From this page you can:
Home |
Search results
96 result(s) search for keyword(s) 'วิชาชีพพยาบาล. พยาบาลวิชาชีพ. โรงพยาบาล.'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ลักษณะงานและปัจจัยด้านองค์การกับความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของ / ลดาวัลย์ ราชธนบริบาล / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2544
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ลักษณะงานและปัจจัยด้านองค์การกับความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของ : พยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลสังกัดกระทรวงกลาโหม Original title : Relationships between personal factors job characteristics organizational factors and organizational commitment of professional nurses hospitals under the jurisdiction of The Ministry of defense Material Type: printed text Authors: ลดาวัลย์ ราชธนบริบาล, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2544 Pagination: ฌ, 109 แผ่น Layout: ตารางประกอบ Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974170-418-6 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย. ม. [การบริหารการพยาบาล]] - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2544 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ความผูกพันต่อองค์กร
[LCSH]วิชาชีพพยาบาล
[LCSH]วิทยานิพนธ์
[LCSH]โรงพยาบาลของรัฐ -- การบริหาร
[LCSH]โรงพยาบาลสังกัดกระทราวงกลาโหมKeywords: วิชาชีพพยาบาล.
พยาบาลวิชาชีพ.
โรงพยาบาล.Class number: WY125 ล742 2544 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23120 ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ลักษณะงานและปัจจัยด้านองค์การกับความยึดมั่นผูกพันต่อองค์การของ = Relationships between personal factors job characteristics organizational factors and organizational commitment of professional nurses hospitals under the jurisdiction of The Ministry of defense : พยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลสังกัดกระทรวงกลาโหม [printed text] / ลดาวัลย์ ราชธนบริบาล, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544 . - ฌ, 109 แผ่น : ตารางประกอบ ; 30 ซม.
ISSN : 978-974170-418-6 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย. ม. [การบริหารการพยาบาล]] - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2544
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ความผูกพันต่อองค์กร
[LCSH]วิชาชีพพยาบาล
[LCSH]วิทยานิพนธ์
[LCSH]โรงพยาบาลของรัฐ -- การบริหาร
[LCSH]โรงพยาบาลสังกัดกระทราวงกลาโหมKeywords: วิชาชีพพยาบาล.
พยาบาลวิชาชีพ.
โรงพยาบาล.Class number: WY125 ล742 2544 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23120 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354520 WY125 ล742 2544 Thesis Main Library Thesis Corner Available การปฏิบัติบทบาทของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชน / อุษนันท์ อินทมาศน์, / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2546
Title : การปฏิบัติบทบาทของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชน Original title : Role performance of professional nurse in community hospital Material Type: printed text Authors: อุษนันท์ อินทมาศน์, (2518-), Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2546 Pagination: ก-ฌ, 117 แผ่น Layout: ตาราง Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-175-780-3 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]].--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2546 Languages : English (eng) Descriptors: [LCSH]บทบาทที่คาดหวัง
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพ
[LCSH]วิชาชีพพยาบาล
[LCSH]โรงพยาบาลชุมชนKeywords: พยาบาลวิชาชีพ.
โรงพยาบาลชุมชน.
บทบาท.
หน้าที่.Class number: WY100 อ948 2546 Abstract: การวิจัยเชิงคุณภาพนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสบการณ์การปฏิบัติบทบาทของพยาบาลวิชาชีพ และศึกษาเงื่อนไขหรือปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติบทบาทของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชน โดยศึกษาในโรงพยาบาลชุมชน ขนาด 30 เตียง ในเขตภาคเหนือตอนล่าง จำนวน 1 แห่ง ใช้วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (Indepth interview) จากพยาบาลวิชาชีพที่มีประสบการณ์การปฏิบัติงาน 3 ปี ขึ้นไป จำนวน 16 คน แล้ววิเคราะห์เนื้อหาจากข้อมูลที่ได้ ผลการศึกษาพบว่า พยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชนมีการปฏิบัติบทบาทด้านการบริการสุขภาพประกอบด้วยบทบาทด้านการปฏิบัติการพยาบาล บทบาทด้านการบริหารจัดการ และบทบาทด้านวิชาการ ซึ่ง พยาบาลวิชาชีพมีการปฏิบัติหน้าที่เกินขอบเขตในเรื่องการรักษาโรค โดยพยาบาลวิชาชีพได้ให้บริการรักษานอกเวลาราชการแก่ผู้รับบริการที่เจ็บป่วยเล็กน้อยถึงรุนแรง การปฏิบัติบทบาทเกินขอบเขตทำให้พยาบาลวิชาชีพมีความคับข้องใจและไม่มั่นใจในการทำงานพยาบาลวิชาชีพรับรู้บทบาทหน้าที่ของตนและต้องการให้งานการพยาบาลเป็นไปตามขอบเขตที่กำหนด แต่ด้วยความจำเป็นด้านบุคลากร ทำให้พยาบาลวิชาชีพต้องปฏิบัติหน้าที่ด้านการรักษาต่อไป ในการปฏิบัติบทบาทด้านการบริหารงานพบว่า พยาบาลวิชาชีพมีบทบาทเป็นผู้นำในการบริหารงาน มีส่วนร่วมหรือเป็นผู้ประสานงานด้านการบริหาร และการบริหารงานในโครงการเฉพาะกิจ ภาระงานที่มีปริมาณมากเกินขีดความสามารถ ประกอบกับเวลาที่จำกัดทำให้พยาบาลวิชาชีพรู้สึกไม่มีเวลาในการพักผ่อน อีกทั้งการได้รับมอบหมายงานที่ไม่มีความสนใจ ทำให้ไม่มีความกระตือรือร้นในการปฏิบัติงาน การทำงานไม่ครบถ้วนสมบูรณ์และขาดประสิทธิภาพ อนึ่งภาระงานที่เหมาะสมจะเป็นการท้าทายความสามารถและก่อให้เกิดการพัฒนาความสามารถได้ ทางด้านการปฏิบัติบทบาทด้านวิชาการพบว่า พยาบาลวิชาชีพรับรู้ว่าตนปฏิบัติบทบาทด้านวิชาการแก่ผู้รับบริการอย่างสม่ำเสมอ โดยเฉพาะการให้ความรู้เป็นรายบุคคลแก่ผู้รับบริการในแผนกที่ตนปฏิบัติงานอยู่ แต่การปฏิบัติบทบาทด้านวิชาการในหน่วยงานมีน้อย เนื่องจากนโยบายด้านวิชาการของหน่วยงานไม่ชัดเจน ขาดการสนับสนุนให้มีการพัฒนาตนเอง ซึ่งพยาบาลวิชาชีพมีความต้องการพัฒนาตนเองอยู่เสมอและพยายามที่จะแสวงหาโอกาสการพัฒนาด้วยตนเอง แม้ว่าพยาบาลวิชาชีพจะมีความคับข้องใจที่ต้องปฏิบัติบทบาทเกินขอบเขตหน้าที่ แต่ก็จำเป็นต้องปฏิบัติ โดยมีมุมมองในเชิงบวกว่าเป็นเพราะหน่วยงานขาดแคลนบุคลากร อีกทั้งต้องการให้หน่วยงานเป็นที่ยอมรับของผู้รับบริการ พยาบาลวิชาชีพต้องการพัฒนาศักยภาพของตน เกี่ยวกับความรู้และทักษะด้านเวชปฏิบัติเพื่อนำมาใช้ในการปฏิบัติงานด้านการรักษา นอกจากนี้ได้เสนอแนะว่าการปฏิบัติงานด้านการรักษาโรค ควรมีการมอบหมายงานและกำหนดขอบเขตเป็นลายลักษณ์อักษร มีการควบคุมดูแลโดยแพทย์อย่างใกล้ชิดเพื่อไม่ให้เกิดข้อผิดพลาดในการปฏิบัติงาน Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23174 การปฏิบัติบทบาทของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชน = Role performance of professional nurse in community hospital [printed text] / อุษนันท์ อินทมาศน์, (2518-), Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546 . - ก-ฌ, 117 แผ่น : ตาราง ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-175-780-3 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]].--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2546
Languages : English (eng)
Descriptors: [LCSH]บทบาทที่คาดหวัง
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพ
[LCSH]วิชาชีพพยาบาล
[LCSH]โรงพยาบาลชุมชนKeywords: พยาบาลวิชาชีพ.
โรงพยาบาลชุมชน.
บทบาท.
