From this page you can:
Home |
Search results
3 result(s) search for keyword(s) 'รูปแบบการจัดการ, ชุมชนต้นแบบ'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
SIU THE-T. รูปแบบการจัดการท่องเที่ยวชุมชนต้นแบบ จังหวัดลำปาง / รัชฎาภรณ์ ทองแป้น / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2019
Collection Title: SIU THE-T Title : รูปแบบการจัดการท่องเที่ยวชุมชนต้นแบบ จังหวัดลำปาง Original title : Prototype of Community Tourism Management Pattern in Lampang Province Material Type: printed text Authors: รัชฎาภรณ์ ทองแป้น, Author ; พิภพ วชังเงิน, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2019 Pagination: ix, 187 น. Layout: ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-07
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การท่องเที่ยว -- การจัดการ -- ลำปาง
[LCSH]ชุมชนต้นแบบKeywords: รูปแบบการจัดการ,
ชุมชนต้นแบบAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาบริบทของชุมชนท่องเที่ยวต้นแบบ จังหวัดลำปาง 2) เพื่อศึกษาศักยภาพของชุมชนท่องเที่ยวต้นแบบ จังหวัดลำปาง 3) เพื่อศึกษาปัจจัยความสำเร็จในการบริหารจัดการชุมชนท่องเที่ยวต้นแบบ จังหวัดลำปาง
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยผู้วิจัยได้อาศัยวิธีดำเนินการวิจัยเชิงคุณภาพโดยการศึกษาเอกสาร และสัมภาษณ์เชิงลึกจากผู้ให้ข้อมูลหลักที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยว ประกอบด้วย ผู้นำชุมชน ชาวบ้าน นักท่องเที่ยวและภาคีที่เกี่ยวข้องกับชุมชนท่องเที่ยวต้นแบบทั้ง 2 ชุมชน คือชุมชนบ้านป่าเหมี้ยง ตำบลแจ้ซ้อน อำเภอเมืองปาน จังหวัดลำปางจำนวน 15 คน และชุมชนบ้านสามขา ตำบลหัวเสือ อำเภอแม่ทะ จังหวัดลำปางจำนวน 15 คน รวมทั้งสิ้น 30 คน รวมทั้งสนทนากลุ่ม ผู้มีส่วนได้เสียในการบริหารจัดการชุมชนท่องเที่ยวต้นแบบ ประกอบด้วย ผู้นำชุมชนจำนวนบ้านป่าเหมี้ยงจำนวน 3 คน ผู้นำชุมชนจำนวนบ้านสามขาจำนวน 3 คน ภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องกับชุมชนท่องเที่ยวต้นแบบจำนวน 6 คน และนักท่องเที่ยวจำนวน 6 คน รวมทั้งสิ้น 18 คน หลังจากนั้นวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ประเด็นจากการสัมภาษณ์ สนทนากลุ่ม และมีการอภิปรายผลการวิจัย
ผลการวิจัยพบว่า
1) บริบทชุมชนท่องเที่ยวจังหวัดลำปางทั้งสองชุมชนมีสภาพภูมิศาสตร์ที่เหมาะสมคือตั้งอยู่ในสภาพภูมิประเทศที่สวยงาม อากาศดี มีทรัพยากรการท่องเที่ยวที่หลากหลาย ด้านประชากรคนในชุมชนเป็นกลุ่มคนเมืองเหมือนกัน มีภาษา วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณี ความเชื่อเดียวกันจึงทำให้อยู่ร่วมกันอย่างสงบสุข สภาพสังคมเศรษฐกิจ ชุมชนท่องเที่ยวต้นแบบเป็นหมู่บ้านที่ยังคงอัตลักษณ์ของชุมชนดั้งเดิมไว้ วิถีชีวิตคนของคนในชุมชนเป็นสังคมแบบเกษตรกรรม รายได้หลักของคนในชุมชนมาจากภาคเกษตรกรรมนอกจากนี้ชุมชนยังมีภูมิปัญญาท้องถิ่น วัฒนธรรมวิถีชีวิตที่โดดเด่นสามารถดึงดูดใจให้นักท่องเที่ยวมาท่องเที่ยวในชุมชนได้
