From this page you can:
Home |
Search results
126 result(s) search for keyword(s) 'มะเร็งเต้านม. การดูแล. ผู้ป่วย.'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
ผลของการใช้รูปแบบการจัดการผู้ป่วยรายกรณีในการดูแลผู้ป่วยมะเร็งเต้านมต่อความพึงพอใจในบริการของผู้ป่วยและการรับรู้คุณค่าวิชาชีพพยาบาลประจำการ หอผู้ป่วยศัลยกรรมทั่วไปหญิงโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ / เพทาย สำรวยผล / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2553
Title : ผลของการใช้รูปแบบการจัดการผู้ป่วยรายกรณีในการดูแลผู้ป่วยมะเร็งเต้านมต่อความพึงพอใจในบริการของผู้ป่วยและการรับรู้คุณค่าวิชาชีพพยาบาลประจำการ หอผู้ป่วยศัลยกรรมทั่วไปหญิงโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ Original title : Effects of nursing case management in breast cancer patients on patients' satisfaction and perceived of professional nurses' value, women general surgery ward in King Chulalongkorn Memorial Hospital Material Type: printed text Authors: เพทาย สำรวยผล, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2553 Pagination: ก-ญ, 167 แผ่น Layout: ตาราง. Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]] --จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2553 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การพยาบาล
[LCSH]ผู้ป่วย -- การดูแล
[LCSH]มะเร็ง -- ผู้ป่วย -- การดูแล
[LCSH]มะเร็ง -- ผู้ป่วย -- การพยาบาล
[LCSH]มะเร็งเต้านมKeywords: มะเร็งเต้านม.
การดูแล.
ผู้ป่วย.Class number: WP870 พ642 2553 Abstract: การวิจัยกึ่งทดลองครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความพึงพอใจในบริการของผู้ป่วยมะเร็งเต้านมกลุ่มที่ได้รับการดูแลโดยใช้รูปแบบการจัดการผู้ป่วยรายกรณีกับกลุ่มที่ได้รับการดูแลตามปกติ และเปรียบเทียบการรับรู้คุณค่าวิชาชีพพยาบาลของพยาบาลประจำการระหว่างกลุ่มที่ใช้รูปแบบการจัดการผู้ป่วยรายกรณีในการดูแลผู้ป่วยมะเร็งเต้านมกับกลุ่มที่ใช้การดูแลตามปกติ กลุ่มตัวอย่างเป็นกลุ่มผู้ป่วยมะเร็งเต้านม จำนวน 60 คน และกลุ่มพยาบาลประจำการ หอผู้ป่วยศัลยกรรมทั่วไปหญิง โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ จำนวน 20 คน เครื่องมือในการทดลอง ประกอบด้วย แผนการอบรม แผนการดูแลผู้ป่วยมะเร็งเต้านม คู่มือการจัดการผู้ป่วยรายกรณีและแบบกำกับการทดลอง เครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย แบบสอบถามความพึงพอใจในบริการของผู้ป่วย และแบบสอบถามการรับรู้คุณค่าวิชาชีพพยาบาล เครื่องมือทั้งหมดได้รับการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ ทดสอบค่าความเที่ยงด้วยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาครอนบาคได้เท่ากับ .95 และ .96 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบสถิติที (t-test) และการทดสอบสถิติ Wilcoxon Rank Sum Test ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1.ความพึงพอใจในบริการของผู้ป่วยมะเร็งเต้านมกลุ่มที่ได้รับการดูแลโดยใช้รูปแบบการจัดการผู้ป่วยรายกรณี ([X-Bar] = 4.38) สูงกว่ากลุ่มที่ได้รับการดูแลตามปกติ ([X-Bar] = 3.37) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2.การรับรู้คุณค่าวิชาชีพพยาบาลกลุ่มพยาบาลประจำการที่ใช้รูปแบบการจัดการผู้ป่วยรายกรณีหลังการทดลอง ([X-Bar] = 4.74) สูงกว่ากลุ่มที่ใช้การดูแลตามปกติ ([X-Bar] = 4.01) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23200 ผลของการใช้รูปแบบการจัดการผู้ป่วยรายกรณีในการดูแลผู้ป่วยมะเร็งเต้านมต่อความพึงพอใจในบริการของผู้ป่วยและการรับรู้คุณค่าวิชาชีพพยาบาลประจำการ หอผู้ป่วยศัลยกรรมทั่วไปหญิงโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ = Effects of nursing case management in breast cancer patients on patients' satisfaction and perceived of professional nurses' value, women general surgery ward in King Chulalongkorn Memorial Hospital [printed text] / เพทาย สำรวยผล, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553 . - ก-ญ, 167 แผ่น : ตาราง. ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม.[การบริหารการพยาบาล]] --จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2553
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การพยาบาล
[LCSH]ผู้ป่วย -- การดูแล
[LCSH]มะเร็ง -- ผู้ป่วย -- การดูแล
[LCSH]มะเร็ง -- ผู้ป่วย -- การพยาบาล
[LCSH]มะเร็งเต้านมKeywords: มะเร็งเต้านม.