หน้าที่.Class number: WY100 อ948 2546 Abstract: การวิจัยเชิงคุณภาพนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสบการณ์การปฏิบัติบทบาทของพยาบาลวิชาชีพ และศึกษาเงื่อนไขหรือปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติบทบาทของพยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชน โดยศึกษาในโรงพยาบาลชุมชน ขนาด 30 เตียง ในเขตภาคเหนือตอนล่าง จำนวน 1 แห่ง ใช้วิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก (Indepth interview) จากพยาบาลวิชาชีพที่มีประสบการณ์การปฏิบัติงาน 3 ปี ขึ้นไป จำนวน 16 คน แล้ววิเคราะห์เนื้อหาจากข้อมูลที่ได้ ผลการศึกษาพบว่า พยาบาลวิชาชีพในโรงพยาบาลชุมชนมีการปฏิบัติบทบาทด้านการบริการสุขภาพประกอบด้วยบทบาทด้านการปฏิบัติการพยาบาล บทบาทด้านการบริหารจัดการ และบทบาทด้านวิชาการ ซึ่ง พยาบาลวิชาชีพมีการปฏิบัติหน้าที่เกินขอบเขตในเรื่องการรักษาโรค โดยพยาบาลวิชาชีพได้ให้บริการรักษานอกเวลาราชการแก่ผู้รับบริการที่เจ็บป่วยเล็กน้อยถึงรุนแรง การปฏิบัติบทบาทเกินขอบเขตทำให้พยาบาลวิชาชีพมีความคับข้องใจและไม่มั่นใจในการทำงานพยาบาลวิชาชีพรับรู้บทบาทหน้าที่ของตนและต้องการให้งานการพยาบาลเป็นไปตามขอบเขตที่กำหนด แต่ด้วยความจำเป็นด้านบุคลากร ทำให้พยาบาลวิชาชีพต้องปฏิบัติหน้าที่ด้านการรักษาต่อไป ในการปฏิบัติบทบาทด้านการบริหารงานพบว่า พยาบาลวิชาชีพมีบทบาทเป็นผู้นำในการบริหารงาน มีส่วนร่วมหรือเป็นผู้ประสานงานด้านการบริหาร และการบริหารงานในโครงการเฉพาะกิจ ภาระงานที่มีปริมาณมากเกินขีดความสามารถ ประกอบกับเวลาที่จำกัดทำให้พยาบาลวิชาชีพรู้สึกไม่มีเวลาในการพักผ่อน อีกทั้งการได้รับมอบหมายงานที่ไม่มีความสนใจ ทำให้ไม่มีความกระตือรือร้นในการปฏิบัติงาน การทำงานไม่ครบถ้วนสมบูรณ์และขาดประสิทธิภาพ อนึ่งภาระงานที่เหมาะสมจะเป็นการท้าทายความสามารถและก่อให้เกิดการพัฒนาความสามารถได้ ทางด้านการปฏิบัติบทบาทด้านวิชาการพบว่า พยาบาลวิชาชีพรับรู้ว่าตนปฏิบัติบทบาทด้านวิชาการแก่ผู้รับบริการอย่างสม่ำเสมอ โดยเฉพาะการให้ความรู้เป็นรายบุคคลแก่ผู้รับบริการในแผนกที่ตนปฏิบัติงานอยู่ แต่การปฏิบัติบทบาทด้านวิชาการในหน่วยงานมีน้อย เนื่องจากนโยบายด้านวิชาการของหน่วยงานไม่ชัดเจน ขาดการสนับสนุนให้มีการพัฒนาตนเอง ซึ่งพยาบาลวิชาชีพมีความต้องการพัฒนาตนเองอยู่เสมอและพยายามที่จะแสวงหาโอกาสการพัฒนาด้วยตนเอง แม้ว่าพยาบาลวิชาชีพจะมีความคับข้องใจที่ต้องปฏิบัติบทบาทเกินขอบเขตหน้าที่ แต่ก็จำเป็นต้องปฏิบัติ โดยมีมุมมองในเชิงบวกว่าเป็นเพราะหน่วยงานขาดแคลนบุคลากร อีกทั้งต้องการให้หน่วยงานเป็นที่ยอมรับของผู้รับบริการ พยาบาลวิชาชีพต้องการพัฒนาศักยภาพของตน เกี่ยวกับความรู้และทักษะด้านเวชปฏิบัติเพื่อนำมาใช้ในการปฏิบัติงานด้านการรักษา นอกจากนี้ได้เสนอแนะว่าการปฏิบัติงานด้านการรักษาโรค ควรมีการมอบหมายงานและกำหนดขอบเขตเป็นลายลักษณ์อักษร มีการควบคุมดูแลโดยแพทย์อย่างใกล้ชิดเพื่อไม่ให้เกิดข้อผิดพลาดในการปฏิบัติงาน Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23174 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000355493 WY100 อ948 2546 Thesis Main Library Thesis Corner Available การให้บริการสุขภาพเชิงรุกของพยาบาลที่ปฎิบัติงาน / สุภาพร เสือรอด in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 ([09/07/2015])
[article]
Title : การให้บริการสุขภาพเชิงรุกของพยาบาลที่ปฎิบัติงาน : ในโรงพยาบ่าลชุมชนพื่นที่ติดชายแดนภาคตะวันตก Original title : Proactive health care service of nurseworking in a community hospital at west Material Type: printed text Authors: สุภาพร เสือรอด, Author ; อารีย์วรรณ อ่วมตานี, Author Publication Date: 2015 Article on page: p.79-87 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 [09/07/2015] . - p.79-87Keywords: การบริการสุขภาพเชิงรุก.การบริการทางการพยาบาล.พยาบาลวิชาชีพ.โรงพยาบาลชุมชนชายแดนภาคตะวันออก. Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ บรรยายการให้บริการสุขภาพเชิงรุกของพยาบาลที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลชุมชนพื้นที่ติดชายแดนตะวันตก โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยแบบปรากฎการณ์วิทยาการตีความตามแนวคิดของ Heidegger คัดเลือกผู้ให้ข้อมูลแบบเฉพาะเจาะจง โดยผู้ให้ข้อมูล คือ พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติงานเชิงรุกในโรงพยาบาลชุมชน พื้นที่ติดชายแดนภาคะวันตก มีความยินดีในการเข้าร่วมการวิจัยครั้งนี้ จำนวน 15 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์แบบเจาะจงและการบันทึกเทป ร่วมกับการบันทึกภาคสนาม นำข้อมูลที่ได้มาถอดความแบบคำต่อคำ และวิเคราะหฺ์ข้อมูลโดยวิธีการตีความของ Van Manen (1990) ผลการศึกษามีดังนี้ 1 ร่วมวางแผนการเดินทางกับทุกภาคส่วน 2 เดินทางเข้าหมู่บ้านผ่านเส้นทางอันตราย ต้องใช้ผู้ชำนาญทาง 3 เข้าถึงพื้นที่ เริ่มงานทันที ตามหน้าที่ที่แบ่งกัน 4 ออกจากพื้นที่ไปให้ถึงอีกพื้นที่ก่อนพลบค่ำ 5 ดำเนินการตรวจรักษาชาวบ้านมากหน้าหลายตามารอรับบริการ และ 6 เสร็จงานออกจากพื้นที่ บางครั้งมีปัญหากลับโรงพยาบาลล่าช้ากว่ากำหนด Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24955 [article] การให้บริการสุขภาพเชิงรุกของพยาบาลที่ปฎิบัติงาน = Proactive health care service of nurseworking in a community hospital at west : ในโรงพยาบ่าลชุมชนพื่นที่ติดชายแดนภาคตะวันตก [printed text] / สุภาพร เสือรอด, Author ; อารีย์วรรณ อ่วมตานี, Author . - 2015 . - p.79-87.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 [09/07/2015] . - p.79-87Keywords: การบริการสุขภาพเชิงรุก.การบริการทางการพยาบาล.พยาบาลวิชาชีพ.โรงพยาบาลชุมชนชายแดนภาคตะวันออก. Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ บรรยายการให้บริการสุขภาพเชิงรุกของพยาบาลที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลชุมชนพื้นที่ติดชายแดนตะวันตก โดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยแบบปรากฎการณ์วิทยาการตีความตามแนวคิดของ Heidegger คัดเลือกผู้ให้ข้อมูลแบบเฉพาะเจาะจง โดยผู้ให้ข้อมูล คือ พยาบาลวิชาชีพปฏิบัติงานเชิงรุกในโรงพยาบาลชุมชน พื้นที่ติดชายแดนภาคะวันตก มีความยินดีในการเข้าร่วมการวิจัยครั้งนี้ จำนวน 15 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์แบบเจาะจงและการบันทึกเทป ร่วมกับการบันทึกภาคสนาม นำข้อมูลที่ได้มาถอดความแบบคำต่อคำ และวิเคราะหฺ์ข้อมูลโดยวิธีการตีความของ Van Manen (1990) ผลการศึกษามีดังนี้ 1 ร่วมวางแผนการเดินทางกับทุกภาคส่วน 2 เดินทางเข้าหมู่บ้านผ่านเส้นทางอันตราย ต้องใช้ผู้ชำนาญทาง 3 เข้าถึงพื้นที่ เริ่มงานทันที ตามหน้าที่ที่แบ่งกัน 4 ออกจากพื้นที่ไปให้ถึงอีกพื้นที่ก่อนพลบค่ำ 5 ดำเนินการตรวจรักษาชาวบ้านมากหน้าหลายตามารอรับบริการ และ 6 เสร็จงานออกจากพื้นที่ บางครั้งมีปัญหากลับโรงพยาบาลล่าช้ากว่ากำหนด Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24955 ความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มแข็งอดทน การสนับสนุนจากผู้บังคับบัญชากับความยึดมั่นผูกพันต่อวิชาชีพของพยาบาลประจำการโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงกลาโหม / สุธิดา เรืองเพ็ง / 2550
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มแข็งอดทน การสนับสนุนจากผู้บังคับบัญชากับความยึดมั่นผูกพันต่อวิชาชีพของพยาบาลประจำการโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงกลาโหม Original title : Relationships between hardiness, director support and professional commitment of staff nurses, hospitals under the jurisdiction of the Ministry of Defense Material Type: printed text Authors: สุธิดา เรืองเพ็ง, Author Publication Date: 2550 Pagination: ก-ญ, 113 แผ่น Layout: ตารางประกอบ Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2550 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ความผูกพันต่อองค์กร
[LCSH]ผู้บังคับบัญชา
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพ
[LCSH]โรงพยาบาลสังกัดกระทราวงกลาโหมKeywords: พยาบาลวิชาชีพ.
ผู้บังคับบัญชา.
