development Material Type: printed text Authors: เสียงพิณ อ่ำโพธิ์, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2543 Pagination: [10], 131 แผ่น Layout: ตาราง Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-131-030-7 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์[พย.ม.[การพยาบาลศึกษา]] --จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2543 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]Nursing Colleges -- The Ministry of Public Health
[LCSH]การศึกษาขั้นอุดมศึกษา
[LCSH]วิทยาลัยพยาบาล -- การบริหาร
[LCSH]แผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษา ฉบับที่ 9Keywords: วิทยาลัยพยาบาล.
การบริหาร.
กระทรวงสาธารณสุข.
การศึกษาขั้นอุดมศึกษา.Class number: WY19 ส836 2543 Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอนาคตภาพการบริหารงานของวิทยาลัยพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ในช่วงแผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษาฉบับที่ 9 โดยใช้เทคนิคเดลฟาย ประชากรที่ศึกษาเป็นผู้เชี่ยวชาญการบริหารการศึกษาพยาบาล จากกระทรวงสาธารณสุข รวม 19 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยนี้เป็นแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น แบบสอบถามรอบแรกมีลักษณะเป็นแบบสอบถามปลายเปิดและเลือกตอบ รอบที่ 2 และรอบที่ 3 เป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า วิเคราะห์ข้อมูลโดยการคำนวณหาค่ามัธยฐาน และพิสัยระหว่างควอไทล์ ผลการวิจัยพบว่าการบริหารงานการพยาบาลศึกษาจะมีการบริหารในลักษณะคณะกรรมการ บุคลากรทุกคนจะมีส่วนร่วมในการบริหารหลักสูตร มุ่งให้ผู้เรียนมีโลกทัศน์และวิสัยทัศน์ที่กว้างไกล ปรับตัวและดำรงชีวิตในสังคมท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น รู้จักคิดวิเคราะห์แสวงหาความรู้อย่างมีประสิทธิภาพ มีคุณธรรมและจริยธรรม มุ่งเน้นให้เกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต เนื้อหาจะมีการบูรณาการ มีระบบประกันคุณภาพการศึกษาท้องถิ่นจะมีส่วนร่วมในการกำหนดแนวทางหลักสูตรให้สอดคล้องกับความต้องการของท้องถิ่น บุคลากรจะได้รับการส่งเสริมให้ได้รับการศึกษาในระดับสูง มีการประเมินคุณภาพบุคลากรอย่างเป็นระบบ การบริหารงานอยู่ในลักษณะเครือข่ายความร่วมมือระหว่างสถาบันทั้งในและนอกประเทศ การจัดกิจกรรมมุ่งให้นักศึกษามีสมรรถนะที่พึงประสงค์ทั้งด้านบุคลิกภาพ ด้านวิชาการ ด้านคุณธรรมและจริยธรรม บูรณาการกิจกรรมให้เข้ากับวัตถุประสงค์ของหลักสูตรเน้นให้นักศึกษามีกิจกรรมร่วมกับชุมชนมากขึ้น การบริหารงบประมาณจะมีลักษณะพึ่งตนเอง มีอิสระในการบริหารภายใต้ระบบการตรวจสอบจากสังคม อาคารสถานที่จะได้รับการใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด การบริหารงานการศึกษาจะให้ความสำคัญกับชุมชน มีการวางแผนการจัดกิจกรรมเพื่อสนองตอบต่อความต้องการของชุมชนเป็นสำคัญ Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23186 อนาคตภาพการบริหารงานของวิทยาลัยพยาบาล สังกัดกกระทรวงสาธารณสุขในช่วงแผนพัฒนาการศึกษาระดับอุมศึกษาฉบับที่ 9 = Scenario of administration in nursing colleges under the jurisdiction of the Ministry of Public Health during the Ninth National Plan for Higher Education Development [printed text] / เสียงพิณ อ่ำโพธิ์, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543 . - [10], 131 แผ่น : ตาราง ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-131-030-7 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์[พย.ม.[การพยาบาลศึกษา]] --จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2543
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]Nursing Colleges -- The Ministry of Public Health
[LCSH]การศึกษาขั้นอุดมศึกษา
[LCSH]วิทยาลัยพยาบาล -- การบริหาร
[LCSH]แผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษา ฉบับที่ 9Keywords: วิทยาลัยพยาบาล.
การบริหาร.
กระทรวงสาธารณสุข.
การศึกษาขั้นอุดมศึกษา.Class number: WY19 ส836 2543 Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอนาคตภาพการบริหารงานของวิทยาลัยพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข ในช่วงแผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษาฉบับที่ 9 โดยใช้เทคนิคเดลฟาย ประชากรที่ศึกษาเป็นผู้เชี่ยวชาญการบริหารการศึกษาพยาบาล จากกระทรวงสาธารณสุข รวม 19 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยนี้เป็นแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น แบบสอบถามรอบแรกมีลักษณะเป็นแบบสอบถามปลายเปิดและเลือกตอบ รอบที่ 2 และรอบที่ 3 เป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า วิเคราะห์ข้อมูลโดยการคำนวณหาค่ามัธยฐาน และพิสัยระหว่างควอไทล์ ผลการวิจัยพบว่าการบริหารงานการพยาบาลศึกษาจะมีการบริหารในลักษณะคณะกรรมการ บุคลากรทุกคนจะมีส่วนร่วมในการบริหารหลักสูตร มุ่งให้ผู้เรียนมีโลกทัศน์และวิสัยทัศน์ที่กว้างไกล ปรับตัวและดำรงชีวิตในสังคมท่ามกลางการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น รู้จักคิดวิเคราะห์แสวงหาความรู้อย่างมีประสิทธิภาพ มีคุณธรรมและจริยธรรม มุ่งเน้นให้เกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต เนื้อหาจะมีการบูรณาการ มีระบบประกันคุณภาพการศึกษาท้องถิ่นจะมีส่วนร่วมในการกำหนดแนวทางหลักสูตรให้สอดคล้องกับความต้องการของท้องถิ่น บุคลากรจะได้รับการส่งเสริมให้ได้รับการศึกษาในระดับสูง มีการประเมินคุณภาพบุคลากรอย่างเป็นระบบ การบริหารงานอยู่ในลักษณะเครือข่ายความร่วมมือระหว่างสถาบันทั้งในและนอกประเทศ การจัดกิจกรรมมุ่งให้นักศึกษามีสมรรถนะที่พึงประสงค์ทั้งด้านบุคลิกภาพ ด้านวิชาการ ด้านคุณธรรมและจริยธรรม บูรณาการกิจกรรมให้เข้ากับวัตถุประสงค์ของหลักสูตรเน้นให้นักศึกษามีกิจกรรมร่วมกับชุมชนมากขึ้น การบริหารงบประมาณจะมีลักษณะพึ่งตนเอง มีอิสระในการบริหารภายใต้ระบบการตรวจสอบจากสังคม อาคารสถานที่จะได้รับการใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด การบริหารงานการศึกษาจะให้ความสำคัญกับชุมชน มีการวางแผนการจัดกิจกรรมเพื่อสนองตอบต่อความต้องการของชุมชนเป็นสำคัญ Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23186 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000383750 WY19 ส836 2543 Thesis Main Library Thesis Corner Available การบริหารเวลา / ฮินเดิล ทิม / กรุงเทพฯ : นานมีบุ๊คส์พับสิเคชั่นส์ - 2546
Title : การบริหารเวลา Original title : Manage your time Material Type: printed text Authors: ฮินเดิล ทิม, Author ; Hindle Tim, Associated Name ; สมโภช อนันต์คูศรี, Translator Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 1. Publisher: กรุงเทพฯ : นานมีบุ๊คส์พับสิเคชั่นส์ Publication Date: 2546 Series: Essential managers Pagination: 74 หน้า Layout: ภาพประกอบ ISBN (or other code): 978-974-965609--9 Price: 95.00 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารเวลา Keywords: การบริหารเวลา Class number: HD69.T54 Abstract: Curricular : BBA/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=21411 การบริหารเวลา = Manage your time [printed text] / ฮินเดิล ทิม, Author ; Hindle Tim, Associated Name ; สมโภช อนันต์คูศรี, Translator . - พิมพ์ครั้งที่ 1. . - นานมีบุ๊คส์พับสิเคชั่นส์, 2546 . - 74 หน้า : ภาพประกอบ. - (Essential managers) .
ISBN : 978-974-965609--9 : 95.00
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารเวลา Keywords: การบริหารเวลา Class number: HD69.T54 Abstract: Curricular : BBA/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=21411 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000335156 HD69.T54 ฮ437 2546 Book Main Library General Shelf Available Edutainment Collection. 10 อาชีพเทรนด์ของโลก / มูลนิธิไทยคม / กรุงเทพฯ : มูลนิธิไทยคม - 2011
Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000327237 DOCF12031 ส728 2554 v.1 c.1 Book Graduate Library General Shelf Available 32002000327294 DOCF12031 ส728 2554 v.2 c.1 Documentary Film Graduate Library General Shelf Available 32002000327252 DOCF12031 ส728 2554 v.3 c.1 Documentary Film Graduate Library General Shelf Available 32002000327260 DOCF12031 ส728 2554 v.1 c.2 Documentary Film Main Library Library Counter Not for loan 32002000327302 DOCF12031 ส728 2554 v.2 c.2 Documentary Film Main Library Library Counter Not for loan 32002000332567 DOCF12031 ส728 2554 v.3 c.2 Documentary Film Main Library Library Counter Not for loan SET Collection. การบริหารการเงินส่วนบุคคล / รัชนีกร วงศ์จันทร์ / กรุงเทพฯ : ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย - 2555
Collection Title: SET Collection Title : การบริหารการเงินส่วนบุคคล Material Type: printed text Authors: รัชนีกร วงศ์จันทร์, Author Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 2. Publisher: กรุงเทพฯ : ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย Publication Date: 2555 Pagination: 612 หน้า Layout: ภาพประกอบ. Size: 21 ซม. ISBN (or other code): 978-6-16-722718-4 Price: บริจาค. (450.00) Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารการเงิน
[LCSH]การประหยัดและการออม
[LCSH]การเงินส่วนบุคคลKeywords: การเงินส่วนบุคคล.
การประหยัดและการออม.