การดูแล.
ผู้ป่วย.Class number: WP870 พ642 2553 Abstract: การวิจัยกึ่งทดลองครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบความพึงพอใจในบริการของผู้ป่วยมะเร็งเต้านมกลุ่มที่ได้รับการดูแลโดยใช้รูปแบบการจัดการผู้ป่วยรายกรณีกับกลุ่มที่ได้รับการดูแลตามปกติ และเปรียบเทียบการรับรู้คุณค่าวิชาชีพพยาบาลของพยาบาลประจำการระหว่างกลุ่มที่ใช้รูปแบบการจัดการผู้ป่วยรายกรณีในการดูแลผู้ป่วยมะเร็งเต้านมกับกลุ่มที่ใช้การดูแลตามปกติ กลุ่มตัวอย่างเป็นกลุ่มผู้ป่วยมะเร็งเต้านม จำนวน 60 คน และกลุ่มพยาบาลประจำการ หอผู้ป่วยศัลยกรรมทั่วไปหญิง โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ จำนวน 20 คน เครื่องมือในการทดลอง ประกอบด้วย แผนการอบรม แผนการดูแลผู้ป่วยมะเร็งเต้านม คู่มือการจัดการผู้ป่วยรายกรณีและแบบกำกับการทดลอง เครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย แบบสอบถามความพึงพอใจในบริการของผู้ป่วย และแบบสอบถามการรับรู้คุณค่าวิชาชีพพยาบาล เครื่องมือทั้งหมดได้รับการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ ทดสอบค่าความเที่ยงด้วยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาครอนบาคได้เท่ากับ .95 และ .96 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การทดสอบสถิติที (t-test) และการทดสอบสถิติ Wilcoxon Rank Sum Test ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1.ความพึงพอใจในบริการของผู้ป่วยมะเร็งเต้านมกลุ่มที่ได้รับการดูแลโดยใช้รูปแบบการจัดการผู้ป่วยรายกรณี ([X-Bar] = 4.38) สูงกว่ากลุ่มที่ได้รับการดูแลตามปกติ ([X-Bar] = 3.37) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2.การรับรู้คุณค่าวิชาชีพพยาบาลกลุ่มพยาบาลประจำการที่ใช้รูปแบบการจัดการผู้ป่วยรายกรณีหลังการทดลอง ([X-Bar] = 4.74) สูงกว่ากลุ่มที่ใช้การดูแลตามปกติ ([X-Bar] = 4.01) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23200 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000355105 WP870 พ642 2553 Thesis Main Library Thesis Corner Available 32002000355113 WP870 พ642 2553 c.2 Thesis Main Library Thesis Corner Available การจัดการความเจ็บป่วยของตนเองในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง / กันยารัตน์ มาเกตุ / บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร - 2552
Title : การจัดการความเจ็บป่วยของตนเองในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง : ที่มีการฟื้นความสามารถ Original title : Self management on illness among the recovery stroke patients Material Type: printed text Authors: กันยารัตน์ มาเกตุ, Author Publisher: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร Publication Date: 2552 Pagination: 126 แผ่น Layout: ตาราง. Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย. ม [การพยาบาลเวชปฎิบัติชุมชน]] -- มหาวิทยาลัยนเรศวร 2552 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ความเจ็บปวด -- การบำบัด
[LCSH]ผู้ป่วย -- การดูแล
[LCSH]หลอดเลือดสมอง -- โรคKeywords: โรคหลอดเลือดสมอง.