2) ชุมชนท่องเที่ยวต้นแบบ จังหวัดลำปางมีศักยภาพในการดำเนินงานด้านการท่องเที่ยว ด้วยบริบทความพร้อมของชุมชนที่มีศักยภาพทั้งด้านทรัพยากรการท่องเที่ยว การเข้าถึงชุมชน สิ่งอำนวยความสะดวก ความสามารถในการรองรับนักท่องเที่ยว และด้านการจัดการท่องเที่ยวจึงทำให้ชุมชนทั้งสองประสบความสำเร็จในการเป็นชุมชนท่องเที่ยวต้นแบบดังมีรางวัลที่ช่วยการันตีความสำเร็จของชุมชน และยังได้รับคัดเลือกให้เป็นหมู่บ้านท่องเที่ยวต้นแบบของจังหวัดลำปางตามโครงการพัฒนาการท่องเที่ยวชุมชนต้นแบบเพื่อพัฒนาเชื่อมโยงการท่องเที่ยวภาคเหนือ
3) ปัจจัยความสำเร็จในการบริหารจัดการชุมชนท่องเที่ยวต้นแบบ จังหวัดลำปาง ขึ้นอยู่กับองค์ประกอบดังนี้ (1) ชุมชนมีอัตลักษณ์ชุมชนที่โดดเด่น (2) มีกฎระเบียบที่กำหนดไว้เป็นบรรทัดฐานในการอยู่ร่วมกัน (3) การมีส่วนร่วมของชุมชนในทุกขั้นตอนของการพัฒนา (4) ชุมชนมีขนาดเล็ก การบริหารจัดการง่าย (5) ชุมชนมีความสามารถในการรองรับนักท่องเที่ยวทั้งด้านที่พัก ที่จอดรถ รวมถึงรูปแบบกิจกรรมการท่องเที่ยว (6) มีการกระจายผลประโยชน์ในชุมชนอย่างเป็นธรรม (7) การเข้าถึงชุมชนได้อย่างสะดวกสบายและมีการเชื่อมโยงเส้นทางท่องเที่ยวบริเวณใกล้เคียง (8) ชุมชุนมีทรัพยากรการท่องเที่ยวที่หลากหลายและอุดมสมบูรณ์ (9) แกนนำชุมชนหรือผู้นําชุมชน มีความเข้มแข็งเป็นที่ยอมรับของสมาชิกชุมชน (10) มีภาคีเครือข่ายทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคมเข้ามาให้การสนับสนุน เช่นเรื่องงบประมาณ เรื่องการประชาสัมพันธ์ (11) ชุมชนมีภูมิปัญญาท้องถิ่นให้นักท่องเที่ยวได้ศึกษาเรียนรู้ (12) ชุมชนได้มีการกำหนดรูปแบบกิจกรรมและโปรแกรมการท่องเที่ยวให้นักท่องเที่ยวได้เลือกตามความสนใจ (13) ชุมชนมีสิ่งอำนวยความสะดวกไว้รองรับนักท่องเที่ยวอย่างเพียงพอ ซึ่งข้อมูลและข้อค้นพบจากการศึกษา พบว่า ชุมชนท่องเที่ยวต้นแบบทั้งสองชุมชนเป็นชุมชนที่มีการพัฒนามาเป็นระยะเวลานานทำให้ชุมชนประสบความสำเร็จในด้านการท่องเที่ยว การพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการชุมชนท่องเที่ยวต้นแบบ ชุมชน หน่วยงานต่างๆ ที่เข้ามาทำงานร่วมกับชุมชน ต้องมองถึงศักยภาพของชุมชน คนในชุมชนต้องมีส่วนร่วมกันอนุรักษ์อัตลักษณ์ของชุมชนและภูมิปัญญาท้องถิ่นCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27945 SIU THE-T. รูปแบบการจัดการท่องเที่ยวชุมชนต้นแบบ จังหวัดลำปาง = Prototype of Community Tourism Management Pattern in Lampang Province [printed text] / รัชฎาภรณ์ ทองแป้น, Author ; พิภพ วชังเงิน, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019 . - ix, 187 น. : ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-07
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การท่องเที่ยว -- การจัดการ -- ลำปาง