โรงพยาบาลสังกัดกระทรวงกลาโหม.Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มแข็งอดทน การสนับสนุนจากผู้บังคับบัญชากับความยึดมั่นผูกพันต่อวิชาชีพของพยาบาลประจำการโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงกลาโหม กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงกลาโหม จำนวน 386 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามจำนวน 1 ชุด แบ่งเป็น 4 ตอน คือ แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามความเข้มแข็งอดทน แบบสอบถามการสนับสนุนจากผู้บังคับบัญชา และแบบสอบถามความยึดมั่นผูกพันต่อวิชาชีพ ตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหา และหาค่าความเที่ยงแบบสอบถามโดยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาคได้เท่ากับ .89, .84 และ .85 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและ สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ความยึดมั่นผูกพันต่อวิชาชีพของพยาบาลประจำการโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงกลาโหม อยู่ในระดับมาก (X= 3.79 S.D. = .40) 2. ความเข้มแข็งอดทนและ การสนับสนุนจากผู้บังคับบัญชาของพยาบาลประจำการโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงกลาโหมอยู่ในระดับมาก ( X = 3.92 S.D. = .36 และ X = 3.68 S.D. = .65 ตามลำดับ) 3. ความเข้มแข็งอดทนและการสนับสนุนจากผู้บังคับบัญชามีความสัมพันธ์ทางบวกกับความยึดมั่นผูกพันต่อวิชาชีพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = .44 และ .26 ตามลำดับ) Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23221 ความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มแข็งอดทน การสนับสนุนจากผู้บังคับบัญชากับความยึดมั่นผูกพันต่อวิชาชีพของพยาบาลประจำการโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงกลาโหม = Relationships between hardiness, director support and professional commitment of staff nurses, hospitals under the jurisdiction of the Ministry of Defense [printed text] / สุธิดา เรืองเพ็ง, Author . - 2550 . - ก-ญ, 113 แผ่น : ตารางประกอบ ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2550
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ความผูกพันต่อองค์กร
[LCSH]ผู้บังคับบัญชา
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพ
[LCSH]โรงพยาบาลสังกัดกระทราวงกลาโหมKeywords: พยาบาลวิชาชีพ.
ผู้บังคับบัญชา.
โรงพยาบาลสังกัดกระทรวงกลาโหม.Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มแข็งอดทน การสนับสนุนจากผู้บังคับบัญชากับความยึดมั่นผูกพันต่อวิชาชีพของพยาบาลประจำการโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงกลาโหม กลุ่มตัวอย่างคือ พยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงกลาโหม จำนวน 386 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามจำนวน 1 ชุด แบ่งเป็น 4 ตอน คือ แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสอบถามความเข้มแข็งอดทน แบบสอบถามการสนับสนุนจากผู้บังคับบัญชา และแบบสอบถามความยึดมั่นผูกพันต่อวิชาชีพ ตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหา และหาค่าความเที่ยงแบบสอบถามโดยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาคได้เท่ากับ .89, .84 และ .85 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและ สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. ความยึดมั่นผูกพันต่อวิชาชีพของพยาบาลประจำการโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงกลาโหม อยู่ในระดับมาก (X= 3.79 S.D. = .40) 2. ความเข้มแข็งอดทนและ การสนับสนุนจากผู้บังคับบัญชาของพยาบาลประจำการโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงกลาโหมอยู่ในระดับมาก ( X = 3.92 S.D. = .36 และ X = 3.68 S.D. = .65 ตามลำดับ) 3. ความเข้มแข็งอดทนและการสนับสนุนจากผู้บังคับบัญชามีความสัมพันธ์ทางบวกกับความยึดมั่นผูกพันต่อวิชาชีพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = .44 และ .26 ตามลำดับ) Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23221 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354991 WY125 ส844 2550 Thesis Main Library Thesis Corner Available ความสัมพันธ์ระหว่างบรรยากาศองค์การ การสอนแนะกับสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลศูนย์ / วิมล มาดิษฐ์ / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2547
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างบรรยากาศองค์การ การสอนแนะกับสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลศูนย์ Original title : Relationships between organization climate, coaching and competencies of professional nurses, regional hospital and medical centers Material Type: printed text Authors: วิมล มาดิษฐ์, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2547 Pagination: ก-ญ, 138 แผ่น Layout: ตาราง Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-532-088-9 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย. ม. [การบริหารการพยาบาล]] - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]บริการการพยาบาล
[LCSH]บริการการพยาบาล -- การควบคุมคุณภาพ
[LCSH]พยาบาล -- กลุ่มทำงาน
[LCSH]พฤติกรรมองค์กร
[LCSH]โรงพยาบาลศูนย์Keywords: โรงพยาบาลศูนย์.
พยาบาลวิชาชีพ.Class number: WY100 ว736 2547 Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพและศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างบรรยากาศองค์การ การสอนแนะ กับสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลศูนย์กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลวิชาชีพระดับปฏิบัติการ โรงพยาบาลศูนย์ ที่มีประสบการณ์การทำงาน 1 ปีขึ้นไป จำนวน 378 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วยแบบสอบถามบรรยากาศองค์การ แบบสอบถามการสอนแนะ และแบบสอบถามสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพ ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ และหาความเที่ยง โดยใช้สูตรสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาค ได้ค่าความเที่ยงเท่ากับ .92 .91 และ .92 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. บรรยากาศองค์การ การสอนแนะ และสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลศูนย์อยู่ในระดับสุง ([Mean] = 3.86, 3.80 และ 3.74 ตามลำดับ) 2. บรรยากาศองค์การ การสอนแนะ มีความสัมพันธ์ทางบวกกับสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = .553 และ .546 ตามลำดับ)
Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23134 ความสัมพันธ์ระหว่างบรรยากาศองค์การ การสอนแนะกับสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลศูนย์ = Relationships between organization climate, coaching and competencies of professional nurses, regional hospital and medical centers [printed text] / วิมล มาดิษฐ์, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547 . - ก-ญ, 138 แผ่น : ตาราง ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-532-088-9 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย. ม. [การบริหารการพยาบาล]] - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]บริการการพยาบาล
[LCSH]บริการการพยาบาล -- การควบคุมคุณภาพ
[LCSH]พยาบาล -- กลุ่มทำงาน
[LCSH]พฤติกรรมองค์กร
[LCSH]โรงพยาบาลศูนย์Keywords: โรงพยาบาลศูนย์.
พยาบาลวิชาชีพ.Class number: WY100 ว736 2547 Abstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพและศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างบรรยากาศองค์การ การสอนแนะ กับสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลศูนย์กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลวิชาชีพระดับปฏิบัติการ โรงพยาบาลศูนย์ ที่มีประสบการณ์การทำงาน 1 ปีขึ้นไป จำนวน 378 คน ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วยแบบสอบถามบรรยากาศองค์การ แบบสอบถามการสอนแนะ และแบบสอบถามสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพ ตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ และหาความเที่ยง โดยใช้สูตรสัมประสิทธิ์แอลฟ่าของครอนบาค ได้ค่าความเที่ยงเท่ากับ .92 .91 และ .92 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการแจกแจงความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. บรรยากาศองค์การ การสอนแนะ และสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลศูนย์อยู่ในระดับสุง ([Mean] = 3.86, 3.80 และ 3.74 ตามลำดับ) 2. บรรยากาศองค์การ การสอนแนะ มีความสัมพันธ์ทางบวกกับสมรรถนะของพยาบาลวิชาชีพ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r = .553 และ .546 ตามลำดับ)
Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23134 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354645 WY100 ว736 2547 Thesis Main Library Thesis Corner Available บทบาทหัวหน้าพยาบาลโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐที่พึงประสงค์ในทศวรรษหน้า (พ.ศ. 25512560) / วิภาวรรณ บัวสรวง / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2550
Title : บทบาทหัวหน้าพยาบาลโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐที่พึงประสงค์ในทศวรรษหน้า (พ.ศ. 25512560) Original title : The Desirable roles of nursing directors, government university hospitals, in the next decade (A.D. 2008-2017) Material Type: printed text Authors: วิภาวรรณ บัวสรวง, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2550 Pagination: ก-ฏ, 188 แผ่น Layout: ตารางประกอบ Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย. ม [การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2550 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารคุณภาพโดยรวม
[LCSH]การบริหารงานบุคคล
[LCSH]บทบาทที่คาดหวัง
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพKeywords: การบริหารงานบุคคล.
การบริหาร.
โรงพยาบาล.
พยาบาลวิชาชีพ.Class number: WX150 ว736 2550 Abstract: วัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาบทบาทหัวหน้าพยาบาลโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐที่พึงประสงค์ในทศวรรษหน้า (พ.ศ. 2551-2560) โดยใช้เทคนิค EDFR กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้เชี่ยวชาญจำนวน 25 คน คัดเลือกตามคุณสมบัติที่กำหนดไว้ โดยเป็นผู้เชี่ยวชาญที่มีความรู้ และประสบการณ์ตรงกับปัญหาการวิจัย และยินดีร่วมมือในการวิจัย ประกอบด้วย กลุ่มผู้เชี่ยวชาญด้านการบริหารโรงพยาบาล ด้านการบริหารการพยาบาล ด้านการศึกษาพยาบาล ด้านองค์การวิชาชีพพยาบาล และด้านนโยบายและองค์การสุขภาพ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสัมภาษณ์ปลายเปิดในรอบที่ 1 ส่วนรอบที่ 2 และรอบที่ 3 เป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่าใช้ระยะเวลาเก็บรวบรวมข้อมูล 93 วัน วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่ามัธยฐานและค่าพิสัยระหว่างควอไทล์
ผลการวิจัยพบว่า บทบาทหัวหนัาพยาบาลโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐที่พึงประสงค์ในทศวรรษหน้า (2551-2560) ที่ผู้เชี่ยวชาญมีความคิดเห็นสอดคล้องกัน ประกอบด้วยบทบาทย่อย 69 ข้อ เป็นบทบาทที่มีระดับความสำคัญมากที่สุด 56 ข้อ และระดับความสำคัญมาก 13 ข้อ จำแนกเป็น 9 ด้านดังนี้
1. ภาวะผู้นำ 2. การบริหารจัดการ 3. การพัฒนาคุณภาพบริการพยาบาล 4. พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 5. พัฒนาวิชาชีพ 6. วิชาการและการวิจัย 7. ด้านการจัดการการเิงิน 8. ด้านการจัดการสารสนเทศทางการพยาบาล 9. ด้านการอำนวยความสะดวกRecord link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23231 บทบาทหัวหน้าพยาบาลโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐที่พึงประสงค์ในทศวรรษหน้า (พ.ศ. 25512560) = The Desirable roles of nursing directors, government university hospitals, in the next decade (A.D. 2008-2017) [printed text] / วิภาวรรณ บัวสรวง, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2550 . - ก-ฏ, 188 แผ่น : ตารางประกอบ ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย. ม [การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2550
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารคุณภาพโดยรวม
[LCSH]การบริหารงานบุคคล
[LCSH]บทบาทที่คาดหวัง
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพKeywords: การบริหารงานบุคคล.