ผู้ป่วย.
การดูแลตนเอง.Class number: WL355 ก156 2552 Abstract: ศึกษาความหมายและวิธีการจัดการกับความเจ็บป่วยตามมุมองของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดทีี่มีการฟื้นความสามารถ กลุ่มผู้ให้ข้อมูลหลัก คือ ผู้ที่ได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์ว่าเป็นโรคหลอดเลือดสมองที่มารับบริการรักษาพยาบาลที่โรงพยาบาลวัดโบสถ์จังหวัดพิษณุโลก และมีการฟื้นความสามารถโดยการผ่านการประเมินระดับความสามารถในการปฎิบัติกิจวัตรประจำวันอยู่ในเกณฑ์ 75-100 คะแนน จำนวน 13 คน ใช้วิธีการสัมภาษณ์ระดับลึก เครื่องมือที่ใช้คือ แนวคำถามปลายเปิด เก็บรวบรวมข้อมูลระหว่างเดือนมีนาคม - พฤษภาคม 2551 วิเคราะห์ข้อมูลโดยวิเคราะห์เชิงเนื้อหา (Content anlysis) ตามแนวคิดของ Burnard ผลการศึกษาพบว่า
1. ผู้ให้ข้อมูลได้ให้ความหมายต่อภาวะเจ็บป่วย 3 ความหมาย คือ เป็นโรคที่ตายทั้งเป็น หรือเหมือนคนที่ตายแล้ว โรคเวรโรคกรรมและโรคที่ต้องพึ่งพาเป็นภาระให้กับผู้อื่น 2. ความรู้สึกต่อการเจ็บป่วยนั้นผู้ให้ข้อมูลมีความรู้สึกว่า เป็นชั่วคราวมีความหวังจะหาย เครียด อารมณ์หงุดหงิดที่ดูแลตัวเองไม่ได้และไม่อยากให้เป็นภาระกับผู้อื่น อยากเอาชนะคำสบประมาท 3. วิธีการจัดการกับความเจ็บป่วยนั้นพบว่า ได้จัีดการกับความทุกข์ทั้งทางร่างกายและจิตใจด้วยการทำใจให้ยอมรับ คิดให้ชีวิตมีความหวัง หาวิธีผ่อนคลายความเครียด คิดเชิงบวกต่อความเจ็บป่วย พยายามช่วยเหลือตนเอง และออกกำลังกายฟื้นฟูร่างกายอย่างต่อเนื่อง ปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตให้สอดคล้องกัีบสภาพร่างกายอันได้แก่ การเลือกและจำกัดอาหาร นอนหลับพักผ่อนอย่างเพียงพอ ใช้การแพทย์แผยไทย แสวงหาวิธีการรักษาต่าง ๆ มาทดลองใช้ รับการรักษษกับแพทย์แผนปัจจุบันอย่างต่อเนื่อง และเมื่อฟื้นหาย ได้คงวิถีชีวิตที่ดี การปฎิบัติงานช่วยเหลือชุมชนด้วยจิตอาสาCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23201 การจัดการความเจ็บป่วยของตนเองในผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง = Self management on illness among the recovery stroke patients : ที่มีการฟื้นความสามารถ [printed text] / กันยารัตน์ มาเกตุ, Author . - [S.l.] : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2552 . - 126 แผ่น : ตาราง. ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย. ม [การพยาบาลเวชปฎิบัติชุมชน]] -- มหาวิทยาลัยนเรศวร 2552
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ความเจ็บปวด -- การบำบัด
[LCSH]ผู้ป่วย -- การดูแล
[LCSH]หลอดเลือดสมอง -- โรคKeywords: โรคหลอดเลือดสมอง.