การบริหารการเงิน.Class number: HG179.5 .T5 ร334 2555 Contents note: ส่วนที่ 1: แนวคิดเบื้องต้นเกี่ยวกับการเงินส่วนบุคคล.-- ส่วนที่ 2: การจัดการกับเงิน.-- ส่วนที่ 3: การจัดการความเสี่ยงส่วนบุคคล.-- ส่วนที่ 4: แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการลงทุน.-- ส่วนที่ 5: การวางแผนชีวิตเพื่อวัยเกษียณ.-- Curricular : BALA/BBA/BNS/BSCS/BSMT/GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23856 SET Collection. การบริหารการเงินส่วนบุคคล [printed text] / รัชนีกร วงศ์จันทร์, Author . - พิมพ์ครั้งที่ 2. . - กรุงเทพฯ : ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย, 2555 . - 612 หน้า : ภาพประกอบ. ; 21 ซม.
ISBN : 978-6-16-722718-4 : บริจาค. (450.00)
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารการเงิน
[LCSH]การประหยัดและการออม
[LCSH]การเงินส่วนบุคคลKeywords: การเงินส่วนบุคคล.
การประหยัดและการออม.
การบริหารการเงิน.Class number: HG179.5 .T5 ร334 2555 Contents note: ส่วนที่ 1: แนวคิดเบื้องต้นเกี่ยวกับการเงินส่วนบุคคล.-- ส่วนที่ 2: การจัดการกับเงิน.-- ส่วนที่ 3: การจัดการความเสี่ยงส่วนบุคคล.-- ส่วนที่ 4: แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการลงทุน.-- ส่วนที่ 5: การวางแผนชีวิตเพื่อวัยเกษียณ.-- Curricular : BALA/BBA/BNS/BSCS/BSMT/GE/MBA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23856 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000397495 HG179.5 .T5 ร334 2555 Book Main Library SET Corner Available SIU THE-T. การนำนโยบายด้านความมั่นคงของกองบัญชาการตำรวจสันติบาล สำนักงานตำรวจแห่งชาติไปปฏิบัติ / ดารัณ จุนสมุทร / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2021
Collection Title: SIU THE-T Title : การนำนโยบายด้านความมั่นคงของกองบัญชาการตำรวจสันติบาล สำนักงานตำรวจแห่งชาติไปปฏิบัติ Original title : Implementation of Security Policies of Special Branch Bureau, Royal Thai Police Material Type: printed text Authors: ดารัณ จุนสมุทร, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2021 Pagination: ix, 183 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2021-02
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2021Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารงาน
[LCSH]ข้าราชการตำรวจ -- -- การปฏิบัติงาน
[LCSH]ความมั่นคง -- ไทยKeywords: ความมั่นคง, การนำนโยบายไปปฏิบัติ, การบริหารงาน, ตำรวจสันติบาล Abstract: งานวิจัยนี้มีจุดประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสภาพการนำนโยบายด้านความมั่นคง ของกองบัญชาการตำรวจสันติบาล สำนักงานตำรวจแห่งชาติไปปฏิบัติ 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลสำเร็จต่อการนำนโยบายด้านความมั่นคง ของกองบัญชาการตำรวจสันติบาล สำนักงานตำรวจแห่งชาติไปปฏิบัติ 3) เพื่อเสนอแนวทางในการนำนโยบายด้านความมั่นคง ของกองบัญชาการตำรวจสันติบาล สำนักงานตำรวจแห่งชาติไปปฏิบัติ ผู้วิจัยใช้การวิจัยแบบผสานวิธี (Mixed Methods Research) คือ (1) การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยการสัมภาษณ์เชิงลึกของผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จากผู้บริหารกองบัญชาการตำรวจสันติบาล จำนวน 11 คน โดยใช้การวิเคราะห์แบบการจำแนกชนิดของข้อมูล (2) การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) การใช้ข้อมูลแบบสอบถาม กลุ่มตัวอย่างจากกองบัญชาการตำรวจสันติบาล จำนวน 400 คน โดยใช้สมการถดถอยเชิงพหุคูณ
ผลการวิจัยเชิงคุณภาพ พบว่า สภาพการนำนโยบายไปปฏิบัติ ด้านการบริหารงานมี 3 ด้าน บรรลุผลสำเร็จตามเป้าหมายคือ ประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ ประสิทธิภาพตามแผนปฏิบัติราชการและการพัฒนาองค์กร ส่วนคุณภาพการให้บริการไม่บรรลุผลสำเร็จ และแนวทางในการนำนโยบายไปปฏิบัติ ผู้นำยุคใหม่ต้องปรับตัวให้เท่าทันต่อสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป อาศัยความร่วมมือของผู้ตามที่สอดคล้องกับแรงจูงใจ ด้วยการเปิดโอกาสการมีส่วนร่วมในการคิด วางแผนและการตัดสินใจ ส่วนการวิจัยเชิงปริมาณ ปัจจัยที่ส่งผลสำเร็จต่อการนำนโยบายไปปฏิบัติ พบว่า ปัจจัยเชิงนโยบาย ด้านภาวะผู้นำ มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก (x̄ = 4.46, S.D. = 0.72) และการบริหารงานที่ส่งผลสำเร็จต่อการนำนโยบายไปปฏิบัติ ด้านการพัฒนาองค์กร มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก (x̄ = 4.24, S.D. = 0.73)
ข้อเสนอแนะ ควรมีงบประมาณที่เพียงพอด้านคุณภาพการให้บริการ ที่สามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและโปร่งใสCurricular : GE/MPA/DPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28403 SIU THE-T. การนำนโยบายด้านความมั่นคงของกองบัญชาการตำรวจสันติบาล สำนักงานตำรวจแห่งชาติไปปฏิบัติ = Implementation of Security Policies of Special Branch Bureau, Royal Thai Police [printed text] / ดารัณ จุนสมุทร, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2021 . - ix, 183 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2021-02
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2021
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารงาน
[LCSH]ข้าราชการตำรวจ -- -- การปฏิบัติงาน
[LCSH]ความมั่นคง -- ไทยKeywords: ความมั่นคง, การนำนโยบายไปปฏิบัติ, การบริหารงาน, ตำรวจสันติบาล Abstract: งานวิจัยนี้มีจุดประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสภาพการนำนโยบายด้านความมั่นคง ของกองบัญชาการตำรวจสันติบาล สำนักงานตำรวจแห่งชาติไปปฏิบัติ 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลสำเร็จต่อการนำนโยบายด้านความมั่นคง ของกองบัญชาการตำรวจสันติบาล สำนักงานตำรวจแห่งชาติไปปฏิบัติ 3) เพื่อเสนอแนวทางในการนำนโยบายด้านความมั่นคง ของกองบัญชาการตำรวจสันติบาล สำนักงานตำรวจแห่งชาติไปปฏิบัติ ผู้วิจัยใช้การวิจัยแบบผสานวิธี (Mixed Methods Research) คือ (1) การวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยการสัมภาษณ์เชิงลึกของผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จากผู้บริหารกองบัญชาการตำรวจสันติบาล จำนวน 11 คน โดยใช้การวิเคราะห์แบบการจำแนกชนิดของข้อมูล (2) การวิจัยเชิงปริมาณ (Quantitative Research) การใช้ข้อมูลแบบสอบถาม กลุ่มตัวอย่างจากกองบัญชาการตำรวจสันติบาล จำนวน 400 คน โดยใช้สมการถดถอยเชิงพหุคูณ
ผลการวิจัยเชิงคุณภาพ พบว่า สภาพการนำนโยบายไปปฏิบัติ ด้านการบริหารงานมี 3 ด้าน บรรลุผลสำเร็จตามเป้าหมายคือ ประสิทธิผลตามแผนปฏิบัติราชการ ประสิทธิภาพตามแผนปฏิบัติราชการและการพัฒนาองค์กร ส่วนคุณภาพการให้บริการไม่บรรลุผลสำเร็จ และแนวทางในการนำนโยบายไปปฏิบัติ ผู้นำยุคใหม่ต้องปรับตัวให้เท่าทันต่อสถานการณ์ที่เปลี่ยนไป อาศัยความร่วมมือของผู้ตามที่สอดคล้องกับแรงจูงใจ ด้วยการเปิดโอกาสการมีส่วนร่วมในการคิด วางแผนและการตัดสินใจ ส่วนการวิจัยเชิงปริมาณ ปัจจัยที่ส่งผลสำเร็จต่อการนำนโยบายไปปฏิบัติ พบว่า ปัจจัยเชิงนโยบาย ด้านภาวะผู้นำ มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก (x̄ = 4.46, S.D. = 0.72) และการบริหารงานที่ส่งผลสำเร็จต่อการนำนโยบายไปปฏิบัติ ด้านการพัฒนาองค์กร มีความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก (x̄ = 4.24, S.D. = 0.73)
ข้อเสนอแนะ ควรมีงบประมาณที่เพียงพอด้านคุณภาพการให้บริการ ที่สามารถทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพและโปร่งใสCurricular : GE/MPA/DPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28403 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607834 SIU THE-T: IPAG-DPA-2021-02 c.1 Thesis Main Library Thesis Corner Available 32002000607886 SIU THE-T: IPAG-DPA-2021-02 c.2 Thesis Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. การบริหารการปฏิบัติงานของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 6 / ระวี หนูสี / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2019
Collection Title: SIU THE-T Title : การบริหารการปฏิบัติงานของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 6 Original title : Administration of Immigration Police Operations Immigration Division 6 Material Type: printed text Authors: ระวี หนูสี, Author ; พิภพ วชังเงิน, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2019 Pagination: x, 182 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-14
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารงานบุคคล
[LCSH]ตำรวจตรวจคนเข้าเมืองKeywords: การบริหารการปฏิบัติงาน,
ตำรวจตรวจคนเข้าเมือง,
กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 6Abstract: การวิจัยเรื่องการบริหารการปฏิบัติงานของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง6 มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการบริหารการปฏิบัติงานของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 6 2) เพื่อศึกษาพฤติกรรมการให้บริการของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 6 3) เพื่อเปรียบเทียบปัจจัยที่มีผลต่อการบริหารการปฏิบัติงานของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 6 จำแนกตามข้อมูลส่วนบุคคล 4) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการให้บริการ ของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กับปัจจัยที่มีผลต่อการบริหารการปฏิบัติงานของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 6 ระเบียบวิธีการวิจัยแบบผสานวิธี (Mixed Methods Research)โดยผู้วิจัยนำวิธีการ วิจัยเชิงคุณภาพ และเชิงปริมาณ กล่าวคือผู้วิจัยใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพก่อนร่วมกัน เพื่อให้ได้คำตอบตามวัตถุประสงค์ในแต่ละข้อ กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยเชิงปริมาณคือ ข้าราชการตำรวจตรวจคนเข้าเมือง 6 จำนวน 400 คน และกลุ่มตัวอย่างในการวิจัยเชิงคุณภาพ จำนวน 30 คน สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ร้อยละ ความถี่ ค่าพิสัย ค่าเฉลี่ย ค่ามัธยฐาน และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบสมมติฐาน โดยมีสถิติที่ใช้ ได้แก่ t – test, F – test และการวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ Pearson’s product correlation
ผลการวิจัยพบว่า 1) การบริหารการปฏิบัติงานของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 6 ด้านการบริหาร ด้านการอำนวยความยุติธรรม ด้านการรักษาความมั่นคงปลอดภัยในราชอาณาจักร ด้านการรองรับประชาคมอาเซียน ด้านการบริการคนเข้าเมือง และด้านการป้องกันปราบปรามอาชญากรรม มีการบริหารการปฏิบัติงานอยู่ในระดับมากในทุกด้าน 2)พฤติกรรมการให้บริการของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 6 ด้านความรับผิดชอบต่อหน้าที่ด้านกระบวนการให้บริการ และด้านสภาพแวดล้อมของการบริการ มีพฤติกรรมการให้บริการอยู่ในระดับมากในทุกด้าน 3) ปัจจัยส่วนบุคคล ด้านเพศ ไม่ส่งผลต่อการบริหารการปฏิบัติงานของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 6 ส่วนปัจจัยส่วนบุคคล ด้านอายุ ส่งผลต่อการบริหารจัดการการปฏิบัติงาน ด้านการรักษาความมั่นคงปลอดภัยในราชอาณาจักร แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ปัจจัยส่วนบุคคล ด้านระดับการศึกษา ส่งผลต่อการบริหารการปฏิบัติงานด้านการป้องกันปราบปรามอาชญากรรม ด้านการบริการคนเข้าเมือง และด้านการอำนวยความยุติธรรม แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และปัจจัยส่วนบุคคลด้านอายุราชการส่งผลต่อการบริหารการปฏิบัติงาน ด้านการรักษาความมั่นคงปลอดภัยในราชอาณาจักร และด้านการบริหาร แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 4) พฤติกรรมการให้บริการ ด้านความรับผิดชอบต่อหน้าที่ ด้านกระบวนการให้บริการ และด้านสภาพแวดล้อมของการบริการกับปัจจัยที่ส่งผลต่อการบริหารการปฏิบัติงานมีความสัมพันธ์กันในระดับต่ำมาก ทุกด้านCurricular : GE/MPA/DPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27959 SIU THE-T. การบริหารการปฏิบัติงานของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 6 = Administration of Immigration Police Operations Immigration Division 6 [printed text] / ระวี หนูสี, Author ; พิภพ วชังเงิน, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019 . - x, 182 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-14
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารงานบุคคล
[LCSH]ตำรวจตรวจคนเข้าเมืองKeywords: การบริหารการปฏิบัติงาน,
ตำรวจตรวจคนเข้าเมือง,
กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 6Abstract: การวิจัยเรื่องการบริหารการปฏิบัติงานของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง6 มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการบริหารการปฏิบัติงานของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 6 2) เพื่อศึกษาพฤติกรรมการให้บริการของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 6 3) เพื่อเปรียบเทียบปัจจัยที่มีผลต่อการบริหารการปฏิบัติงานของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 6 จำแนกตามข้อมูลส่วนบุคคล 4) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมการให้บริการ ของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กับปัจจัยที่มีผลต่อการบริหารการปฏิบัติงานของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 6 ระเบียบวิธีการวิจัยแบบผสานวิธี (Mixed Methods Research)โดยผู้วิจัยนำวิธีการ วิจัยเชิงคุณภาพ และเชิงปริมาณ กล่าวคือผู้วิจัยใช้วิธีการวิจัยเชิงคุณภาพก่อนร่วมกัน เพื่อให้ได้คำตอบตามวัตถุประสงค์ในแต่ละข้อ กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยเชิงปริมาณคือ ข้าราชการตำรวจตรวจคนเข้าเมือง 6 จำนวน 400 คน และกลุ่มตัวอย่างในการวิจัยเชิงคุณภาพ จำนวน 30 คน สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ร้อยละ ความถี่ ค่าพิสัย ค่าเฉลี่ย ค่ามัธยฐาน และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบสมมติฐาน โดยมีสถิติที่ใช้ ได้แก่ t – test, F – test และการวิเคราะห์ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ Pearson’s product correlation
ผลการวิจัยพบว่า 1) การบริหารการปฏิบัติงานของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 6 ด้านการบริหาร ด้านการอำนวยความยุติธรรม ด้านการรักษาความมั่นคงปลอดภัยในราชอาณาจักร ด้านการรองรับประชาคมอาเซียน ด้านการบริการคนเข้าเมือง และด้านการป้องกันปราบปรามอาชญากรรม มีการบริหารการปฏิบัติงานอยู่ในระดับมากในทุกด้าน 2)พฤติกรรมการให้บริการของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 6 ด้านความรับผิดชอบต่อหน้าที่ด้านกระบวนการให้บริการ และด้านสภาพแวดล้อมของการบริการ มีพฤติกรรมการให้บริการอยู่ในระดับมากในทุกด้าน 3) ปัจจัยส่วนบุคคล ด้านเพศ ไม่ส่งผลต่อการบริหารการปฏิบัติงานของตำรวจตรวจคนเข้าเมือง กองบังคับการตรวจคนเข้าเมือง 6 ส่วนปัจจัยส่วนบุคคล ด้านอายุ ส่งผลต่อการบริหารจัดการการปฏิบัติงาน ด้านการรักษาความมั่นคงปลอดภัยในราชอาณาจักร แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ปัจจัยส่วนบุคคล ด้านระดับการศึกษา ส่งผลต่อการบริหารการปฏิบัติงานด้านการป้องกันปราบปรามอาชญากรรม ด้านการบริการคนเข้าเมือง และด้านการอำนวยความยุติธรรม แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และปัจจัยส่วนบุคคลด้านอายุราชการส่งผลต่อการบริหารการปฏิบัติงาน ด้านการรักษาความมั่นคงปลอดภัยในราชอาณาจักร และด้านการบริหาร แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 4) พฤติกรรมการให้บริการ ด้านความรับผิดชอบต่อหน้าที่ ด้านกระบวนการให้บริการ และด้านสภาพแวดล้อมของการบริการกับปัจจัยที่ส่งผลต่อการบริหารการปฏิบัติงานมีความสัมพันธ์กันในระดับต่ำมาก ทุกด้านCurricular : GE/MPA/DPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27959 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607962 SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-14 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000607964 SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-14 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. การบริหารกิจการอัญมณีและเครื่องประดับไทย / พีรพงศ์ กนกเลิศวงศ์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU THE-T Title : การบริหารกิจการอัญมณีและเครื่องประดับไทย Original title : The Study of Administration in Gems and Thai Jewelry Material Type: printed text Authors: พีรพงศ์ กนกเลิศวงศ์, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; พิเชษฐ์ วงศ์เกียรติ์ขจร, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: x, 138 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2016-10
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]อัญมณี
[LCSH]เครื่องประดับ
[LCSH]เจ้าของกิจการKeywords: การบริหาร.
อัญมณี เครื่องประดับไทย.
หุ้นส่วนระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน.Abstract: การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทราบถึงระดับของความสำเร็จของการบริหารกิจการอัญมณีและเครื่องประดับไทย เพื่อศึกษาถึงปัจจัยต่าง ๆ ได้แก่ ปัจจัยทางการบริหารและปัจจัยทางธุรกิจที่มีผลต่อการบริหารกิจการอัญมณีและเครื่องประดับไทยและเพื่อศึกษาแนวโน้มและทิศทางของกิจการอัญมณีและเครื่องประดับไทย ผู้วิจัยเลือกใช้วิธีวิจัยผสมผสานระหว่างข้อมูลเชิงปริมาณ และข้อมูลเชิงคุณภาพ โดยแบบสอบถาม และการสัมภาษณ์เชิงลึก ประชากรในการวิจัยครั้งนี้ประกอบด้วย การสัมภาษณ์ผู้บริหารของกิจการอัญมณีและเครื่องประดับไทย และผู้ประกอบกิจการหรือผู้แทน จำนวน 400 คน ตัวแปร ประกอบด้วย ตัวแปรทางการบริหารและตัวแปรทางธุรกิจ และตัวแปรตาม คือ ความสำเร็จของการบริหาร การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณใช้วิธีการทางสถิติด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป ประกอบด้วยสถิติพรรณนาประกอบด้วย ค่าร้อยละค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและสถิติทดสอบสมมติฐานประกอบด้วย การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนและการวิเคราะห์ความถดถอยพหุคูณ ผลวิจัยพบว่า..