การบริหาร.
โรงพยาบาล.
พยาบาลวิชาชีพ.Class number: WX150 ว736 2550 Abstract: วัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาบทบาทหัวหน้าพยาบาลโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐที่พึงประสงค์ในทศวรรษหน้า (พ.ศ. 2551-2560) โดยใช้เทคนิค EDFR กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้เชี่ยวชาญจำนวน 25 คน คัดเลือกตามคุณสมบัติที่กำหนดไว้ โดยเป็นผู้เชี่ยวชาญที่มีความรู้ และประสบการณ์ตรงกับปัญหาการวิจัย และยินดีร่วมมือในการวิจัย ประกอบด้วย กลุ่มผู้เชี่ยวชาญด้านการบริหารโรงพยาบาล ด้านการบริหารการพยาบาล ด้านการศึกษาพยาบาล ด้านองค์การวิชาชีพพยาบาล และด้านนโยบายและองค์การสุขภาพ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสัมภาษณ์ปลายเปิดในรอบที่ 1 ส่วนรอบที่ 2 และรอบที่ 3 เป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่าใช้ระยะเวลาเก็บรวบรวมข้อมูล 93 วัน วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่ามัธยฐานและค่าพิสัยระหว่างควอไทล์
ผลการวิจัยพบว่า บทบาทหัวหนัาพยาบาลโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยของรัฐที่พึงประสงค์ในทศวรรษหน้า (2551-2560) ที่ผู้เชี่ยวชาญมีความคิดเห็นสอดคล้องกัน ประกอบด้วยบทบาทย่อย 69 ข้อ เป็นบทบาทที่มีระดับความสำคัญมากที่สุด 56 ข้อ และระดับความสำคัญมาก 13 ข้อ จำแนกเป็น 9 ด้านดังนี้
1. ภาวะผู้นำ 2. การบริหารจัดการ 3. การพัฒนาคุณภาพบริการพยาบาล 4. พัฒนาทรัพยากรมนุษย์ 5. พัฒนาวิชาชีพ 6. วิชาการและการวิจัย 7. ด้านการจัดการการเิงิน 8. ด้านการจัดการสารสนเทศทางการพยาบาล 9. ด้านการอำนวยความสะดวกRecord link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23231 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000355022 WX150 ว736 2550 Thesis Main Library Thesis Corner Available ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อสภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานที่ดีของพยาบาลวิาชีพ / ปาริชาติ รัตนราช in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 ([08/21/2017])
[article]
Title : ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อสภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานที่ดีของพยาบาลวิาชีพ : โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ จังหวัดอุบลราชธานี Original title : Factor affecting positive practice enviromenta; of registered nurse in Sanpasithiprasong hospital UbonRatchathani province Material Type: printed text Authors: ปาริชาติ รัตนราช, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.74-81 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.74-81Keywords: พยาบาลวิชาชีพ.ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง.ทุนทางจิตวิทยาเชิงบวก.สภาพแวดล้อมการปฏิบัติงาน.โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์.จังหวัดอุบลราชธานี. Abstract: เป็นการวิจัยเชิงบรรยาย วัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1.ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วยทุนทางจิตวิทยาเชิงบวก และสภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานที่ดีของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ 2. ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย ทุนทางจิตวิทยาเชิงบวก กับสภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานที่ดีของพยาบาลวิชาชีพ 3. ตัวแปรที่ทำนายสภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานที่ดีของพยาบาลวิชาชีพ จำนวน 107 คน ซึ่งได้จากการสุ่มแบบมีระบบ เก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถามภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย ทุนทางจิตวิทยาเชิงบวก และสภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานที่ดี ค่าความเที่ยงของแบบสอบถามเท่ากับ 0.98 0.98 และ 0.95 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่ามัธยฐาน ส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์ ค่าสัมประสิทธิสหสัมพันธฺของเพียร์สัน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณเป็นขั้นตอน
ผลการวิจัย พบว่า 1. ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย ทุนทางจิตวิทยาเชิงบวก และสภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานที่ดี มีค่าเฉลี่ยโดยรวมในระดับสูง คือ 4.41 4.13 และ 3.93 ตามลำดับ 2.ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วยและทุนทางจิตวิทยาเชิงบวกมีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับสูงกับสภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r=0.74 และ 0.67) ตามลำดับ และ 3 ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วยและทุนทางจิตวิทยาเชิงบวกสามารถร่วมกันทำนายสภาพแวดล้อมการปฎิบัติงานที่ดีอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ได้ร้อยละ 70 (อาร์กำลังสอง =0.70)
ดังนั้นเพื่อให้เกิดสภาพแวดล้อมในการปฎิบัติงานที่ดี ควรส่งเสริมภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วยและทุนทางจิตวิทยาเชิงบวกของพยาบาลวิชาชีพLink for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27215 [article] ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อสภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานที่ดีของพยาบาลวิาชีพ = Factor affecting positive practice enviromenta; of registered nurse in Sanpasithiprasong hospital UbonRatchathani province : โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ จังหวัดอุบลราชธานี [printed text] / ปาริชาติ รัตนราช, Author . - 2017 . - p.74-81.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.74-81Keywords: พยาบาลวิชาชีพ.ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง.ทุนทางจิตวิทยาเชิงบวก.สภาพแวดล้อมการปฏิบัติงาน.โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์.จังหวัดอุบลราชธานี. Abstract: เป็นการวิจัยเชิงบรรยาย วัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1.ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วยทุนทางจิตวิทยาเชิงบวก และสภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานที่ดีของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลสรรพสิทธิประสงค์ 2. ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย ทุนทางจิตวิทยาเชิงบวก กับสภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานที่ดีของพยาบาลวิชาชีพ 3. ตัวแปรที่ทำนายสภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานที่ดีของพยาบาลวิชาชีพ จำนวน 107 คน ซึ่งได้จากการสุ่มแบบมีระบบ เก็บข้อมูลด้วยแบบสอบถามภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย ทุนทางจิตวิทยาเชิงบวก และสภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานที่ดี ค่าความเที่ยงของแบบสอบถามเท่ากับ 0.98 0.98 และ 0.95 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่ามัธยฐาน ส่วนเบี่ยงเบนควอไทล์ ค่าสัมประสิทธิสหสัมพันธฺของเพียร์สัน และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณเป็นขั้นตอน
ผลการวิจัย พบว่า 1. ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วย ทุนทางจิตวิทยาเชิงบวก และสภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานที่ดี มีค่าเฉลี่ยโดยรวมในระดับสูง คือ 4.41 4.13 และ 3.93 ตามลำดับ 2.ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วยและทุนทางจิตวิทยาเชิงบวกมีความสัมพันธ์ทางบวกในระดับสูงกับสภาพแวดล้อมการปฏิบัติงานอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r=0.74 และ 0.67) ตามลำดับ และ 3 ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วยและทุนทางจิตวิทยาเชิงบวกสามารถร่วมกันทำนายสภาพแวดล้อมการปฎิบัติงานที่ดีอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 ได้ร้อยละ 70 (อาร์กำลังสอง =0.70)
ดังนั้นเพื่อให้เกิดสภาพแวดล้อมในการปฎิบัติงานที่ดี ควรส่งเสริมภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของหัวหน้าหอผู้ป่วยและทุนทางจิตวิทยาเชิงบวกของพยาบาลวิชาชีพLink for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27215 ปัจจัยพยากรณ์พฤติกรรมสร้างสรรค์ของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลเอกชน กรุงเทพมหานคร / ปิยะรัตน์ พุ่มวิเศษ in วารสารพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, Vol.27 No.2 (May-Aug) 2015 ([03/16/2016])
[article]
Title : ปัจจัยพยากรณ์พฤติกรรมสร้างสรรค์ของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลเอกชน กรุงเทพมหานคร Original title : Factors predicting professional nurse's innovative behavior private hospital Bangkok metropolis Material Type: printed text Authors: ปิยะรัตน์ พุ่มวิเศษ, Author ; อารีย์วรรณ อ่วมตานี, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.11-21 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย > Vol.27 No.2 (May-Aug) 2015 [03/16/2016] . - p.11-21Keywords: ปัจจัยพยากรณ์.พฤติกรรมการสร้างสรรค์.พยาบาลวิชาชีพ.โรงพยาบาลเอกชน กรุงเทพมหานคร. Link for e-copy: http://tci-thaijo.org/index.php/CUNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25656 [article] ปัจจัยพยากรณ์พฤติกรรมสร้างสรรค์ของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลเอกชน กรุงเทพมหานคร = Factors predicting professional nurse's innovative behavior private hospital Bangkok metropolis [printed text] / ปิยะรัตน์ พุ่มวิเศษ, Author ; อารีย์วรรณ อ่วมตานี, Author . - 2016 . - p.11-21.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)ผลของโปรแกรมการปฏิรูปการดูแลผู้ป่วยข้างเตียงต่อความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพและอัตราการเกิดความผิดพลาดทางการพยาบาลในหอผู้ป่วยวิกฤต โรงพยาบาลสมิติเวช สุขุมวิท / นิษฐ์อร วชิรสวัสดิ์ / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2551
Title : ผลของโปรแกรมการปฏิรูปการดูแลผู้ป่วยข้างเตียงต่อความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพและอัตราการเกิดความผิดพลาดทางการพยาบาลในหอผู้ป่วยวิกฤต โรงพยาบาลสมิติเวช สุขุมวิท Original title : Effects of transforming care at the bedside program on job satisfaction of staff nurses and nursing error rate at critical care unit of Samitivej Sukhumvit Hospital Material Type: printed text Authors: นิษฐ์อร วชิรสวัสดิ์, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2551 Pagination: ก-ญ, 127 แผ่น Layout: ตารางประกอบ Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย. ม [การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัีย 2551 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การดูแลขั้นวิกฤต
[LCSH]ผู้ป่วย -- การดูแล
[LCSH]พยาบาล -- ความพอใจในการทำงานKeywords: พยาบาลวิชาชีพ.