[LCSH]ชุมชนต้นแบบKeywords: รูปแบบการจัดการ,
ชุมชนต้นแบบAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เพื่อศึกษาบริบทของชุมชนท่องเที่ยวต้นแบบ จังหวัดลำปาง 2) เพื่อศึกษาศักยภาพของชุมชนท่องเที่ยวต้นแบบ จังหวัดลำปาง 3) เพื่อศึกษาปัจจัยความสำเร็จในการบริหารจัดการชุมชนท่องเที่ยวต้นแบบ จังหวัดลำปาง
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยผู้วิจัยได้อาศัยวิธีดำเนินการวิจัยเชิงคุณภาพโดยการศึกษาเอกสาร และสัมภาษณ์เชิงลึกจากผู้ให้ข้อมูลหลักที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยว ประกอบด้วย ผู้นำชุมชน ชาวบ้าน นักท่องเที่ยวและภาคีที่เกี่ยวข้องกับชุมชนท่องเที่ยวต้นแบบทั้ง 2 ชุมชน คือชุมชนบ้านป่าเหมี้ยง ตำบลแจ้ซ้อน อำเภอเมืองปาน จังหวัดลำปางจำนวน 15 คน และชุมชนบ้านสามขา ตำบลหัวเสือ อำเภอแม่ทะ จังหวัดลำปางจำนวน 15 คน รวมทั้งสิ้น 30 คน รวมทั้งสนทนากลุ่ม ผู้มีส่วนได้เสียในการบริหารจัดการชุมชนท่องเที่ยวต้นแบบ ประกอบด้วย ผู้นำชุมชนจำนวนบ้านป่าเหมี้ยงจำนวน 3 คน ผู้นำชุมชนจำนวนบ้านสามขาจำนวน 3 คน ภาคีเครือข่ายที่เกี่ยวข้องกับชุมชนท่องเที่ยวต้นแบบจำนวน 6 คน และนักท่องเที่ยวจำนวน 6 คน รวมทั้งสิ้น 18 คน หลังจากนั้นวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ประเด็นจากการสัมภาษณ์ สนทนากลุ่ม และมีการอภิปรายผลการวิจัย
ผลการวิจัยพบว่า
1) บริบทชุมชนท่องเที่ยวจังหวัดลำปางทั้งสองชุมชนมีสภาพภูมิศาสตร์ที่เหมาะสมคือตั้งอยู่ในสภาพภูมิประเทศที่สวยงาม อากาศดี มีทรัพยากรการท่องเที่ยวที่หลากหลาย ด้านประชากรคนในชุมชนเป็นกลุ่มคนเมืองเหมือนกัน มีภาษา วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณี ความเชื่อเดียวกันจึงทำให้อยู่ร่วมกันอย่างสงบสุข สภาพสังคมเศรษฐกิจ ชุมชนท่องเที่ยวต้นแบบเป็นหมู่บ้านที่ยังคงอัตลักษณ์ของชุมชนดั้งเดิมไว้ วิถีชีวิตคนของคนในชุมชนเป็นสังคมแบบเกษตรกรรม รายได้หลักของคนในชุมชนมาจากภาคเกษตรกรรมนอกจากนี้ชุมชนยังมีภูมิปัญญาท้องถิ่น วัฒนธรรมวิถีชีวิตที่โดดเด่นสามารถดึงดูดใจให้นักท่องเที่ยวมาท่องเที่ยวในชุมชนได้
2) ชุมชนท่องเที่ยวต้นแบบ จังหวัดลำปางมีศักยภาพในการดำเนินงานด้านการท่องเที่ยว ด้วยบริบทความพร้อมของชุมชนที่มีศักยภาพทั้งด้านทรัพยากรการท่องเที่ยว การเข้าถึงชุมชน สิ่งอำนวยความสะดวก ความสามารถในการรองรับนักท่องเที่ยว และด้านการจัดการท่องเที่ยวจึงทำให้ชุมชนทั้งสองประสบความสำเร็จในการเป็นชุมชนท่องเที่ยวต้นแบบดังมีรางวัลที่ช่วยการันตีความสำเร็จของชุมชน และยังได้รับคัดเลือกให้เป็นหมู่บ้านท่องเที่ยวต้นแบบของจังหวัดลำปางตามโครงการพัฒนาการท่องเที่ยวชุมชนต้นแบบเพื่อพัฒนาเชื่อมโยงการท่องเที่ยวภาคเหนือ