ผู้ป่วย.
การดูแลตนเอง.Class number: WL355 ก156 2552 Abstract: ศึกษาความหมายและวิธีการจัดการกับความเจ็บป่วยตามมุมองของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดทีี่มีการฟื้นความสามารถ กลุ่มผู้ให้ข้อมูลหลัก คือ ผู้ที่ได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์ว่าเป็นโรคหลอดเลือดสมองที่มารับบริการรักษาพยาบาลที่โรงพยาบาลวัดโบสถ์จังหวัดพิษณุโลก และมีการฟื้นความสามารถโดยการผ่านการประเมินระดับความสามารถในการปฎิบัติกิจวัตรประจำวันอยู่ในเกณฑ์ 75-100 คะแนน จำนวน 13 คน ใช้วิธีการสัมภาษณ์ระดับลึก เครื่องมือที่ใช้คือ แนวคำถามปลายเปิด เก็บรวบรวมข้อมูลระหว่างเดือนมีนาคม - พฤษภาคม 2551 วิเคราะห์ข้อมูลโดยวิเคราะห์เชิงเนื้อหา (Content anlysis) ตามแนวคิดของ Burnard ผลการศึกษาพบว่า
1. ผู้ให้ข้อมูลได้ให้ความหมายต่อภาวะเจ็บป่วย 3 ความหมาย คือ เป็นโรคที่ตายทั้งเป็น หรือเหมือนคนที่ตายแล้ว โรคเวรโรคกรรมและโรคที่ต้องพึ่งพาเป็นภาระให้กับผู้อื่น 2. ความรู้สึกต่อการเจ็บป่วยนั้นผู้ให้ข้อมูลมีความรู้สึกว่า เป็นชั่วคราวมีความหวังจะหาย เครียด อารมณ์หงุดหงิดที่ดูแลตัวเองไม่ได้และไม่อยากให้เป็นภาระกับผู้อื่น อยากเอาชนะคำสบประมาท 3. วิธีการจัดการกับความเจ็บป่วยนั้นพบว่า ได้จัีดการกับความทุกข์ทั้งทางร่างกายและจิตใจด้วยการทำใจให้ยอมรับ คิดให้ชีวิตมีความหวัง หาวิธีผ่อนคลายความเครียด คิดเชิงบวกต่อความเจ็บป่วย พยายามช่วยเหลือตนเอง และออกกำลังกายฟื้นฟูร่างกายอย่างต่อเนื่อง ปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตให้สอดคล้องกัีบสภาพร่างกายอันได้แก่ การเลือกและจำกัดอาหาร นอนหลับพักผ่อนอย่างเพียงพอ ใช้การแพทย์แผยไทย แสวงหาวิธีการรักษาต่าง ๆ มาทดลองใช้ รับการรักษษกับแพทย์แผนปัจจุบันอย่างต่อเนื่อง และเมื่อฟื้นหาย ได้คงวิถีชีวิตที่ดี การปฎิบัติงานช่วยเหลือชุมชนด้วยจิตอาสาCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23201 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354785 WL355 ก156 2552 Thesis Main Library Thesis Corner Available การประเมินประสิทธิผลของโปรแกรมการดูแลผู้ป่วยหลือดเลือดสมอง / สุปรีดา มั่นคง in วารสารพยาบาลสาธารณสุข, Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 ([02/08/2017])
[article]
Title : การประเมินประสิทธิผลของโปรแกรมการดูแลผู้ป่วยหลือดเลือดสมอง : และญาติผู้ดูแลในระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้าน Material Type: printed text Authors: สุปรีดา มั่นคง, Author ; ยุพาพิน ศิรโพธิ์งาม, Author ; สิริรัตน์ ลีลาจรัส, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.84-101 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสาธารณสุข > Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 [02/08/2017] . - p.84-101Keywords: ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง.ญาติผู้ดูแลผู้ป่วย.การดูแลระยะเปลี่ยนผ่าน.โรงพยาบาล. Abstract: เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง เพื่อศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง และญาติผู้ดูแลในระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้าน โดยการใช้การดูแลระยะเปลี่ยนผ่านตามแนวคิดของเนเลอร์ เป็นกรอบแนวคิดการวิจัย.