โรงพยาบาลสมิติเวช.
การดูแล.
ผู้ป่วย.Class number: WY154 น538 2551 Abstract: การวิจัยกึ่งทดลองครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเปรียบเทียบความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพ และอัตราการเกิดความผิดพลาดทางการพยาบาลก่อนและหลังการใช้โปรแกรมการปฏิรูปการดูแลผู้ป่วยข้างเตียง กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยวิกฤตโรงพยาบาลสมิติเวช สุขุมวิทจำนวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย แผนการอบรม คู่มือการปฏิรูปการดูแลผู้ป่วยข้างเตียง แบบบันทึกสถานการณ์การปฏิบัติตามแนวทางการปฏิรูปการดูแลผู้ป่วยข้างเตียง เก็บรวมรวมข้อมูล โดยใช้แบบสอบถามความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพและแบบรายงานความผิดพลาดทางการพยาบาล ตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ และค่าความเที่ยงของแบบสอบถามด้วยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาคได้เท่ากับ .89 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบสถิติที ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. คะแนนเฉลี่ยของความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยวิกฤตหลังใช้โปรแกรมการปฏิรูปการดูแลผู้ป่วยข้างเตียงสูงกว่าก่อนใช้โปรแกรม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. อัตราความผิดพลาดจากการเลื่อนหลุดของสายหรือท่อที่ต่อจากร่างกาย หลังการใช้โปรแกรมการปฏิรูปการดูแลผู้ป่วยข้างเตียงต่ำกว่าก่อนใช้โปรแกรมร้อยละ 45.26 3. อัตราความผิดพลาดจากการบริหารยาของพยาบาลวิชาชีพ หลังการใช้โปรแกรมการปฏิรูปการดูแลผู้ป่วยข้างเตียงต่ำกว่าก่อนใช้โปรแกรมร้อยละ 100 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23226 ผลของโปรแกรมการปฏิรูปการดูแลผู้ป่วยข้างเตียงต่อความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพและอัตราการเกิดความผิดพลาดทางการพยาบาลในหอผู้ป่วยวิกฤต โรงพยาบาลสมิติเวช สุขุมวิท = Effects of transforming care at the bedside program on job satisfaction of staff nurses and nursing error rate at critical care unit of Samitivej Sukhumvit Hospital [printed text] / นิษฐ์อร วชิรสวัสดิ์, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551 . - ก-ญ, 127 แผ่น : ตารางประกอบ ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย. ม [การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัีย 2551
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การดูแลขั้นวิกฤต
[LCSH]ผู้ป่วย -- การดูแล
[LCSH]พยาบาล -- ความพอใจในการทำงานKeywords: พยาบาลวิชาชีพ.
โรงพยาบาลสมิติเวช.
การดูแล.
ผู้ป่วย.Class number: WY154 น538 2551 Abstract: การวิจัยกึ่งทดลองครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเปรียบเทียบความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพ และอัตราการเกิดความผิดพลาดทางการพยาบาลก่อนและหลังการใช้โปรแกรมการปฏิรูปการดูแลผู้ป่วยข้างเตียง กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยวิกฤตโรงพยาบาลสมิติเวช สุขุมวิทจำนวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย แผนการอบรม คู่มือการปฏิรูปการดูแลผู้ป่วยข้างเตียง แบบบันทึกสถานการณ์การปฏิบัติตามแนวทางการปฏิรูปการดูแลผู้ป่วยข้างเตียง เก็บรวมรวมข้อมูล โดยใช้แบบสอบถามความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพและแบบรายงานความผิดพลาดทางการพยาบาล ตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ และค่าความเที่ยงของแบบสอบถามด้วยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาคได้เท่ากับ .89 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบสถิติที ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. คะแนนเฉลี่ยของความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยวิกฤตหลังใช้โปรแกรมการปฏิรูปการดูแลผู้ป่วยข้างเตียงสูงกว่าก่อนใช้โปรแกรม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. อัตราความผิดพลาดจากการเลื่อนหลุดของสายหรือท่อที่ต่อจากร่างกาย หลังการใช้โปรแกรมการปฏิรูปการดูแลผู้ป่วยข้างเตียงต่ำกว่าก่อนใช้โปรแกรมร้อยละ 45.26 3. อัตราความผิดพลาดจากการบริหารยาของพยาบาลวิชาชีพ หลังการใช้โปรแกรมการปฏิรูปการดูแลผู้ป่วยข้างเตียงต่ำกว่าก่อนใช้โปรแกรมร้อยละ 100 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23226 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354975 WY154 น538 2551 Thesis Main Library Thesis Corner Available ภาพลักษณ์พยาบาลวิชาชีพตามการรับรู้ของผู้ใช้บริการโรงพยาบาลประจำจังหวัดสังกัดกระทรวงสาธารณสุขเขต 14 / ขวัญจิต เพ็งแป้น / มหาวิทยาลัยราชธานี - 2551
Title : ภาพลักษณ์พยาบาลวิชาชีพตามการรับรู้ของผู้ใช้บริการโรงพยาบาลประจำจังหวัดสังกัดกระทรวงสาธารณสุขเขต 14 Original title : Professional nurse image as perceived by patients provincial hospitals The Ministry of public health the 14th region Material Type: printed text Authors: ขวัญจิต เพ็งแป้น, Author Publisher: มหาวิทยาลัยราชธานี Publication Date: 2551 Pagination: 128 หน้า. Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์. (พย. ม. (การบริหารการพยาบาล)).-- มหาวิทยาลัยราชธานี, 2551. Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ผู้ป่วย -- การบริการ
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพ
[LCSH]โรงพยาบาลประจำจังหวัดKeywords: พยาบาลวิชาชีพ.
โรงพยาบาลประจำจังหวัด.
การบริการ.Class number: WY100 ข171 2551 Abstract: การวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อ ศึกษาภาพลักษณ์พยาบาลวิชาชีพในอุดมคติ และภาพลักษณ์พยาบาลวิชาชีพที่เป็นจริงตามการรับรู้ของผู้ใช้บริการ เปรียบเทียบภาพลักษณ์พยาบาลวิชาชีพในอุดมคติ และภาพลักษณ์พยาบาลวิชาชีพที่เป็นจริงตามการรับรู้ของผู้ใช้บริการโรงพยาบาลประจำจังหวัด สังกัดกระทรวงสาธารณสุขเขต 14 ขนาดกลุ่มตัวอย่าง 400 คน รวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นและผ่านการตรวจสอบโดยผู้ทรงคุณวุฒิ หาค่าความเที่ยงด้วยวิธีสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค ได้ค่าความเที่ยงภาพลักษณ์พยาบาลวิชาชีพในอุดมคติ และภาพลักษณ์พยาบาลวิชาชีพที่เป็นจริงตามการรับรู้ เท่ากับ 0.95 และ 0.97 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ความถี่ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบค่่าที
ผลการวิจัยพบว่า ภาพลักษณ์พยาบาลวิชาชีพในอุดมคติ และภาพลักษณ์พยาบาลวิชาชีพที่เป็นจริงตามการรับรู้ของผู้ใช้บริการอยู่ในระดับดี (ค่าเฉลี่ยตามลำดับดังนี้ 4.47 SD = 0.56 และ 4.04 SD = 0.60) ภาพลักษณ์พยาบาลวิชาชีพในอุดมคติแตกต่างจากภาพลักษณ์พยาบาลวิชาชีพที่เป็นจรงตามการรับรู้ของผู้ใช้บริการอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23345 ภาพลักษณ์พยาบาลวิชาชีพตามการรับรู้ของผู้ใช้บริการโรงพยาบาลประจำจังหวัดสังกัดกระทรวงสาธารณสุขเขต 14 = Professional nurse image as perceived by patients provincial hospitals The Ministry of public health the 14th region [printed text] / ขวัญจิต เพ็งแป้น, Author . - [S.l.] : มหาวิทยาลัยราชธานี, 2551 . - 128 หน้า. ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์. (พย. ม. (การบริหารการพยาบาล)).-- มหาวิทยาลัยราชธานี, 2551.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ผู้ป่วย -- การบริการ
[LCSH]พยาบาลวิชาชีพ
[LCSH]โรงพยาบาลประจำจังหวัดKeywords: พยาบาลวิชาชีพ.
โรงพยาบาลประจำจังหวัด.