3) ปัจจัยความสำเร็จในการบริหารจัดการชุมชนท่องเที่ยวต้นแบบ จังหวัดลำปาง ขึ้นอยู่กับองค์ประกอบดังนี้ (1) ชุมชนมีอัตลักษณ์ชุมชนที่โดดเด่น (2) มีกฎระเบียบที่กำหนดไว้เป็นบรรทัดฐานในการอยู่ร่วมกัน (3) การมีส่วนร่วมของชุมชนในทุกขั้นตอนของการพัฒนา (4) ชุมชนมีขนาดเล็ก การบริหารจัดการง่าย (5) ชุมชนมีความสามารถในการรองรับนักท่องเที่ยวทั้งด้านที่พัก ที่จอดรถ รวมถึงรูปแบบกิจกรรมการท่องเที่ยว (6) มีการกระจายผลประโยชน์ในชุมชนอย่างเป็นธรรม (7) การเข้าถึงชุมชนได้อย่างสะดวกสบายและมีการเชื่อมโยงเส้นทางท่องเที่ยวบริเวณใกล้เคียง (8) ชุมชุนมีทรัพยากรการท่องเที่ยวที่หลากหลายและอุดมสมบูรณ์ (9) แกนนำชุมชนหรือผู้นําชุมชน มีความเข้มแข็งเป็นที่ยอมรับของสมาชิกชุมชน (10) มีภาคีเครือข่ายทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน ภาคประชาสังคมเข้ามาให้การสนับสนุน เช่นเรื่องงบประมาณ เรื่องการประชาสัมพันธ์ (11) ชุมชนมีภูมิปัญญาท้องถิ่นให้นักท่องเที่ยวได้ศึกษาเรียนรู้ (12) ชุมชนได้มีการกำหนดรูปแบบกิจกรรมและโปรแกรมการท่องเที่ยวให้นักท่องเที่ยวได้เลือกตามความสนใจ (13) ชุมชนมีสิ่งอำนวยความสะดวกไว้รองรับนักท่องเที่ยวอย่างเพียงพอ ซึ่งข้อมูลและข้อค้นพบจากการศึกษา พบว่า ชุมชนท่องเที่ยวต้นแบบทั้งสองชุมชนเป็นชุมชนที่มีการพัฒนามาเป็นระยะเวลานานทำให้ชุมชนประสบความสำเร็จในด้านการท่องเที่ยว การพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการชุมชนท่องเที่ยวต้นแบบ ชุมชน หน่วยงานต่างๆ ที่เข้ามาทำงานร่วมกับชุมชน ต้องมองถึงศักยภาพของชุมชน คนในชุมชนต้องมีส่วนร่วมกันอนุรักษ์อัตลักษณ์ของชุมชนและภูมิปัญญาท้องถิ่นCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27945 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607973 SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-07 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available 32002000607972 SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-07 c.2 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. รูปแบบการจัดการความรู้ในการพยาบาลโรคหัวใจ / เพ็ญจันทร์ แสนประสาน / คณะการจัดการ มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2557
Collection Title: SIU THE-T Title : รูปแบบการจัดการความรู้ในการพยาบาลโรคหัวใจ : ในโรงพยาบาลภาครัฐและภาคเอกชนที่มีศักยภาพสูง Original title : Model of knowledge management for cardiac nursing in the high competence public and private hospitals Material Type: printed text Authors: เพ็ญจันทร์ แสนประสาน, Author Publisher: คณะการจัดการ มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2557 Pagination: x,460 หน้า Layout: ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] มหาวิทยาลัยชินวัตร. Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]รูปแบบการจัดการความรู้ -- ดุษฎีนิพนธ์
[NLM]โรคหัวใจ, การพยาบาล
[NLM]โรคหัวใจ, การพยาบาล -- ดุษฎีนิพนธ์
[NLM]โรงพยาบาลภาครัฐศักยภาพสูง
[NLM]โรงพยาบาลภาคเอกชนศักยภาพสูงKeywords: การจัดการความรู้.