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ คือ กลุ่มผู้ป่วย และญาติผู้ดูแลตามเกณฑ์ แบ่งเป็นกลุ่มควบคุม 34 คู่ และกลุ่มทดลอง 40 คู่
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ
1)โปรแกรมการดูแลผู้ป่วยโรคหลือดเลือดสมองและญาติผู้ดูแลในระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้าน
2)แบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ป่วยและญาติผู้ดูแล
3)แบบประเมินความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน
4)แบบประเมินความพร้อมของญาติผู้ดูแล
5)แบบประเมินภาวะแทรกซ้อนของผู้ป่วย
6)แบบประเมินความมั่นใจในการดูแล
7)แบบประเมินความเครียดของญาติผู้ดูแล
8)แบบประเมินคุณภาพชีวิตของญาติผู้ดูแล
และ 9)แบบประเมินความพึงพอใจของผู้ป่วยและฐาติผู้ดูแล
ผลการศึกษา พบว่า ระยะ 1เ ดือน-3 เดือน หลังจำหน่าย ค่าเฉี่ยคะแนนความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวันของผู้ป่วย ความพร้อมของญาติผู้ดูแล และความพึงพอใจของผู้ป่วยและญาติผู้ดูแลในกลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และในระยะ 3 เดือนหลังจำหน่าย พบว่า ค่าเฉลี่ยคะแนนการปรับตัวและคุณภาพชีวิตของญาติผู้ดูแลในกลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
การศึกษาครั้งนี้ พบว่า โปรแกรมดังกล่าวสามารถนำไปปรับใช้กับการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองเสื่อมและญาติผู้ดูแลในระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้านได้Link for e-copy: http://phpn.ph.mahidol.ac.th/Journal/index.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26872 [article] การประเมินประสิทธิผลของโปรแกรมการดูแลผู้ป่วยหลือดเลือดสมอง : และญาติผู้ดูแลในระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้าน [printed text] / สุปรีดา มั่นคง, Author ; ยุพาพิน ศิรโพธิ์งาม, Author ; สิริรัตน์ ลีลาจรัส, Author . - 2017 . - p.84-101.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสาธารณสุข > Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 [02/08/2017] . - p.84-101Keywords: ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง.ญาติผู้ดูแลผู้ป่วย.การดูแลระยะเปลี่ยนผ่าน.โรงพยาบาล. Abstract: เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง เพื่อศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง และญาติผู้ดูแลในระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้าน โดยการใช้การดูแลระยะเปลี่ยนผ่านตามแนวคิดของเนเลอร์ เป็นกรอบแนวคิดการวิจัย.
กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ คือ กลุ่มผู้ป่วย และญาติผู้ดูแลตามเกณฑ์ แบ่งเป็นกลุ่มควบคุม 34 คู่ และกลุ่มทดลอง 40 คู่
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ
1)โปรแกรมการดูแลผู้ป่วยโรคหลือดเลือดสมองและญาติผู้ดูแลในระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้าน
2)แบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ป่วยและญาติผู้ดูแล
3)แบบประเมินความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน
4)แบบประเมินความพร้อมของญาติผู้ดูแล
5)แบบประเมินภาวะแทรกซ้อนของผู้ป่วย
6)แบบประเมินความมั่นใจในการดูแล
7)แบบประเมินความเครียดของญาติผู้ดูแล
8)แบบประเมินคุณภาพชีวิตของญาติผู้ดูแล
และ 9)แบบประเมินความพึงพอใจของผู้ป่วยและฐาติผู้ดูแล