การบริการ.Class number: WY100 ข171 2551 Abstract: การวิจัยนี้มีจุดประสงค์เพื่อ ศึกษาภาพลักษณ์พยาบาลวิชาชีพในอุดมคติ และภาพลักษณ์พยาบาลวิชาชีพที่เป็นจริงตามการรับรู้ของผู้ใช้บริการ เปรียบเทียบภาพลักษณ์พยาบาลวิชาชีพในอุดมคติ และภาพลักษณ์พยาบาลวิชาชีพที่เป็นจริงตามการรับรู้ของผู้ใช้บริการโรงพยาบาลประจำจังหวัด สังกัดกระทรวงสาธารณสุขเขต 14 ขนาดกลุ่มตัวอย่าง 400 คน รวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นและผ่านการตรวจสอบโดยผู้ทรงคุณวุฒิ หาค่าความเที่ยงด้วยวิธีสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาค ได้ค่าความเที่ยงภาพลักษณ์พยาบาลวิชาชีพในอุดมคติ และภาพลักษณ์พยาบาลวิชาชีพที่เป็นจริงตามการรับรู้ เท่ากับ 0.95 และ 0.97 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ความถี่ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบค่่าที
ผลการวิจัยพบว่า ภาพลักษณ์พยาบาลวิชาชีพในอุดมคติ และภาพลักษณ์พยาบาลวิชาชีพที่เป็นจริงตามการรับรู้ของผู้ใช้บริการอยู่ในระดับดี (ค่าเฉลี่ยตามลำดับดังนี้ 4.47 SD = 0.56 และ 4.04 SD = 0.60) ภาพลักษณ์พยาบาลวิชาชีพในอุดมคติแตกต่างจากภาพลักษณ์พยาบาลวิชาชีพที่เป็นจรงตามการรับรู้ของผู้ใช้บริการอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23345 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000357036 THE WY100 ข171 2551 Thesis Main Library Thesis Corner Available อิทธิพลของภาวะผู้นำบารมีของหัวหน้าหอผู้ป่วยต่อความยึดมั่นผูกพันในองค์การของ พยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลทั่วไป เขตบริการสุขภาพที่ 2 / ธนกร ขรพัต in วารสารการพยาบาลและสุขภาพ, Vol.11 No.2 (พ.ค-ส.ค) 2560 ([03/20/2018])
[article]
Title : อิทธิพลของภาวะผู้นำบารมีของหัวหน้าหอผู้ป่วยต่อความยึดมั่นผูกพันในองค์การของ พยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลทั่วไป เขตบริการสุขภาพที่ 2 Original title : The Influence of Charismatic Leadership of Head Nurse on Organization Commitment among Nurses in General Hospital, Regional Health 2 Material Type: printed text Authors: ธนกร ขรพัต, Author ; จรรจา สันตยากร, Author Publication Date: 2018 Article on page: p.54-67 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลและสุขภาพ > Vol.11 No.2 (พ.ค-ส.ค) 2560 [03/20/2018] . - p.54-67Keywords: อิทธิพลของภาวะผู้นำบารมีหัวหน้าหอผู้ป่วย.ความยึดมั่นผูกพันในองค์การ.พยาบาลวิชาชีพ. โรงพยาบาลทั่วไป เขตบริการสุขภาพที่ 2. Link for e-copy: http://www.nurse.nu.ac.th/journals/index.php Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27572 [article] อิทธิพลของภาวะผู้นำบารมีของหัวหน้าหอผู้ป่วยต่อความยึดมั่นผูกพันในองค์การของ พยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลทั่วไป เขตบริการสุขภาพที่ 2 = The Influence of Charismatic Leadership of Head Nurse on Organization Commitment among Nurses in General Hospital, Regional Health 2 [printed text] / ธนกร ขรพัต, Author ; จรรจา สันตยากร, Author . - 2018 . - p.54-67.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)Old book collection. ความปลอดภัยและ Competency พยาบาล CVT / เพ็ญจันทร์ แสนประสาน / กรุงเทพฯ : สุขขุมวิทการพิมพ์ - 2554
in ความปลอดภัย และ Competency พยาบาล CVT / บุปผาวัลย์ ศรีล้ำ ; ดวงกมล วัตราดุลย์ / กรุงเทพฯ : สุขขุมวิทการพิมพ์ - 2551
Collection Title: Old book collection Title : ความปลอดภัยและ Competency พยาบาล CVT Material Type: printed text Authors: เพ็ญจันทร์ แสนประสาน, Editor ; ดวงกมล วัตราดุลย์, Editor ; บุปผาวัลย์ ศรีล้ำ, Editor Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 3 Publisher: กรุงเทพฯ : สุขขุมวิทการพิมพ์ Publication Date: 2554 Pagination: 182 หน้า Layout: ภาพประกอบ Size: 27 ซม. ISBN (or other code): 978-974-383-227-7 Price: บริจาค. (250.00) General note: หนังสือเล่มนี้ได้มีการปรับปรุง เพิ่มเิติมเนื้อหาเพื่อให้ทันกับปัจจุบัน และมีการแบ่งเนื้อหาออกเป็น 3 ส่วน คือ ส่วนที่ 1: กล่าวถึงระบบบริหารความเสี่ยงทางการพยาบาล ที่รวบรวมแนวคิดการบริหารความเสี่ยงระบบมาตรฐานที่เกี่ยวข้อง การจัดการทางการพยาบาลเพื่อความปลอดภัย รวมทั้งตัวอย่างการค้นหาความเสี่ยง Trigger tool การตั้งทีมเฝ้าระวัีง การใช้ระบบการสื่อสารรายงานโดยการใช้ SABAR เป็นต้น โดยการนำความรู้จากคณะทำงานมาประสานประโยชน์ในการเรียนรู้เนื้อหาวิธีการขึ้น. ส่วนที่ 2: เป็นการรวบรวมผลการแบ่งปันความรู้จากผู้เชี่ยวชาญโรคหัวใจหลอดเลือดและทรวงอกเป็นจำนวนมาก มาสร้างเป็นสมรรถนะเฉพาะของพยาบาลวิชาชีพที่สามารถประยุกต์ใช้กับพยาบาลได้ทุกระดับตั้งแต่ปฐมภูิมิื ทุติยภูมิ และตติยภูมิ โดยนำตัวอย่างจากสถาบันต่าง ๆ เป็นจำนวนมารวบรวมอย่างเป็นระบบ ส่วนที่ 3: เป็นแนวคิดการสร้างรูปแบบการพยาบาล CVT เครือข่ายโดยการใช้การจัดการความรู้สู่ประชาชน เพื่อให้ประชาชนช่วยเหลือตนเองได้โดยกรอบแนวคิดที่คณะทำงานได้จัดสร้างขึ้น 5 Module ซึ่งอาจเป็นความพยายามที่จะแก้ปัญหาของชาติในการสร้างองค์ความรู้ใหม่จากผู้ปฎิบัิติงานและประชาชนทั่วประเทศในที่สุด Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]Cardiovascular -- assessment
[LCSH]Thoracic -- assessment
[LCSH]ความปลอดภัย -- พยาบาล
[LCSH]สมรรถนะ -- พยาบาลKeywords: สมรรถนะ.
พยาบาลวิชาชีพ.
ความปลอดภัย.
CTV.Class number: WY105 ค181 2554 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23182
in ความปลอดภัย และ Competency พยาบาล CVT / บุปผาวัลย์ ศรีล้ำ ; ดวงกมล วัตราดุลย์ / กรุงเทพฯ : สุขขุมวิทการพิมพ์ - 2551
Old book collection. ความปลอดภัยและ Competency พยาบาล CVT [printed text] / เพ็ญจันทร์ แสนประสาน, Editor ; ดวงกมล วัตราดุลย์, Editor ; บุปผาวัลย์ ศรีล้ำ, Editor . - พิมพ์ครั้งที่ 3 . - กรุงเทพฯ : สุขขุมวิทการพิมพ์, 2554 . - 182 หน้า : ภาพประกอบ ; 27 ซม.
ISBN : 978-974-383-227-7 : บริจาค. (250.00)
หนังสือเล่มนี้ได้มีการปรับปรุง เพิ่มเิติมเนื้อหาเพื่อให้ทันกับปัจจุบัน และมีการแบ่งเนื้อหาออกเป็น 3 ส่วน คือ ส่วนที่ 1: กล่าวถึงระบบบริหารความเสี่ยงทางการพยาบาล ที่รวบรวมแนวคิดการบริหารความเสี่ยงระบบมาตรฐานที่เกี่ยวข้อง การจัดการทางการพยาบาลเพื่อความปลอดภัย รวมทั้งตัวอย่างการค้นหาความเสี่ยง Trigger tool การตั้งทีมเฝ้าระวัีง การใช้ระบบการสื่อสารรายงานโดยการใช้ SABAR เป็นต้น โดยการนำความรู้จากคณะทำงานมาประสานประโยชน์ในการเรียนรู้เนื้อหาวิธีการขึ้น. ส่วนที่ 2: เป็นการรวบรวมผลการแบ่งปันความรู้จากผู้เชี่ยวชาญโรคหัวใจหลอดเลือดและทรวงอกเป็นจำนวนมาก มาสร้างเป็นสมรรถนะเฉพาะของพยาบาลวิชาชีพที่สามารถประยุกต์ใช้กับพยาบาลได้ทุกระดับตั้งแต่ปฐมภูิมิื ทุติยภูมิ และตติยภูมิ โดยนำตัวอย่างจากสถาบันต่าง ๆ เป็นจำนวนมารวบรวมอย่างเป็นระบบ ส่วนที่ 3: เป็นแนวคิดการสร้างรูปแบบการพยาบาล CVT เครือข่ายโดยการใช้การจัดการความรู้สู่ประชาชน เพื่อให้ประชาชนช่วยเหลือตนเองได้โดยกรอบแนวคิดที่คณะทำงานได้จัดสร้างขึ้น 5 Module ซึ่งอาจเป็นความพยายามที่จะแก้ปัญหาของชาติในการสร้างองค์ความรู้ใหม่จากผู้ปฎิบัิติงานและประชาชนทั่วประเทศในที่สุด
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]Cardiovascular -- assessment
[LCSH]Thoracic -- assessment
[LCSH]ความปลอดภัย -- พยาบาล
[LCSH]สมรรถนะ -- พยาบาลKeywords: สมรรถนะ.
พยาบาลวิชาชีพ.
ความปลอดภัย.