1. ความสำเร็จของการบริหารกิจการอัญมณีและเครื่องประดับไทย อยู่ในระดับค่อนข้างมาก 2. ตัวแปรจำนวนทั้งหมด 6 ตัว ส่งผลทั้งทางบวกและทางลบต่อความสำเร็จของการบริหารจัดการอัญมณี กล่าวคือ ปัจจัยที่ส่งผลทางบวกมี 5 ตัว ได้แก่ ป้องกันความเสี่ยงทางธุรกิจ (socp)
แหล่งเงินทุน (abc) การสร้างแบรนด์ (socb) นโยบายของรัฐ (socg) การมีเครือข่าย / พันธมิตรทางการค้า (and) และส่วนปัจจัยที่มีผลทางลบ คือ การตลาด/การโฆษณา (adm) ที่มีอิทธิพลต่อความสำเร็จของการบริหารจัดการอัญมณี ตัวแปรทั้ง 6 ตัวเหล่านี้ สามารถทำนายหรือพยากรณ์ผลของความสำเร็จได้ ร้อยละ 68 โดยมีความคลาดเคลื่อน เป็นร้อยละ 23.8 ซึ่งสามารถเขียนเป็นสมการถดถอยพหุคูณ ดังนี้
Y = .543+ (.462 socp )+ ( .321abc) + (.180socb)+( .171socg) +( .128adn)+ (-.379adm)
งานวิจัยนี้ได้นำไปสู่ข้อค้นพบทางการบริหารจัดการ ที่สะท้อนให้เห็นว่าแนวทางในการสร้างความร่วมมือระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการที่รัฐควรจะให้ความสนันสนุนเพื่อลดความเสี่ยงทางธุรกิจของผู้ประกอบกิจการทางด้านนี้Curricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26554 SIU THE-T. การบริหารกิจการอัญมณีและเครื่องประดับไทย = The Study of Administration in Gems and Thai Jewelry [printed text] / พีรพงศ์ กนกเลิศวงศ์, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; พิเชษฐ์ วงศ์เกียรติ์ขจร, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - x, 138 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU THE-T: IPAG-DPA-2016-10
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]อัญมณี
[LCSH]เครื่องประดับ
[LCSH]เจ้าของกิจการKeywords: การบริหาร.
อัญมณี เครื่องประดับไทย.
หุ้นส่วนระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน.Abstract: การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทราบถึงระดับของความสำเร็จของการบริหารกิจการอัญมณีและเครื่องประดับไทย เพื่อศึกษาถึงปัจจัยต่าง ๆ ได้แก่ ปัจจัยทางการบริหารและปัจจัยทางธุรกิจที่มีผลต่อการบริหารกิจการอัญมณีและเครื่องประดับไทยและเพื่อศึกษาแนวโน้มและทิศทางของกิจการอัญมณีและเครื่องประดับไทย ผู้วิจัยเลือกใช้วิธีวิจัยผสมผสานระหว่างข้อมูลเชิงปริมาณ และข้อมูลเชิงคุณภาพ โดยแบบสอบถาม และการสัมภาษณ์เชิงลึก ประชากรในการวิจัยครั้งนี้ประกอบด้วย การสัมภาษณ์ผู้บริหารของกิจการอัญมณีและเครื่องประดับไทย และผู้ประกอบกิจการหรือผู้แทน จำนวน 400 คน ตัวแปร ประกอบด้วย ตัวแปรทางการบริหารและตัวแปรทางธุรกิจ และตัวแปรตาม คือ ความสำเร็จของการบริหาร การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณใช้วิธีการทางสถิติด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำเร็จรูป ประกอบด้วยสถิติพรรณนาประกอบด้วย ค่าร้อยละค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและสถิติทดสอบสมมติฐานประกอบด้วย การทดสอบค่าที การวิเคราะห์ความแปรปรวนและการวิเคราะห์ความถดถอยพหุคูณ ผลวิจัยพบว่า..
1. ความสำเร็จของการบริหารกิจการอัญมณีและเครื่องประดับไทย อยู่ในระดับค่อนข้างมาก 2. ตัวแปรจำนวนทั้งหมด 6 ตัว ส่งผลทั้งทางบวกและทางลบต่อความสำเร็จของการบริหารจัดการอัญมณี กล่าวคือ ปัจจัยที่ส่งผลทางบวกมี 5 ตัว ได้แก่ ป้องกันความเสี่ยงทางธุรกิจ (socp)
แหล่งเงินทุน (abc) การสร้างแบรนด์ (socb) นโยบายของรัฐ (socg) การมีเครือข่าย / พันธมิตรทางการค้า (and) และส่วนปัจจัยที่มีผลทางลบ คือ การตลาด/การโฆษณา (adm) ที่มีอิทธิพลต่อความสำเร็จของการบริหารจัดการอัญมณี ตัวแปรทั้ง 6 ตัวเหล่านี้ สามารถทำนายหรือพยากรณ์ผลของความสำเร็จได้ ร้อยละ 68 โดยมีความคลาดเคลื่อน เป็นร้อยละ 23.8 ซึ่งสามารถเขียนเป็นสมการถดถอยพหุคูณ ดังนี้
Y = .543+ (.462 socp )+ ( .321abc) + (.180socb)+( .171socg) +( .128adn)+ (-.379adm)
งานวิจัยนี้ได้นำไปสู่ข้อค้นพบทางการบริหารจัดการ ที่สะท้อนให้เห็นว่าแนวทางในการสร้างความร่วมมือระหว่างภาครัฐและภาคเอกชน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการที่รัฐควรจะให้ความสนันสนุนเพื่อลดความเสี่ยงทางธุรกิจของผู้ประกอบกิจการทางด้านนี้Curricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26554 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000592012 SIU THE-T: IPAG-DPA-2016-10 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000592046 SIU THE-T: IPAG-DPA-2016-10 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available SIU THE-T. การบริหารงานคุณภาพของผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดลำปาง / ณัฐชัย อินทราย / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2019
Collection Title: SIU THE-T Title : การบริหารงานคุณภาพของผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดลำปาง Original title : Quality Management of Local Government Administrators in Lampang Province Material Type: printed text Authors: ณัฐชัย อินทราย, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2019 Pagination: vii, 122 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-11
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น -- การบริหาร -- ลำปาง Keywords: การบริหารงานคุณภาพ,
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) คุณลักษณะของผู้บริการ พฤติกรรมการบริหารงานคุณภาพของผู้บริหาร และประสิทธิผลการบริหารงานของผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดลำปาง (2) อิทธิพลของคุณลักษณะผู้บริหารและพฤติกรรมการบริหารงานคุณภาพของผู้บริหารต่อประสิทธิผลการบริหารงานของผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดลำปาง และ (3) เพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการบริหารงานของผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดลำปาง
การศึกษาครั้งนี้ ใช้วิธีการวิจัยแบบผสานวิธี ประชากร ประกอบด้วย (1) การวิจัยเชิงปริมาณ ประชากรในการศึกษาวิจัย คือ บุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดลำปาง ที่ปฏิบัติงานอยู่ในปี พ.ศ. 2561 สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดลำปาง จำนวน 103 แห่ง รวมทั้งสิ้น 6,668 คน เลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้น กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางของเครจซี่และมอร์แกน ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% ความคลาดเคลื่อน 5% ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 416 คน (2) การวิจัยเชิงคุณภาพ ผู้วิจัยได้เลือกผู้ให้ข้อมูลแบบเจาะจง เพื่อทำการสัมภาษณ์เชิงลึก จำนวน 12 คน
ผลการวิจัยพบว่า 1) คุณลักษณะของผู้บริหาร พฤติกรรมการบริหารงานคุณภาพของผู้บริหาร และประสิทธผลการบริหารงานของผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดลำปาง
อยู่ในระดับมาก ระดับปานกลาง และระดับปานกลาง ตามลำดับ 2) คุณลักษณะของผู้บริหารและพฤติกรรมการบริหารงานคุณภาพของผู้บริหารมีอิทธิพลทางบวกต่อประสิทธิผลการบริหารงานของผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และ 3) ปัญหาและอุปสรรคในการบริหารงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดลำปาง คือ ด้านทิศทางและการกำหนดนโยบาย ด้านการจัดการ
ด้านการเงินและงบประมาณ ด้านการจัดการเรื่องการจัดซื้อจัดจ้าง ด้านการติดตามและควบคุมงาน และด้านการประเมินและการจัดทำรายงานCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27948 SIU THE-T. การบริหารงานคุณภาพของผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดลำปาง = Quality Management of Local Government Administrators in Lampang Province [printed text] / ณัฐชัย อินทราย, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019 . - vii, 122 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-11
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น -- การบริหาร -- ลำปาง Keywords: การบริหารงานคุณภาพ,
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) คุณลักษณะของผู้บริการ พฤติกรรมการบริหารงานคุณภาพของผู้บริหาร และประสิทธิผลการบริหารงานของผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดลำปาง (2) อิทธิพลของคุณลักษณะผู้บริหารและพฤติกรรมการบริหารงานคุณภาพของผู้บริหารต่อประสิทธิผลการบริหารงานของผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดลำปาง และ (3) เพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการบริหารงานของผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดลำปาง
การศึกษาครั้งนี้ ใช้วิธีการวิจัยแบบผสานวิธี ประชากร ประกอบด้วย (1) การวิจัยเชิงปริมาณ ประชากรในการศึกษาวิจัย คือ บุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดลำปาง ที่ปฏิบัติงานอยู่ในปี พ.ศ. 2561 สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดลำปาง จำนวน 103 แห่ง รวมทั้งสิ้น 6,668 คน เลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้น กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางของเครจซี่และมอร์แกน ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% ความคลาดเคลื่อน 5% ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 416 คน (2) การวิจัยเชิงคุณภาพ ผู้วิจัยได้เลือกผู้ให้ข้อมูลแบบเจาะจง เพื่อทำการสัมภาษณ์เชิงลึก จำนวน 12 คน
ผลการวิจัยพบว่า 1) คุณลักษณะของผู้บริหาร พฤติกรรมการบริหารงานคุณภาพของผู้บริหาร และประสิทธผลการบริหารงานของผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดลำปาง
อยู่ในระดับมาก ระดับปานกลาง และระดับปานกลาง ตามลำดับ 2) คุณลักษณะของผู้บริหารและพฤติกรรมการบริหารงานคุณภาพของผู้บริหารมีอิทธิพลทางบวกต่อประสิทธิผลการบริหารงานของผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และ 3) ปัญหาและอุปสรรคในการบริหารงานขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในจังหวัดลำปาง คือ ด้านทิศทางและการกำหนดนโยบาย ด้านการจัดการ
ด้านการเงินและงบประมาณ ด้านการจัดการเรื่องการจัดซื้อจัดจ้าง ด้านการติดตามและควบคุมงาน และด้านการประเมินและการจัดทำรายงานCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27948 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607970 SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-11 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available 32002000607968 SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-11 c.2 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. การบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 / วิศิษฎ์ แดนโพธิ์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2019
Collection Title: SIU THE-T Title : การบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 Original title : Police Administration in Prevention and Suppression of Human Trafficking of Provincial Police Region 5 Material Type: printed text Authors: วิศิษฎ์ แดนโพธิ์, Author ; พิภพ วชังเงิน, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2019 Pagination: ix, 137 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-03
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การค้ามนุษย์ -- การป้องกันและควบคุม -- วิจัย
[LCSH]การบริหารงานตำรวจKeywords: การบริหารงานตำรวจ,
การป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษ (1) สมรรถนะองค์การในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 (2) พฤติกรรมการบริหารจัดการองค์การในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 (3) การบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 (4) ความสัมพันธ์ระหว่างสมรรถนะองค์การและพฤติกรรมการบริหารจัดการองค์การกับการบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 (5) สมรรถนะองค์การและพฤติกรรมการบริหารจัดการองค์การที่มีผลต่อการบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 และ (6) ปัญหาและอุปสรรคในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5
การศึกษาครั้งนี้ ใช้วิธีการวิจัยแบบผสานวิธี ประชากร ประกอบด้วย (1) ประชาการที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเชิงปริมาณ ได้แก่ เจ้าหน้าที่ตำรวจในสังกัดกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 จำนวน 16,234 คน เลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้น กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางของเครจซี่และมอร์แกน ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 445 คน และ (2) ผู้ให้ข้อมูลในการสัมภาษณ์เชิงลึก ได้แก่ ผู้บังคับการตำรวจภูธรจังหวัด รองผู้บังคับการตำรวจภูธรจังหวัด ในสังกัดกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 รวม 16 คน เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์เชิงลึก วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ ใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ การวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สันและการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ วิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพใช้การวิเคราะห์เนื้อหา
ผลการวิจัยพบว่า (1) สมรรถนะองค์การในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกอง บัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 อยู่ในระดับปานกลาง ( = 3.39, SD = 0.49) (2) พฤติกรรมการบริหารจัดการองค์การในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 อยู่ในระดับมาก ( = 3.79, SD = 0.50) (3) การบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 อยู่ในระดับปานกลาง ( = 3.19, SD = 0.48) (4) สมรรถนะองค์การและพฤติกรรมการบริหารจัดการองค์การมีความสัมพันธ์ทางบวกกับการบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .01 (5) สมรรถนะองค์การและพฤติกรรมการบริหารจัดการองค์การ มีผลต่อการบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ในเชิงบวกที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .01 โดยสามารถร่วมกันพยากรณ์การบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ ได้ร้อยละ 53.6 และ (6) ปัญหาและอุปสรรคในการปฏิบัติงานการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ ได้แก่ 1) การขาดแคลนงบประมาณและกำลังพลที่ไม่เพียงพอ 2) เจ้าหน้าที่ตำรวจขาดความรู้ ความเข้าใจในข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการค้ามนุษย์
3) ขาดหน่วยงานที่รับผิดชอบโดยตรงและขาดการประสานงานหรือความร่วมมือจากภาคส่วนต่าง ๆ และ 4) ปัญหาในการสื่อสารโดยใช้ภาษาสากลเนื่องจากการค้ามนุษย์มักจะเป็นการกระทำความผิดเกี่ยวเนื่องระหว่างประเทศCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27941 SIU THE-T. การบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 = Police Administration in Prevention and Suppression of Human Trafficking of Provincial Police Region 5 [printed text] / วิศิษฎ์ แดนโพธิ์, Author ; พิภพ วชังเงิน, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019 . - ix, 137 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-03
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การค้ามนุษย์ -- การป้องกันและควบคุม -- วิจัย
[LCSH]การบริหารงานตำรวจKeywords: การบริหารงานตำรวจ,
การป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษ (1) สมรรถนะองค์การในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 (2) พฤติกรรมการบริหารจัดการองค์การในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 (3) การบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 (4) ความสัมพันธ์ระหว่างสมรรถนะองค์การและพฤติกรรมการบริหารจัดการองค์การกับการบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 (5) สมรรถนะองค์การและพฤติกรรมการบริหารจัดการองค์การที่มีผลต่อการบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 และ (6) ปัญหาและอุปสรรคในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5
การศึกษาครั้งนี้ ใช้วิธีการวิจัยแบบผสานวิธี ประชากร ประกอบด้วย (1) ประชาการที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเชิงปริมาณ ได้แก่ เจ้าหน้าที่ตำรวจในสังกัดกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 จำนวน 16,234 คน เลือกกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้น กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางของเครจซี่และมอร์แกน ที่ระดับความเชื่อมั่น 95% ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 445 คน และ (2) ผู้ให้ข้อมูลในการสัมภาษณ์เชิงลึก ได้แก่ ผู้บังคับการตำรวจภูธรจังหวัด รองผู้บังคับการตำรวจภูธรจังหวัด ในสังกัดกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 รวม 16 คน เครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์เชิงลึก วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ ใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ การวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สันและการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ วิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพใช้การวิเคราะห์เนื้อหา
ผลการวิจัยพบว่า (1) สมรรถนะองค์การในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกอง บัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 อยู่ในระดับปานกลาง ( = 3.39, SD = 0.49) (2) พฤติกรรมการบริหารจัดการองค์การในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 อยู่ในระดับมาก ( = 3.79, SD = 0.50) (3) การบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ของกองบัญชาการตำรวจภูธรภาค 5 อยู่ในระดับปานกลาง ( = 3.19, SD = 0.48) (4) สมรรถนะองค์การและพฤติกรรมการบริหารจัดการองค์การมีความสัมพันธ์ทางบวกกับการบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .01 (5) สมรรถนะองค์การและพฤติกรรมการบริหารจัดการองค์การ มีผลต่อการบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ในเชิงบวกที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .01 โดยสามารถร่วมกันพยากรณ์การบริหารงานตำรวจในการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ ได้ร้อยละ 53.6 และ (6) ปัญหาและอุปสรรคในการปฏิบัติงานการป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ ได้แก่ 1) การขาดแคลนงบประมาณและกำลังพลที่ไม่เพียงพอ 2) เจ้าหน้าที่ตำรวจขาดความรู้ ความเข้าใจในข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการค้ามนุษย์
3) ขาดหน่วยงานที่รับผิดชอบโดยตรงและขาดการประสานงานหรือความร่วมมือจากภาคส่วนต่าง ๆ และ 4) ปัญหาในการสื่อสารโดยใช้ภาษาสากลเนื่องจากการค้ามนุษย์มักจะเป็นการกระทำความผิดเกี่ยวเนื่องระหว่างประเทศCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27941 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607994 SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-03 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. การบริหารจัดการกองทุนพัฒนาสวัสดิการชุมชนและความมั่นคงของมนุษย์ ตำบลละหาร อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง / ปภาวรินทร์ ภูมิสาตร์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2014
Collection Title: SIU IS-T Title : การบริหารจัดการกองทุนพัฒนาสวัสดิการชุมชนและความมั่นคงของมนุษย์ ตำบลละหาร อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง Original title : Management of the Fund for Developing Community Welfare & Human Security in Lahan Subdistrict, Pluak Daeng District, Rayong Province Material Type: printed text Authors: ปภาวรินทร์ ภูมิสาตร์, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2014 Pagination: vii, 65 หน้า Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-10
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารจัดการ
[LCSH]การพัฒนาชุมชน -- ไทย -- ระยอง