รูปแบบการจัดการความรู้.
การพยาบาลโรคหัวใจ.
โรงพยาบาลภาครัฐศักยภาพสูง.
โรงพยาบาลภาคเอกชนศักยภาพสูง.Class number: SIU THE-T SOM-DBA-2015-02 Abstract: การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณาผสมผสานวิธีการเชิงปริมาณ และเขิงคุณภาพในการพัฒนารูปแบบการจัดการความรู้การพยาบาลโรคหัใจในโรงพยาบาลภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพสูงในประเทศ เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหาและความต้องการในการจัดการความรู้การพยาบาลโรคหัวใจของโรงพยาบาลภาครัฐและเอกชน และเพื่อสร้างและยืนยันรูปแบบการจัดการความรู้การพยาบาลโรคหัวใจในโรงพยาบาลภาครัฐและภาคเอกชนที่มีศักยภาพสูง โดยมีกลุ่มตัวอย่างจำนวน 629 คน วิเคราะห์ความเชื่อถือและองค์ประกอบเชิงยืนยันด้วยโปรแกรมสมการโครงสร้าง SEM เพื่อยืนยันสมมติฐาน ซึ่งผลการศึกษา พบว่า โมเดลการวัดของตัวแปรที่ใช้ในการวิจัยสอดคล้องกับทฤษฎีตามองค์ประกอบด้าน 1. ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการความรู้มีตัวแปรแฝง คือ ผู้บริหารและเทคโนโลยีมีผลต่อกระบวนการจัดการความรู้ และการบริหารมีผลต่อผลลัพธ์การจัดความรู้ 2. โครงสร้างและปัจจัยพื้นฐานมีตัวแปรแฝง คือ วัฒนธรรม การเสริมพลัง และความร่วมมือมีผลต่อกระบวนการจัดการความรู้ 3. กระบวนการจัดการความรู้มีตัวแปรแฝง คือ การแบ่งปัน การนำความรู้ไปใช้ และการติดตามมีผลต่อผลัพธ์การจัดการความรู้ ส่วนผลการวิจัยเชิงคุณภาพ พบว่า การจัดการความรู้ทั้งภาครัฐและภาคเอกชนไม่แตกต่างกันทุกด้าน แต่มีข้อแตกต่างเพียงเล็กน้อย คือ ด้านเอกชนมีการใช้เทคโนโลยีมากกว่าบางโรงพยาบาล โรงพยาบาลภาครัฐมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในทีมระหว่างสหสาขาวิชาชีพมากกว่า Contents note: ปีการศึกษา 2557 Curricular : PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25887 SIU THE-T. รูปแบบการจัดการความรู้ในการพยาบาลโรคหัวใจ = Model of knowledge management for cardiac nursing in the high competence public and private hospitals : ในโรงพยาบาลภาครัฐและภาคเอกชนที่มีศักยภาพสูง [printed text] / เพ็ญจันทร์ แสนประสาน, Author . - [S.l.] : คณะการจัดการ มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2557 . - x,460 หน้า : ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] มหาวิทยาลัยชินวัตร.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]รูปแบบการจัดการความรู้ -- ดุษฎีนิพนธ์
[NLM]โรคหัวใจ, การพยาบาล
[NLM]โรคหัวใจ, การพยาบาล -- ดุษฎีนิพนธ์
[NLM]โรงพยาบาลภาครัฐศักยภาพสูง
[NLM]โรงพยาบาลภาคเอกชนศักยภาพสูงKeywords: การจัดการความรู้.