CTV.Class number: WY105 ค181 2554 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23182 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000383719 WY105 ค181 2554 Book Main Library Library Counter Available SIU THE-T. ความสุขในการทำงานของพยาบาลไทย / ละมิตร์ ปีกขาว / คณะการจัดการ มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2557
Collection Title: SIU THE-T Title : ความสุขในการทำงานของพยาบาลไทย Original title : Work happiness of Thai nurses Material Type: printed text Authors: ละมิตร์ ปีกขาว, Author Publisher: คณะการจัดการ มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2557 Pagination: x, 221 หน้า Layout: ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] มหาวิทยาลัยชินวัตร. Languages : Thai (tha) Descriptors: [NLM]ความสุขในการทำงาน -- ดุษฎีนิพนธ์
[NLM]พยาบาล, ความสุขในการทำงาน
[NLM]พยาบาลวิชาชีพ -- ดุษฎีนิพนธ์Keywords: พยาบาลวิชาชีพ.
ความสุขในการทำงาน.
พยาบาลไทย.Class number: SIU THE-T SOM-DBA-2015-01 Abstract: มุ่งเน้นศึกษาความสุขของพยาบาลวิชาชีพ โดยสามารถนำมายืนยันทฤษฎีความสุขของพยาบาลว่ามาจากทฤษฎีใด มีวัตถุประสงค์เพือศึกษาสถานการณ์ความสุขในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพภาครัฐและเอกชน เพื่อเปรียบเทียบระดับความสุขของพยาบาลวิชาชีพ ศึกษาจากปัจจัยส่วนบุคคลที่มีผลต่อความสุขของพยาบาลวิชาชีพ เป็นการวิจัยเชิงพรรณาแบบผสม ระหว่างการวิจัยเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ โดยกลุ่มตัวอย่างเชิงคุณภาพเป็นพยาบาลวิชาชีพที่มีประสบการณ์ในการทำงาน 10 ปีขึ้นไป จำนวน 25 คน ภาครัฐ 15 และเอกชน 10 คน ตามลำดับ และเชิงปริมาณเป็นพยาบาลวิชาชีพ จำนวน 690 คน. การวิเคราะห์เนื่้อหาพร้อมด้วยความถี่เชิงปริมาณ ใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูลส่วนบุคคลและความสุขด้านต่าง ๆ เชิงคุณภาพวิเคราะห์เนื้อหาออกเป็นประเด็น พร้อมด้วยความถี่ เชิงปริมาณวิเคราะห์ด้วยโปรแกรมวิเคราะห์ทางสถิติสำเร็จรูป วิเคราะห์เชิงพรรณนาและทดสอบด้วย t-test ผลการวิจัย พบว่า สถานการณ์ความสุขในการทำงานพยาบาลวิชาชีพภาครัฐและภาคเอกชนมีความคิดเห็นเหมือนกันว่า การช่วยเหลือและดูแลผู้ป่วย การได้ช่วยเหลือญาติและครอบครัวของผู้ป่วย การช่วยให้ผู้ป่วยปลอดภัยในภาวะฉุกเฉิน การช่วยลดความวิตกกังวลให้ผู้ป่วยและผู้เกี่ยวข้อง การมีส่วนร่วมช่วยเหลือดูแลผู้ป่วย ผู้บาดเจ็บจากเหตุการณ์ไม่ปกติแม้เป็นเวลานอกปฏิบัติงาน ทำให้พยาบาลมีความสุขในการทำงาน โดยมีระดับความสุขมาก และไม่แตกต่างกันทั้งภาครัฐและเอกชน และปัจจัยส่วนบุคคลในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพ พบว่า ความแตกต่างของเพศ อายุ การศึกาา ประสบการณ์ทำงาน รายได้หลัก รายได้พิเศษ จำนวนบุตร สถานภาพสมรส และตำแหน่งงานไม่มีอิทธิพลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติต่อความสุขโดยรวม ข้อค้นพบทางทฤษฎี พบว่า ความสุขในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพไม่แตกต่างกันแต่ละเอียดกว่าทฤษฎีลำดับขั้นความต้องการของมาสโลว์ เพราะความสุขของพยาบาลเน้นเรื่องการช่วยเหลือดูแลผู้ป่วยและครอบครัวทั้งภาวะปกติและฉุกเฉินเป็นหลักสำคัญ ซึ่งแสดงให้เห็นว่าเป็นความสุขของพยาบาลที่ก้าวจากลำดับขั้นความต้องการของมางโลว์อย่างแท้จริง นอกจากนี้ยังพบว่า แง่ทฤษฎีประโยชน์นิยมเน้นถึงการกระทำทำให้คนส่วนใหญ่มีความสุขมากที่สุด ถือเป็นการดำเนินการของรัฐที่ใช้ได้ในระดับหนึ่ง ซึ่งนัยของทฤษฎีประโยชน์นิยมได้ชี้ให้เห็นว่ารัฐควรส่งเสิรมวิชาชีพพยาบาลให้สามารถช่วยเหลือดูแลผู้ป่วยรวมทั้งครอบครัวให้ผู้ป่วยปลอดภัย เพื่อที่สามารถทำประโยชน์ให้กับคนส่วนใหญ่ได้มากที่สุด ในขณะที่ทฤษฎีความอยู่เย็นเป็นสุขและทฤษฎีความสุขของคนไทย พบว่า เป็นผลรวมของความสุขประชาชนโดยตรง Contents note: ปีการศึกษา 2557 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25889 SIU THE-T. ความสุขในการทำงานของพยาบาลไทย = Work happiness of Thai nurses [printed text] / ละมิตร์ ปีกขาว, Author . - [S.l.] : คณะการจัดการ มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2557 . - x, 221 หน้า : ตาราง ; 30 ซม.
500.00
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] มหาวิทยาลัยชินวัตร.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [NLM]ความสุขในการทำงาน -- ดุษฎีนิพนธ์
[NLM]พยาบาล, ความสุขในการทำงาน
[NLM]พยาบาลวิชาชีพ -- ดุษฎีนิพนธ์Keywords: พยาบาลวิชาชีพ.
ความสุขในการทำงาน.
พยาบาลไทย.Class number: SIU THE-T SOM-DBA-2015-01 Abstract: มุ่งเน้นศึกษาความสุขของพยาบาลวิชาชีพ โดยสามารถนำมายืนยันทฤษฎีความสุขของพยาบาลว่ามาจากทฤษฎีใด มีวัตถุประสงค์เพือศึกษาสถานการณ์ความสุขในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพภาครัฐและเอกชน เพื่อเปรียบเทียบระดับความสุขของพยาบาลวิชาชีพ ศึกษาจากปัจจัยส่วนบุคคลที่มีผลต่อความสุขของพยาบาลวิชาชีพ เป็นการวิจัยเชิงพรรณาแบบผสม ระหว่างการวิจัยเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ โดยกลุ่มตัวอย่างเชิงคุณภาพเป็นพยาบาลวิชาชีพที่มีประสบการณ์ในการทำงาน 10 ปีขึ้นไป จำนวน 25 คน ภาครัฐ 15 และเอกชน 10 คน ตามลำดับ และเชิงปริมาณเป็นพยาบาลวิชาชีพ จำนวน 690 คน. การวิเคราะห์เนื่้อหาพร้อมด้วยความถี่เชิงปริมาณ ใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูลส่วนบุคคลและความสุขด้านต่าง ๆ เชิงคุณภาพวิเคราะห์เนื้อหาออกเป็นประเด็น พร้อมด้วยความถี่ เชิงปริมาณวิเคราะห์ด้วยโปรแกรมวิเคราะห์ทางสถิติสำเร็จรูป วิเคราะห์เชิงพรรณนาและทดสอบด้วย t-test ผลการวิจัย พบว่า สถานการณ์ความสุขในการทำงานพยาบาลวิชาชีพภาครัฐและภาคเอกชนมีความคิดเห็นเหมือนกันว่า การช่วยเหลือและดูแลผู้ป่วย การได้ช่วยเหลือญาติและครอบครัวของผู้ป่วย การช่วยให้ผู้ป่วยปลอดภัยในภาวะฉุกเฉิน การช่วยลดความวิตกกังวลให้ผู้ป่วยและผู้เกี่ยวข้อง การมีส่วนร่วมช่วยเหลือดูแลผู้ป่วย ผู้บาดเจ็บจากเหตุการณ์ไม่ปกติแม้เป็นเวลานอกปฏิบัติงาน ทำให้พยาบาลมีความสุขในการทำงาน โดยมีระดับความสุขมาก และไม่แตกต่างกันทั้งภาครัฐและเอกชน และปัจจัยส่วนบุคคลในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพ พบว่า ความแตกต่างของเพศ อายุ การศึกาา ประสบการณ์ทำงาน รายได้หลัก รายได้พิเศษ จำนวนบุตร สถานภาพสมรส และตำแหน่งงานไม่มีอิทธิพลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติต่อความสุขโดยรวม ข้อค้นพบทางทฤษฎี พบว่า ความสุขในการทำงานของพยาบาลวิชาชีพไม่แตกต่างกันแต่ละเอียดกว่าทฤษฎีลำดับขั้นความต้องการของมาสโลว์ เพราะความสุขของพยาบาลเน้นเรื่องการช่วยเหลือดูแลผู้ป่วยและครอบครัวทั้งภาวะปกติและฉุกเฉินเป็นหลักสำคัญ ซึ่งแสดงให้เห็นว่าเป็นความสุขของพยาบาลที่ก้าวจากลำดับขั้นความต้องการของมางโลว์อย่างแท้จริง นอกจากนี้ยังพบว่า แง่ทฤษฎีประโยชน์นิยมเน้นถึงการกระทำทำให้คนส่วนใหญ่มีความสุขมากที่สุด ถือเป็นการดำเนินการของรัฐที่ใช้ได้ในระดับหนึ่ง ซึ่งนัยของทฤษฎีประโยชน์นิยมได้ชี้ให้เห็นว่ารัฐควรส่งเสิรมวิชาชีพพยาบาลให้สามารถช่วยเหลือดูแลผู้ป่วยรวมทั้งครอบครัวให้ผู้ป่วยปลอดภัย เพื่อที่สามารถทำประโยชน์ให้กับคนส่วนใหญ่ได้มากที่สุด ในขณะที่ทฤษฎีความอยู่เย็นเป็นสุขและทฤษฎีความสุขของคนไทย พบว่า เป็นผลรวมของความสุขประชาชนโดยตรง Contents note: ปีการศึกษา 2557 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25889 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000580710 SIU THE-T SOM-DBA-2015-01 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000580702 SIU THE-T SOM-DBA-2015-01 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available SIU THE-T. รูปแบบการจัดการความรู้ในการพยาบาลโรคหัวใจ / เพ็ญจันทร์ แสนประสาน / คณะการจัดการ มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2557
Collection Title: SIU THE-T Title : รูปแบบการจัดการความรู้ในการพยาบาลโรคหัวใจ : ในโรงพยาบาลภาครัฐและภาคเอกชนที่มีศักยภาพสูง Original title : Model of knowledge management for cardiac nursing in the high competence public and private hospitals Material Type: printed text Authors: เพ็ญจันทร์ แสนประสาน, Author Publisher: คณะการจัดการ มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2557 Pagination: x,460 หน้า Layout: ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] มหาวิทยาลัยชินวัตร. Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]รูปแบบการจัดการความรู้ -- ดุษฎีนิพนธ์
[NLM]โรคหัวใจ, การพยาบาล
[NLM]โรคหัวใจ, การพยาบาล -- ดุษฎีนิพนธ์
[NLM]โรงพยาบาลภาครัฐศักยภาพสูง
[NLM]โรงพยาบาลภาคเอกชนศักยภาพสูงKeywords: การจัดการความรู้.