[LCSH]ความมั่นคงของมนุษย์ -- ไทยKeywords: การบริหารจัดการ Abstract: การศึกษางานค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อศึกษาการบริหารจัดการ และปัญหาในการบริหารจัดการกองทุนพัฒนาสวัสดิการชุมชน และความมั่นคงของมนุษย์ ตำบลละหาร อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง ใช้วิธีการวิจัยเอกสารและวิธีวิจัยสนามโดยใช้วิธีการสัมภาษณ์สุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26085 SIU IS-T. การบริหารจัดการกองทุนพัฒนาสวัสดิการชุมชนและความมั่นคงของมนุษย์ ตำบลละหาร อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง = Management of the Fund for Developing Community Welfare & Human Security in Lahan Subdistrict, Pluak Daeng District, Rayong Province [printed text] / ปภาวรินทร์ ภูมิสาตร์, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014 . - vii, 65 หน้า : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-10
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารจัดการ
[LCSH]การพัฒนาชุมชน -- ไทย -- ระยอง
[LCSH]ความมั่นคงของมนุษย์ -- ไทยKeywords: การบริหารจัดการ Abstract: การศึกษางานค้นคว้าอิสระนี้มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อศึกษาการบริหารจัดการ และปัญหาในการบริหารจัดการกองทุนพัฒนาสวัสดิการชุมชน และความมั่นคงของมนุษย์ ตำบลละหาร อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง ใช้วิธีการวิจัยเอกสารและวิธีวิจัยสนามโดยใช้วิธีการสัมภาษณ์สุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26085 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000590099 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-10 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000590073 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-10 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available 32002000590610 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-10 c.3 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. การบริหารจัดการในการส่งเสริมมวยไทยสู่สากล / สิทธิศักดิ์ สุทธิสาคร / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : การบริหารจัดการในการส่งเสริมมวยไทยสู่สากล Original title : Managing the Promotion of Thai Boxing to International Level Material Type: printed text Authors: สิทธิศักดิ์ สุทธิสาคร, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: vii, 72 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-27
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารจัดการ
[LCSH]มวยไทยKeywords: การบริหารจัดการ,
การส่งเสริม,
มวยไทยAbstract: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเป็นมา ภูมิปัญญา สภาพปัญหาและรูปแบบการบริหารจัดการในการส่งเสริมศิลปะมวยไทยสู่สากล โดยใช้วิธีวิจัยเชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่างถูกเลือกแบบเจาะจง จำนวน 6 คน ได้แก่ ผู้รู้ 1 คน ผู้ปฏิบัติ 1 คน และผู้เกี่ยวข้อง 4 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบสัมภาษณ์ การสังเกต ใช้การพรรณนาวิเคราะห์ในการวิเคราะห์ข้อมูล
ผลการวิจัยพบว่า การศึกษามวยไทยเริ่มจากสมัยสุววรณภูมิถึงสมัยรัตนโกสินทร์ ในปัจจุบันมีพัฒนาการอย่างต่อเนื่องตามยุคสมัย มีเป้าหมายการฝึกเพื่อป้องกันตนเองและประเทศชาติ สมัยอยุธยามีความรุ่งเรืองมาก สภาพปัญหาการจัดการมวยไทยมีการพัฒนารูปแบบการจัดการมี 4 ด้าน คือ ประการแรกการพัฒนาบุคลากรที่เกี่ยวข้องแบบครบวงจร มีรูปแบบการบริหารจัดการ แผนพัฒนาสร้างหลักสูตรอบรมบุคลากรทุกระดับ นำวิทยาศาสตร์การกีฬามาพัฒนาทักษะมวยไทย ตั้งสถาบันผลิตบุคลากร รัฐมีนโยบายเชิงรุก องค์กรภาครัฐและภาคเอกชนกำหนดทิศทางการบริหารจัดการเป็นระบบ ประการที่สอง คือ พัฒนาการจัดการแข่งขันให้เป็นมาตราฐานสากล หน่วยงานองค์กรรับผิดชอบควรกำหนดกฎระเบียบข้อบังคับและรูปแบบให้เป็นมาตราฐานเดียวกันและเป็นสากล ประการที่สามการพัฒนาปัจจัยพื้นฐาน สิ่งอำนวยความสะดวก สนามมวย ค่ายมวยและการนำวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีทางกีฬามาประยุกต์ใช้กับมวยไทย และประการสุดท้าย คือ การพัฒนาระบบการบริหารการจัดการกีฬามวยไทยอาชีพเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26899 SIU IS-T. การบริหารจัดการในการส่งเสริมมวยไทยสู่สากล = Managing the Promotion of Thai Boxing to International Level [printed text] / สิทธิศักดิ์ สุทธิสาคร, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - vii, 72 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-27
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารจัดการ
[LCSH]มวยไทยKeywords: การบริหารจัดการ,
การส่งเสริม,
มวยไทยAbstract: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเป็นมา ภูมิปัญญา สภาพปัญหาและรูปแบบการบริหารจัดการในการส่งเสริมศิลปะมวยไทยสู่สากล โดยใช้วิธีวิจัยเชิงคุณภาพ กลุ่มตัวอย่างถูกเลือกแบบเจาะจง จำนวน 6 คน ได้แก่ ผู้รู้ 1 คน ผู้ปฏิบัติ 1 คน และผู้เกี่ยวข้อง 4 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย แบบสัมภาษณ์ การสังเกต ใช้การพรรณนาวิเคราะห์ในการวิเคราะห์ข้อมูล
ผลการวิจัยพบว่า การศึกษามวยไทยเริ่มจากสมัยสุววรณภูมิถึงสมัยรัตนโกสินทร์ ในปัจจุบันมีพัฒนาการอย่างต่อเนื่องตามยุคสมัย มีเป้าหมายการฝึกเพื่อป้องกันตนเองและประเทศชาติ สมัยอยุธยามีความรุ่งเรืองมาก สภาพปัญหาการจัดการมวยไทยมีการพัฒนารูปแบบการจัดการมี 4 ด้าน คือ ประการแรกการพัฒนาบุคลากรที่เกี่ยวข้องแบบครบวงจร มีรูปแบบการบริหารจัดการ แผนพัฒนาสร้างหลักสูตรอบรมบุคลากรทุกระดับ นำวิทยาศาสตร์การกีฬามาพัฒนาทักษะมวยไทย ตั้งสถาบันผลิตบุคลากร รัฐมีนโยบายเชิงรุก องค์กรภาครัฐและภาคเอกชนกำหนดทิศทางการบริหารจัดการเป็นระบบ ประการที่สอง คือ พัฒนาการจัดการแข่งขันให้เป็นมาตราฐานสากล หน่วยงานองค์กรรับผิดชอบควรกำหนดกฎระเบียบข้อบังคับและรูปแบบให้เป็นมาตราฐานเดียวกันและเป็นสากล ประการที่สามการพัฒนาปัจจัยพื้นฐาน สิ่งอำนวยความสะดวก สนามมวย ค่ายมวยและการนำวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีทางกีฬามาประยุกต์ใช้กับมวยไทย และประการสุดท้าย คือ การพัฒนาระบบการบริหารการจัดการกีฬามวยไทยอาชีพเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพCurricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26899 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000593812 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-27 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000593846 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-27 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. การบริหารเชิงกลยุทธ์ของบริษัทตัวแทนจำหน่ายยานยนต์ค่ายยุโรปในประเทศไทย กรณีศึกษาบีเอ็มดับเบิ้ลยูและเอาดี้ / สุขโชค ทองสุข-อุฬาร / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU THE-T Title : การบริหารเชิงกลยุทธ์ของบริษัทตัวแทนจำหน่ายยานยนต์ค่ายยุโรปในประเทศไทย กรณีศึกษาบีเอ็มดับเบิ้ลยูและเอาดี้ Original title : Strategic Management of European Auto Dealerships in Thailand: Case Study of BMW and Audi) Material Type: printed text Authors: สุขโชค ทองสุข-อุฬาร, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: xi, 198 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU THE-T: SOM-DBA-2016-01
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2559Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารเชิงกลยุทธ์ -- การศึกษาเฉพาะกรณี
[LCSH]ผู้บริโภค -- พฤติกรรม
[LCSH]ยานยนต์ -- ไทยKeywords: การบริหารเชิงกลยุทธ์,
บริษัทตัวแทนจำหน่ายยานยนต์,
กลยุทธ์ระดับองค์กร,
กลยุทธ์ระดับธุรกิจ,
กลยุทธ์ระดับหน้าที่Abstract: การวิจัยเชิงคุณภาพครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1)ศึกษาแนวทางการบริหารจัดการเชิงกลยุทธ์ที่มีผลกระทบต่อผลการดำเนินงานของตัวแทนจำหน่ายยานยนต์ (2) เปรียบเทียบแนวทางการบริหารเชิงกลยุทธ์ของบริษัทตัวแทนจำหน่ายยานยนต์บีเอ็มดับเบิ้ลยูและเอาดี้ (3) จัดอันดับ กลยุทธ์ที่ใช้มากที่สุดของบริษัทตัวแทนจำหน่ายยานยนต์บีเอ็มดับเบิ้ลยูและเอาดี้ในประเทศไทย (4) หาเหตุผลการเลือกซื้อรถยนต์ของลูกค้าประชากรและ กลุ่มตัวอย่าง แบ่งเป็นสองกลุ่มคือ (1) ผู้บริหารที่ปฏิบัติงานในบริษัทตัวแทนจำหน่ายยานยนต์บีเอ็มดับเบิ้ลยูและเอาดี้ที่มีประสบการณ์ในการงานอย่างน้อย 3 ปีขึ้นไปทั้งหมด 16 บริษัทตัวแทนจำหน่าย (2) กลุ่มลูกค้าที่เป็นเจ้าของรถยนต์บีเอ็มดับเบิ้ลยูและเอาดี้คัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจง Curricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26372 SIU THE-T. การบริหารเชิงกลยุทธ์ของบริษัทตัวแทนจำหน่ายยานยนต์ค่ายยุโรปในประเทศไทย กรณีศึกษาบีเอ็มดับเบิ้ลยูและเอาดี้ = Strategic Management of European Auto Dealerships in Thailand: Case Study of BMW and Audi) [printed text] / สุขโชค ทองสุข-อุฬาร, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - xi, 198 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU THE-T: SOM-DBA-2016-01
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2559
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารเชิงกลยุทธ์ -- การศึกษาเฉพาะกรณี
[LCSH]ผู้บริโภค -- พฤติกรรม
[LCSH]ยานยนต์ -- ไทยKeywords: การบริหารเชิงกลยุทธ์,
บริษัทตัวแทนจำหน่ายยานยนต์,
กลยุทธ์ระดับองค์กร,
กลยุทธ์ระดับธุรกิจ,