รูปแบบการจัดการความรู้.
การพยาบาลโรคหัวใจ.
โรงพยาบาลภาครัฐศักยภาพสูง.
โรงพยาบาลภาคเอกชนศักยภาพสูง.Class number: SIU THE-T SOM-DBA-2015-02 Abstract: การศึกษานี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณาผสมผสานวิธีการเชิงปริมาณ และเขิงคุณภาพในการพัฒนารูปแบบการจัดการความรู้การพยาบาลโรคหัใจในโรงพยาบาลภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพสูงในประเทศ เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบัน ปัญหาและความต้องการในการจัดการความรู้การพยาบาลโรคหัวใจของโรงพยาบาลภาครัฐและเอกชน และเพื่อสร้างและยืนยันรูปแบบการจัดการความรู้การพยาบาลโรคหัวใจในโรงพยาบาลภาครัฐและภาคเอกชนที่มีศักยภาพสูง โดยมีกลุ่มตัวอย่างจำนวน 629 คน วิเคราะห์ความเชื่อถือและองค์ประกอบเชิงยืนยันด้วยโปรแกรมสมการโครงสร้าง SEM เพื่อยืนยันสมมติฐาน ซึ่งผลการศึกษา พบว่า โมเดลการวัดของตัวแปรที่ใช้ในการวิจัยสอดคล้องกับทฤษฎีตามองค์ประกอบด้าน 1. ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการความรู้มีตัวแปรแฝง คือ ผู้บริหารและเทคโนโลยีมีผลต่อกระบวนการจัดการความรู้ และการบริหารมีผลต่อผลลัพธ์การจัดความรู้ 2. โครงสร้างและปัจจัยพื้นฐานมีตัวแปรแฝง คือ วัฒนธรรม การเสริมพลัง และความร่วมมือมีผลต่อกระบวนการจัดการความรู้ 3. กระบวนการจัดการความรู้มีตัวแปรแฝง คือ การแบ่งปัน การนำความรู้ไปใช้ และการติดตามมีผลต่อผลัพธ์การจัดการความรู้ ส่วนผลการวิจัยเชิงคุณภาพ พบว่า การจัดการความรู้ทั้งภาครัฐและภาคเอกชนไม่แตกต่างกันทุกด้าน แต่มีข้อแตกต่างเพียงเล็กน้อย คือ ด้านเอกชนมีการใช้เทคโนโลยีมากกว่าบางโรงพยาบาล โรงพยาบาลภาครัฐมีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในทีมระหว่างสหสาขาวิชาชีพมากกว่า Contents note: ปีการศึกษา 2557 Curricular : PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25887 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000550846 SIU THE-T SOM-DBA-2015-02 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000507036 SIU THE-T SOM-DBA-2015-02 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available รูปแบบการจัดการความรู้การพยาบาลโรคหัวใจ / เพ็ญจันทร์ แสนประสาน in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.17 No.1 (Jan-Apr) 2016 ([06/20/2016])
[article]
Title : รูปแบบการจัดการความรู้การพยาบาลโรคหัวใจ : ในโรงพยาบาลภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพสูง Material Type: printed text Authors: เพ็ญจันทร์ แสนประสาน, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Author ; วรเดช จันทรศร, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.36-44 General note: เป็นการวิจัยเชิงปริมาณและคุณภาพ ซึ่งการวิจัยเชิงปริมาณใช้กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 629 คน และใช้เกณฑ์การวิเคราะห์ความเชื่อถือ และองค์ประกอบเชิงยืนยันด้วยโปรแกรมสมการโครงสร้าง SEM เพื่อยืนยันสมมติฐาน ผลการวิจัย พบว่า การจัดการความรู้การพยาบาลโรคหัวใจภาครัฐและภาคเอกชนไม่แตกต่างกัน ส่วนการยืนยันรูปแบบการจัดการความรู้การพยาบาลโรคหัวใจ โดยการวิจัยเชิงปริมาณ ด้านยุทธศาสตร์การบริหารจัดการความรู้ คือผู้บริหารและเทคโนโลยีมีผลต่อกระบวนการการจัดการความรู้ด้านโครงสร้างปัจจัยพื้นฐานการจัดการความรู้ คือ การมีส่วนร่วมและการเสริมพลังในการจัดการความรู้ มัีผลต่อกระบวการจัดการความรู้ ด้านกระบวนการจัดการความรู้ คือ การนำความรู้ไปใช้และติดตามผลการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ มีผลต่อผลลัพธ์การจัดการเรียนรู้ โครงสร้างและปัจจัยพื้นฐานการจัดการความรู้ ไม่มีผลต่อผลลัพธ์การจัดการเรียนรู้การพยาบาลโรคหัวใจในด้านใดด้านหนึ่ง
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.17 No.1 (Jan-Apr) 2016 [06/20/2016] . - p.36-44Keywords: รูปแบบการจัดการความรู้.การพยาบาลโรคหัวใจ.โรงพยาบาลภาครัฐและเอกชนศักยภาพสูง. Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25559 [article] รูปแบบการจัดการความรู้การพยาบาลโรคหัวใจ : ในโรงพยาบาลภาครัฐและเอกชนที่มีศักยภาพสูง [printed text] / เพ็ญจันทร์ แสนประสาน, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Author ; วรเดช จันทรศร, Author . - 2016 . - p.36-44.
เป็นการวิจัยเชิงปริมาณและคุณภาพ ซึ่งการวิจัยเชิงปริมาณใช้กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 629 คน และใช้เกณฑ์การวิเคราะห์ความเชื่อถือ และองค์ประกอบเชิงยืนยันด้วยโปรแกรมสมการโครงสร้าง SEM เพื่อยืนยันสมมติฐาน ผลการวิจัย พบว่า การจัดการความรู้การพยาบาลโรคหัวใจภาครัฐและภาคเอกชนไม่แตกต่างกัน ส่วนการยืนยันรูปแบบการจัดการความรู้การพยาบาลโรคหัวใจ โดยการวิจัยเชิงปริมาณ ด้านยุทธศาสตร์การบริหารจัดการความรู้ คือผู้บริหารและเทคโนโลยีมีผลต่อกระบวนการการจัดการความรู้ด้านโครงสร้างปัจจัยพื้นฐานการจัดการความรู้ คือ การมีส่วนร่วมและการเสริมพลังในการจัดการความรู้ มัีผลต่อกระบวการจัดการความรู้ ด้านกระบวนการจัดการความรู้ คือ การนำความรู้ไปใช้และติดตามผลการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ มีผลต่อผลลัพธ์การจัดการเรียนรู้ โครงสร้างและปัจจัยพื้นฐานการจัดการความรู้ ไม่มีผลต่อผลลัพธ์การจัดการเรียนรู้การพยาบาลโรคหัวใจในด้านใดด้านหนึ่ง
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.17 No.1 (Jan-Apr) 2016 [06/20/2016] . - p.36-44Keywords: รูปแบบการจัดการความรู้.การพยาบาลโรคหัวใจ.โรงพยาบาลภาครัฐและเอกชนศักยภาพสูง. Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25559