รูปแบบการจัดการความรู้.
การพยาบาลโรคหัวใจ.
โรงพยาบาลภาครัฐศักยภาพสูง.
โรงพยาบาลภาคเอกชนศักยภาพสูง.Class number: SIU THE-T SOM-DBA-2015-02 Abstract: การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณาผสมผสานวิธีการเชิงปริมาณ และเขิงคุณภาพในการพัฒนารูปแบบการจัดการความรู้การพยาบาลโรคหัใจในโรงพยาบาลภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพสูงในประเทศ เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหาและความต้องการในการจัดการความรู้การพยาบาลโรคหัวใจของโรงพยาบาลภาครัฐและเอกชน และเพื่อสร้างและยืนยันรูปแบบการจัดการความรู้การพยาบาลโรคหัวใจในโรงพยาบาลภาครัฐและภาคเอกชนที่มีศักยภาพสูง โดยมีกลุ่มตัวอย่างจำนวน 629 คน วิเคราะห์ความเชื่อถือและองค์ประกอบเชิงยืนยันด้วยโปรแกรมสมการโครงสร้าง SEM เพื่อยืนยันสมมติฐาน ซึ่งผลการศึกษา พบว่า โมเดลการวัดของตัวแปรที่ใช้ในการวิจัยสอดคล้องกับทฤษฎีตามองค์ประกอบด้าน 1. ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการความรู้มีตัวแปรแฝง คือ ผู้บริหารและเทคโนโลยีมีผลต่อกระบวนการจัดการความรู้ และการบริหารมีผลต่อผลลัพธ์การจัดความรู้ 2. โครงสร้างและปัจจัยพื้นฐานมีตัวแปรแฝง คือ วัฒนธรรม การเสริมพลัง และความร่วมมือมีผลต่อกระบวนการจัดการความรู้ 3. กระบวนการจัดการความรู้มีตัวแปรแฝง คือ การแบ่งปัน การนำความรู้ไปใช้ และการติดตามมีผลต่อผลัพธ์การจัดการความรู้ ส่วนผลการวิจัยเชิงคุณภาพ พบว่า การจัดการความรู้ทั้งภาครัฐและภาคเอกชนไม่แตกต่างกันทุกด้าน แต่มีข้อแตกต่างเพียงเล็กน้อย คือ ด้านเอกชนมีการใช้เทคโนโลยีมากกว่าบางโรงพยาบาล โรงพยาบาลภาครัฐมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในทีมระหว่างสหสาขาวิชาชีพมากกว่า Contents note: ปีการศึกษา 2557 Curricular : PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25887 SIU THE-T. รูปแบบการจัดการความรู้ในการพยาบาลโรคหัวใจ = Model of knowledge management for cardiac nursing in the high competence public and private hospitals : ในโรงพยาบาลภาครัฐและภาคเอกชนที่มีศักยภาพสูง [printed text] / เพ็ญจันทร์ แสนประสาน, Author . - [S.l.] : คณะการจัดการ มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2557 . - x,460 หน้า : ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] มหาวิทยาลัยชินวัตร.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]รูปแบบการจัดการความรู้ -- ดุษฎีนิพนธ์
[NLM]โรคหัวใจ, การพยาบาล
[NLM]โรคหัวใจ, การพยาบาล -- ดุษฎีนิพนธ์
[NLM]โรงพยาบาลภาครัฐศักยภาพสูง
[NLM]โรงพยาบาลภาคเอกชนศักยภาพสูงKeywords: การจัดการความรู้.
รูปแบบการจัดการความรู้.
การพยาบาลโรคหัวใจ.
โรงพยาบาลภาครัฐศักยภาพสูง.
โรงพยาบาลภาคเอกชนศักยภาพสูง.Class number: SIU THE-T SOM-DBA-2015-02 Abstract: การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณาผสมผสานวิธีการเชิงปริมาณ และเขิงคุณภาพในการพัฒนารูปแบบการจัดการความรู้การพยาบาลโรคหัใจในโรงพยาบาลภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพสูงในประเทศ เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหาและความต้องการในการจัดการความรู้การพยาบาลโรคหัวใจของโรงพยาบาลภาครัฐและเอกชน และเพื่อสร้างและยืนยันรูปแบบการจัดการความรู้การพยาบาลโรคหัวใจในโรงพยาบาลภาครัฐและภาคเอกชนที่มีศักยภาพสูง โดยมีกลุ่มตัวอย่างจำนวน 629 คน วิเคราะห์ความเชื่อถือและองค์ประกอบเชิงยืนยันด้วยโปรแกรมสมการโครงสร้าง SEM เพื่อยืนยันสมมติฐาน ซึ่งผลการศึกษา พบว่า โมเดลการวัดของตัวแปรที่ใช้ในการวิจัยสอดคล้องกับทฤษฎีตามองค์ประกอบด้าน 1. ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการความรู้มีตัวแปรแฝง คือ ผู้บริหารและเทคโนโลยีมีผลต่อกระบวนการจัดการความรู้ และการบริหารมีผลต่อผลลัพธ์การจัดความรู้ 2. โครงสร้างและปัจจัยพื้นฐานมีตัวแปรแฝง คือ วัฒนธรรม การเสริมพลัง และความร่วมมือมีผลต่อกระบวนการจัดการความรู้ 3. กระบวนการจัดการความรู้มีตัวแปรแฝง คือ การแบ่งปัน การนำความรู้ไปใช้ และการติดตามมีผลต่อผลัพธ์การจัดการความรู้ ส่วนผลการวิจัยเชิงคุณภาพ พบว่า การจัดการความรู้ทั้งภาครัฐและภาคเอกชนไม่แตกต่างกันทุกด้าน แต่มีข้อแตกต่างเพียงเล็กน้อย คือ ด้านเอกชนมีการใช้เทคโนโลยีมากกว่าบางโรงพยาบาล โรงพยาบาลภาครัฐมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในทีมระหว่างสหสาขาวิชาชีพมากกว่า Contents note: ปีการศึกษา 2557 Curricular : PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25887 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000550846 SIU THE-T SOM-DBA-2015-02 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000507036 SIU THE-T SOM-DBA-2015-02 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available รายงานการวิจัยเชิงปฏิบัติการ. การพัฒนารูปแบบการตรวจสอบคุณภาพการพยาบาล / สุจิตรา ขันติยานนท์ / 2552
Collection Title: รายงานการวิจัยเชิงปฏิบัติการ Title : การพัฒนารูปแบบการตรวจสอบคุณภาพการพยาบาล : ผ่านบันทึกทางการพยาบาล โรงพยาบาลสงฆ์ Material Type: printed text Authors: สุจิตรา ขันติยานนท์, Author ; นฤมล ตรีเพชรศรีอุไร, Author ; สุมาลี ยุทธวรวิทย์, (2507-), Author Publication Date: 2552 Pagination: ช, 108 หน้า Price: บริจาค General note: ได้รับการสนับสนุนจากเงินบำรุงโรงพยาบาลส่งฆ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข Languages : Thai (tha) Descriptors: [NLM]การพยาบาล -- วิจัย
[NLM]การพัฒนาคุณภาพ -- การพยาบาลKeywords: คุณภาพทางการพยาบาล.
การพัฒนารูปบบการตรวจสอบ.
การพัฒนารูปแบบ.
โรงพยาบาลสงฆ์.Class number: WY105 ส753ร 2552 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27146 รายงานการวิจัยเชิงปฏิบัติการ. การพัฒนารูปแบบการตรวจสอบคุณภาพการพยาบาล : ผ่านบันทึกทางการพยาบาล โรงพยาบาลสงฆ์ [printed text] / สุจิตรา ขันติยานนท์, Author ; นฤมล ตรีเพชรศรีอุไร, Author ; สุมาลี ยุทธวรวิทย์, (2507-), Author . - 2552 . - ช, 108 หน้า.
บริจาค
ได้รับการสนับสนุนจากเงินบำรุงโรงพยาบาลส่งฆ์ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [NLM]การพยาบาล -- วิจัย
[NLM]การพัฒนาคุณภาพ -- การพยาบาลKeywords: คุณภาพทางการพยาบาล.
การพัฒนารูปบบการตรวจสอบ.
การพัฒนารูปแบบ.
โรงพยาบาลสงฆ์.Class number: WY105 ส753ร 2552 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27146 Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000450492 WY105 ส753ร 2552 Book Main Library Library Counter Not for loan