กลยุทธ์ระดับหน้าที่Abstract: การวิจัยเชิงคุณภาพครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1)ศึกษาแนวทางการบริหารจัดการเชิงกลยุทธ์ที่มีผลกระทบต่อผลการดำเนินงานของตัวแทนจำหน่ายยานยนต์ (2) เปรียบเทียบแนวทางการบริหารเชิงกลยุทธ์ของบริษัทตัวแทนจำหน่ายยานยนต์บีเอ็มดับเบิ้ลยูและเอาดี้ (3) จัดอันดับ กลยุทธ์ที่ใช้มากที่สุดของบริษัทตัวแทนจำหน่ายยานยนต์บีเอ็มดับเบิ้ลยูและเอาดี้ในประเทศไทย (4) หาเหตุผลการเลือกซื้อรถยนต์ของลูกค้าประชากรและ กลุ่มตัวอย่าง แบ่งเป็นสองกลุ่มคือ (1) ผู้บริหารที่ปฏิบัติงานในบริษัทตัวแทนจำหน่ายยานยนต์บีเอ็มดับเบิ้ลยูและเอาดี้ที่มีประสบการณ์ในการงานอย่างน้อย 3 ปีขึ้นไปทั้งหมด 16 บริษัทตัวแทนจำหน่าย (2) กลุ่มลูกค้าที่เป็นเจ้าของรถยนต์บีเอ็มดับเบิ้ลยูและเอาดี้คัดเลือกแบบเฉพาะเจาะจง Curricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26372 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000550853 SIU THE-T: SOM-DBA-2016-01 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000550861 SIU THE-T: SOM-DBA-2016-01 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available SIU THE-T. การบริหารแรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่าโดยผู้ประกอบการคนไทย ในจังหวัดสมุทรสาคร / กันยา ศรีสวัสดิ์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2019
Collection Title: SIU THE-T Title : การบริหารแรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่าโดยผู้ประกอบการคนไทย ในจังหวัดสมุทรสาคร Original title : Administration of Myanmarian workers by Thai entrepreneurs in Samutsakhorn Province Material Type: printed text Authors: กันยา ศรีสวัสดิ์, Author ; พิภพ วชังเงิน, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2019 Pagination: viii, 243 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-06
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]แรงงาน -- การบริหาร
[LCSH]แรงงานต่างด้าวพม่า -- ไทย -- สมุทรสาครKeywords: การบริหารแรงงาน,
แรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่า,
จังหวัดสมุทรสาครAbstract: การวิจัยเรื่อง การบริหารแรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่าโดยผู้ประกอบการคนไทยในจังหวัดสมุทรสาครมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการบริหารจัดการแรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่าโดยผู้ประกอบการคนไทย ในจังหวัดสมุทรสาคร 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการบริหารจัดการแรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่าโดยผู้ประกอบการคนไทย ในจังหวัดสมุทรสาคร 3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่มีผลกับการบริหารจัดการแรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่าโดยผู้ประกอบการคนไทย ในจังหวัดสมุทรสาคร เป็นการวิจัยผสานวิธี (mixed methods methodology approach) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ผู้ประกอบการธุรกิจอุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่าจำนวน 90,000 คน (ข้อมูลสถิติจำนวนประชากร, 2560) คำนวณขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรของยามาเน่ (Yamane, 2014) ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 400 คน ผลการวิจัยพบว่าการบริหารจัดการแรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่าโดยผู้ประกอบการคนไทยในจังหวัดสมุทรสาคร ในภาพรวมอยู่ในระดับมากในรายข้ออยู่ในระดับมาก ส่วนปัจจัยที่มีผลต่อการบริหารจัดการแรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่าโดยผู้ประกอบการคนไทย ในจังหวัดสมุทรสาคร พบว่า ปัจจัยด้านจิตวิทยา มีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมาคือปัจจัยด้านสังคมและเศรษฐกิจ นอกจากนี้ผลการทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรพบว่าปัจจัยสิ่งแวดล้อม ปัจจัยทางสังคมและเศรษฐกิจ ปัจจัยทางด้านจิตวิทยา กับการบริหารแรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่า ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .01 ข้อเสนอแนะที่ได้จากการวิจัยการบริหารแรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่าโดยผู้ประกอบการคนไทย ในจังหวัดสมุทรสาคร ควรมีการกำหนดแผนแม่บทและยุทธศาสตร์ในการบริหารงานแรงงานต่างด้าวให้มีความชัดเจนมากยิ่งขึ้น เนื่องจากในแต่ละพื้นที่มีบริบทที่แตกต่างกันคือ 1) รัฐควรสนับสนุนให้มีการคุ้มครองแรงงานต่างด้าวโดยเฉพาะในเรื่องอัตราค่าจ้างสำหรับแรงงานต่างด้าวที่จดทะเบียนถูกต้องตามกฎหมาย 2) รัฐควรมีการจัดการฐานข้อมูลแรงงานต่างด้าวอย่างทั่วถึง โดยมีมาตรการในแง่ของกฎหมาย Curricular : MPA/DPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27944 SIU THE-T. การบริหารแรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่าโดยผู้ประกอบการคนไทย ในจังหวัดสมุทรสาคร = Administration of Myanmarian workers by Thai entrepreneurs in Samutsakhorn Province [printed text] / กันยา ศรีสวัสดิ์, Author ; พิภพ วชังเงิน, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019 . - viii, 243 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-06
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]แรงงาน -- การบริหาร
[LCSH]แรงงานต่างด้าวพม่า -- ไทย -- สมุทรสาครKeywords: การบริหารแรงงาน,
แรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่า,
จังหวัดสมุทรสาครAbstract: การวิจัยเรื่อง การบริหารแรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่าโดยผู้ประกอบการคนไทยในจังหวัดสมุทรสาครมีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการบริหารจัดการแรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่าโดยผู้ประกอบการคนไทย ในจังหวัดสมุทรสาคร 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการบริหารจัดการแรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่าโดยผู้ประกอบการคนไทย ในจังหวัดสมุทรสาคร 3) เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยที่มีผลกับการบริหารจัดการแรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่าโดยผู้ประกอบการคนไทย ในจังหวัดสมุทรสาคร เป็นการวิจัยผสานวิธี (mixed methods methodology approach) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ผู้ประกอบการธุรกิจอุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่าจำนวน 90,000 คน (ข้อมูลสถิติจำนวนประชากร, 2560) คำนวณขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้สูตรของยามาเน่ (Yamane, 2014) ได้กลุ่มตัวอย่างจำนวน 400 คน ผลการวิจัยพบว่าการบริหารจัดการแรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่าโดยผู้ประกอบการคนไทยในจังหวัดสมุทรสาคร ในภาพรวมอยู่ในระดับมากในรายข้ออยู่ในระดับมาก ส่วนปัจจัยที่มีผลต่อการบริหารจัดการแรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่าโดยผู้ประกอบการคนไทย ในจังหวัดสมุทรสาคร พบว่า ปัจจัยด้านจิตวิทยา มีค่าเฉลี่ยสูงสุด รองลงมาคือปัจจัยด้านสังคมและเศรษฐกิจ นอกจากนี้ผลการทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรพบว่าปัจจัยสิ่งแวดล้อม ปัจจัยทางสังคมและเศรษฐกิจ ปัจจัยทางด้านจิตวิทยา กับการบริหารแรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่า ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .01 ข้อเสนอแนะที่ได้จากการวิจัยการบริหารแรงงานต่างด้าวสัญชาติพม่าโดยผู้ประกอบการคนไทย ในจังหวัดสมุทรสาคร ควรมีการกำหนดแผนแม่บทและยุทธศาสตร์ในการบริหารงานแรงงานต่างด้าวให้มีความชัดเจนมากยิ่งขึ้น เนื่องจากในแต่ละพื้นที่มีบริบทที่แตกต่างกันคือ 1) รัฐควรสนับสนุนให้มีการคุ้มครองแรงงานต่างด้าวโดยเฉพาะในเรื่องอัตราค่าจ้างสำหรับแรงงานต่างด้าวที่จดทะเบียนถูกต้องตามกฎหมาย 2) รัฐควรมีการจัดการฐานข้อมูลแรงงานต่างด้าวอย่างทั่วถึง โดยมีมาตรการในแง่ของกฎหมาย Curricular : MPA/DPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27944 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607975 SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-06 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available 32002000607974 SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-06 c.2 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. การประยุกต์ใช้ทฤษฎีองค์การทางบริหารธุรกิจในการปรับปรุงโครงสร้างหน่วยงานราชการ : กรมเทคโนโลยีสารสนเทศและอวกาศกลาโหม / ธัญญลักษณ์ ประเสริฐวิทย์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU THE-T Title : การประยุกต์ใช้ทฤษฎีองค์การทางบริหารธุรกิจในการปรับปรุงโครงสร้างหน่วยงานราชการ : กรมเทคโนโลยีสารสนเทศและอวกาศกลาโหม Original title : Application of Business Model Theories on the Improvement of Government Organization Structure: Case Study of Information and Space Technology Department Material Type: printed text Authors: ธัญญลักษณ์ ประเสริฐวิทย์, Author ; วิไลพร เลาหโกศล, Associated Name ; สมชาย รัตนโกมุท, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: xi, 248 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU THE-T: SOM-DBA-2016-04
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2559Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]กรมเทคโนโลยีสารสนเทศและอวกาศกลาโหม -- การบริหาร
[LCSH]หน่วยราชการ -- การปรับปรุงโครงสร้างองค์กร
[LCSH]องค์การ -- การจัดการKeywords: กรมเทคโนโลยีสารสนเทศและอวกาศกลาโหม
การปรับปรุงโครงสร้าง
การบริหารจัดการAbstract: การวิจัยมีวัตถุประสงค์ เพื่อวิเคราะห์สภาพและปัญหานำไปสู่การเสนอแนวทางปรับปรุงโครงสร้าง และพัฒนาการบริหารจัดการกรมเทคโนโลยีสารสนเทศและอวกาศกลาโหม โดยกำหนดขอบเขตการวิจัย ด้านเนื้อหาไว้ที่การปรับโครงสร้างองค์การแบบบริหารธุรกิจ และการบริหารจัดการองค์การแบบบริหารธุรกิจ ด้านเวลาช่วงเดือน มิ.ย.2558 – ก.ค.2559 ด้านประชากรจำกัดเฉพาะในกลุ่มงานกรมเทคโนโลยีสารสนเทศและอวกาศกลาโหมที่เป็นส่วนราชการเท่านั้น โดยเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ศึกษาข้อมูลพื้นฐานในเรื่องอัตราเฉพาะกิจผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และสัมภาษณ์ (Interviews) ผู้นำ/ผู้บริหารระดับสูง ทั้งในปัจจุบันและในอดีตของกรมเทคโนโลยีสารสนเทศและอวกาศกลาโหมรวม 34 คน
ผู้วิจัยได้วิเคราะห์ในขั้นต้นพบว่า กรมเทคโนโลยีสารสนเทศและอวกาศกลาโหม มีหน้าที่ ภารกิจ ระบบงาน และโครงสร้างที่เกี่ยวเนื่อง เชื่อมโยง ซ้ำซ้อนกับอีก 7 หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จึงนำข้อมูลมาวิเคราะห์ด้วยวิธี SWOT Analysis ใช้แนวคิด McKinsey 7–S Framework และทฤษฎี PESTEL Analysis ได้ผลสรุปว่า เจ้ากรมเทคโนโลยีสารสนเทศและอวกาศกลาโหม ควรมีส่วนร่วมในหารือตามข้อตกลงความร่วมมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศและอวกาศ ร่วมกับหน่วยงานภาครัฐภายนอกกระทรวงกลาโหมและภาคเอกชน ทั้งในมิติของความมั่นคง การผนึกกำลังป้องกันประเทศ และการป้องกันเชิงรุก เพื่อนำมากำหนดยุทธศาสตร์และการดำเนินงาน ควรปรับเปลี่ยนโครงสร้างบริหารภายในของกิจการอวกาศ โดยแยกงานกองกิจการอวกาศออกเป็นหน่วยงานใหม่และยกระดับขึ้นเป็นสำนักงานกิจการอวกาศ เพื่อเพิ่มอำนาจการตัดสินใจให้สอดคล้องกับการทำงานร่วมกับภาคเอกชน ในส่วนระบบการบริหารราชการและการจัดโครงสร้างควรปรับเปลี่ยนประเด็นความรับผิดชอบในการรายงาน/ชี้แจงผลการบริหารราชการ (Line of Authority and Accountability) รองรับโครงสร้างแบบกลุ่มงาน ที่ผู้บริหารสูงสุดของกลุ่มงานเป็นเจ้าภาพหลัก หรือ Single Manager รับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมาย ควบคุม กำกับดูแล รายงานผลการปฏิบัติ และสามารถสั่งการต่อทุกหน่วยได้ตามอำนาจหน้าที่ รวมทั้งปลูกฝังวัฒนธรรมองค์กรค่านิยมในเรื่องเส้นทางในสายอาชีพของบุคคลากร พัฒนาการผู้บริหารระดับสูง – กลางให้เป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง มีนวัตกรรมความคิด ปฏิรูประบบบริหารจัดการและพัฒนากำลังพลในกรม ทั้งระบบการคัดเลือก บรรจุ เลื่อนขั้น/ยศ หรือปรับย้าย บุคลากร
การบริหารจัดการและโครงสร้างอาจต้องปรับรูปแบบ กลายเป็นองค์กรใหม่ที่อาจเรียกว่า “องค์กรเอกชนในกองทัพ” ในลักษณะ 1 เป็นผู้บริหารจัดการดาวเทียมการสื่อสารและดาวเทียมภาพถ่ายเพื่อความมั่นคง 2 มีสภาพการจ้างงานแบบเอกชน ซึ่งสามารถจ้างบุคลากรที่เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน หรือเชี่ยวชาญพิเศษได้ในสภาพการจ้างที่สูงกว่าระเบียบราชการ หาเงินสนับสนุนการทำงาน โดยเฉพาะเงินทุนสนับสนุนการวิจัยและพัฒนา ที่ใช้การขอทุนจากภาคเอกชนสนับสนุนโดยตรง ไม่ต้องผ่านระเบียบราชการ 3 ปรับโครงสร้างการทำงานที่ชัดเจนตามสภาพงานที่แท้จริง ไม่ซ้ำซ้อน และ 4 เป็นศูนย์บัญชาการไซเบอร์กระทรวงกลาโหมCurricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26565 SIU THE-T. การประยุกต์ใช้ทฤษฎีองค์การทางบริหารธุรกิจในการปรับปรุงโครงสร้างหน่วยงานราชการ : กรมเทคโนโลยีสารสนเทศและอวกาศกลาโหม = Application of Business Model Theories on the Improvement of Government Organization Structure: Case Study of Information and Space Technology Department [printed text] / ธัญญลักษณ์ ประเสริฐวิทย์, Author ; วิไลพร เลาหโกศล, Associated Name ; สมชาย รัตนโกมุท, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - xi, 248 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU THE-T: SOM-DBA-2016-04
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2559
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]กรมเทคโนโลยีสารสนเทศและอวกาศกลาโหม -- การบริหาร
[LCSH]หน่วยราชการ -- การปรับปรุงโครงสร้างองค์กร
[LCSH]องค์การ -- การจัดการKeywords: กรมเทคโนโลยีสารสนเทศและอวกาศกลาโหม
การปรับปรุงโครงสร้าง
การบริหารจัดการAbstract: การวิจัยมีวัตถุประสงค์ เพื่อวิเคราะห์สภาพและปัญหานำไปสู่การเสนอแนวทางปรับปรุงโครงสร้าง และพัฒนาการบริหารจัดการกรมเทคโนโลยีสารสนเทศและอวกาศกลาโหม โดยกำหนดขอบเขตการวิจัย ด้านเนื้อหาไว้ที่การปรับโครงสร้างองค์การแบบบริหารธุรกิจ และการบริหารจัดการองค์การแบบบริหารธุรกิจ ด้านเวลาช่วงเดือน มิ.ย.2558 – ก.ค.2559 ด้านประชากรจำกัดเฉพาะในกลุ่มงานกรมเทคโนโลยีสารสนเทศและอวกาศกลาโหมที่เป็นส่วนราชการเท่านั้น โดยเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ศึกษาข้อมูลพื้นฐานในเรื่องอัตราเฉพาะกิจผลงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง และสัมภาษณ์ (Interviews) ผู้นำ/ผู้บริหารระดับสูง ทั้งในปัจจุบันและในอดีตของกรมเทคโนโลยีสารสนเทศและอวกาศกลาโหมรวม 34 คน
ผู้วิจัยได้วิเคราะห์ในขั้นต้นพบว่า กรมเทคโนโลยีสารสนเทศและอวกาศกลาโหม มีหน้าที่ ภารกิจ ระบบงาน และโครงสร้างที่เกี่ยวเนื่อง เชื่อมโยง ซ้ำซ้อนกับอีก 7 หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จึงนำข้อมูลมาวิเคราะห์ด้วยวิธี SWOT Analysis ใช้แนวคิด McKinsey 7–S Framework และทฤษฎี PESTEL Analysis ได้ผลสรุปว่า เจ้ากรมเทคโนโลยีสารสนเทศและอวกาศกลาโหม ควรมีส่วนร่วมในหารือตามข้อตกลงความร่วมมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศและอวกาศ ร่วมกับหน่วยงานภาครัฐภายนอกกระทรวงกลาโหมและภาคเอกชน ทั้งในมิติของความมั่นคง การผนึกกำลังป้องกันประเทศ และการป้องกันเชิงรุก เพื่อนำมากำหนดยุทธศาสตร์และการดำเนินงาน ควรปรับเปลี่ยนโครงสร้างบริหารภายในของกิจการอวกาศ โดยแยกงานกองกิจการอวกาศออกเป็นหน่วยงานใหม่และยกระดับขึ้นเป็นสำนักงานกิจการอวกาศ เพื่อเพิ่มอำนาจการตัดสินใจให้สอดคล้องกับการทำงานร่วมกับภาคเอกชน ในส่วนระบบการบริหารราชการและการจัดโครงสร้างควรปรับเปลี่ยนประเด็นความรับผิดชอบในการรายงาน/ชี้แจงผลการบริหารราชการ (Line of Authority and Accountability) รองรับโครงสร้างแบบกลุ่มงาน ที่ผู้บริหารสูงสุดของกลุ่มงานเป็นเจ้าภาพหลัก หรือ Single Manager รับผิดชอบงานที่ได้รับมอบหมาย ควบคุม กำกับดูแล รายงานผลการปฏิบัติ และสามารถสั่งการต่อทุกหน่วยได้ตามอำนาจหน้าที่ รวมทั้งปลูกฝังวัฒนธรรมองค์กรค่านิยมในเรื่องเส้นทางในสายอาชีพของบุคคลากร พัฒนาการผู้บริหารระดับสูง – กลางให้เป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง มีนวัตกรรมความคิด ปฏิรูประบบบริหารจัดการและพัฒนากำลังพลในกรม ทั้งระบบการคัดเลือก บรรจุ เลื่อนขั้น/ยศ หรือปรับย้าย บุคลากร
การบริหารจัดการและโครงสร้างอาจต้องปรับรูปแบบ กลายเป็นองค์กรใหม่ที่อาจเรียกว่า “องค์กรเอกชนในกองทัพ” ในลักษณะ 1 เป็นผู้บริหารจัดการดาวเทียมการสื่อสารและดาวเทียมภาพถ่ายเพื่อความมั่นคง 2 มีสภาพการจ้างงานแบบเอกชน ซึ่งสามารถจ้างบุคลากรที่เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน หรือเชี่ยวชาญพิเศษได้ในสภาพการจ้างที่สูงกว่าระเบียบราชการ หาเงินสนับสนุนการทำงาน โดยเฉพาะเงินทุนสนับสนุนการวิจัยและพัฒนา ที่ใช้การขอทุนจากภาคเอกชนสนับสนุนโดยตรง ไม่ต้องผ่านระเบียบราชการ 3 ปรับโครงสร้างการทำงานที่ชัดเจนตามสภาพงานที่แท้จริง ไม่ซ้ำซ้อน และ 4 เป็นศูนย์บัญชาการไซเบอร์กระทรวงกลาโหมCurricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26565 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000592152 SIU THE-T: SOM-DBA-2016-04 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000592160 SIU THE-T: SOM-DBA-2016-04 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของบริษัท สวนอุสาหกรรมโรจนะจำกัด (มหาชน) จังหวัดระยอง / ชัชวาลย์ สดภิบาล / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2014
Collection Title: SIU IS-T Title : การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของบริษัท สวนอุสาหกรรมโรจนะจำกัด (มหาชน) จังหวัดระยอง Original title : Human Resource Development of Rojana Industrial Park Public Company Limited, Rayong Province Material Type: printed text Authors: ชัชวาลย์ สดภิบาล, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2014 Pagination: viii, 81 หน้า Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-24
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]Human resource management
[LCSH]ทรัพยากรมนุษย์ -- การบริหาร
[LCSH]ระยอง
[LCSH]อุตสาหกรรม -- การบริหารKeywords: การบริหารทรัพยากรมนุษย์ Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพือ 1) เพื่อศึกษาระดับความคิดเห็นของพนักงานเกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรมนุษย์ของบริษัท สวนอุตสาหกรรมโรจนะ จำกัด (มหาชน) จังหวัดระยอง 2) เพื่อเปรียบเทียบระดับความคิดเห็นของพนักงานเกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรมนุษย์ของบริษัท สวนอุตสาหกรรมโรจนะ จำกัด (มหาชน) จังหวัดระยอง Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26105 SIU IS-T. การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของบริษัท สวนอุสาหกรรมโรจนะจำกัด (มหาชน) จังหวัดระยอง = Human Resource Development of Rojana Industrial Park Public Company Limited, Rayong Province [printed text] / ชัชวาลย์ สดภิบาล, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014 . - viii, 81 หน้า : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-24
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]Human resource management
[LCSH]ทรัพยากรมนุษย์ -- การบริหาร
[LCSH]ระยอง
[LCSH]อุตสาหกรรม -- การบริหารKeywords: การบริหารทรัพยากรมนุษย์ Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพือ 1) เพื่อศึกษาระดับความคิดเห็นของพนักงานเกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรมนุษย์ของบริษัท สวนอุตสาหกรรมโรจนะ จำกัด (มหาชน) จังหวัดระยอง 2) เพื่อเปรียบเทียบระดับความคิดเห็นของพนักงานเกี่ยวกับการบริหารทรัพยากรมนุษย์ของบริษัท สวนอุตสาหกรรมโรจนะ จำกัด (มหาชน) จังหวัดระยอง Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26105 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000590263 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-24 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available 32002000590552 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-24 c.2 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available 32002000590586 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-24 c.3 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available