ผลการศึกษา พบว่า ระยะ 1เ ดือน-3 เดือน หลังจำหน่าย ค่าเฉี่ยคะแนนความสามารถในการทำกิจวัตรประจำวันของผู้ป่วย ความพร้อมของญาติผู้ดูแล และความพึงพอใจของผู้ป่วยและญาติผู้ดูแลในกลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และในระยะ 3 เดือนหลังจำหน่าย พบว่า ค่าเฉลี่ยคะแนนการปรับตัวและคุณภาพชีวิตของญาติผู้ดูแลในกลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
การศึกษาครั้งนี้ พบว่า โปรแกรมดังกล่าวสามารถนำไปปรับใช้กับการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองเสื่อมและญาติผู้ดูแลในระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้านได้Link for e-copy: http://phpn.ph.mahidol.ac.th/Journal/index.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26872 การศึกษาความสัมพันธ์ของความต้องการการดูแลแบบประคับประคอง / ศุภศิริิ เชียงตา in วารสารสภาการพยาบาล, Vol.32 No.2 (Apr-Jun) 2017-2560 ([09/21/2017])
[article]
Title : การศึกษาความสัมพันธ์ของความต้องการการดูแลแบบประคับประคอง : ระหว่างผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอกับผู้ดูแล Material Type: printed text Authors: ศุภศิริิ เชียงตา, Author ; วัลย์ลดา ฉันท์เรืองวณิชย์, Author ; อรพรรณ โตสิงห์, Author ; ภาวิน เกษกุล, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.31-48 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.32 No.2 (Apr-Jun) 2017-2560 [09/21/2017] . - p.31-48Keywords: วามต้องการ. การดูแลแบบประคับประคอง. ผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอ. ผู้ดูแล. Abstract: วัตถุประสงค์การวิจัย: ศึกษาความสัมพันธ์ของความต้องการการดูแลแบบประคับประคองระหว่างผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอกับผู้ดูแลก่อนและหลังได้รับการรักษาการออกแบบวิจัย: การวิจัยเชิงบรรยายวิเคราะห์ความสัมพันธ์การดำาเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอกับผู้ดูแล กลุ่มละ 45 รายที่รักษาตัวในโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ ในกรุงเทพมหานคร เครื่องมือในการวิจัย ได้แก่ แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคลและประวัติการเจ็บป่วย แบบสอบถามปัญหาและความต้องการการดูแลแบบประคับประคองสำหรับผู้ป่วยและญาติ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนาและสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์สเปียร์แมนผลการวิจัย: ผู้ป่วยต้องการความช่วยเหลือด้านการเงินมากเป็นอันดับแรก (22.2%) ในช่วงก่อนรักษา และต้องการการดูแลด้านข้อมูลมากเป็นอันดับแรก (20%) ในช่วงหลังได้รับการรักษาสำาหรับผู้ดูแลพบว่ามีความต้องการความช่วยเหลือด้านการดูแลผู้ป่วยมากเป็นอันดับแรกทั้งก่อนและหลังได้รับการรักษา (15.6% และ 11.1%) ความต้องการการดูแลโดยรวมของผู้ป่วยและผู้ดูแลสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติทั้งก่อนและหลังได้รับการรักษา (rs= .47, rs= .46, p < .01)ส่วนความสัมพันธ์รายด้านพบว่าก่อนได้รับการรักษาผู้ป่วยและผู้ดูแลต้องการการดูแลด้านสังคมและด้านการเงินสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ (rs= .36, p < .05, rs= .52, p < .01) และภายหลังได้รับการรักษาผู้ป่วยและผู้ดูแล มีความต้องการความช่วยเหลือทางด้านจิตวิญญาณและด้านการเงินสัมพันธ์กันมีนัยสำาคัญทางสถิติ (rs= .34, p < .05, rs= .39, p < .01 ตามลำาดับ)ข้อเสนอแนะ: พยาบาลมีบทบาทสำาคัญในการประเมินปัญหาและความต้องการการดูแลแบบประคับประคองของผู้ป่วยและผู้ดูแลทั้งก่อนและหลังได้รับการรักษา เพื่อใช้เป็นแนวทางในการให้คำาปรึกษาตลอดจนแก้ไขปัญหา นำาไปสู่การพัฒนาคุณภาพการดูแลแบบประคับประคองสำาหรับผู้ป่วยและผู้ดูแลกลุ่มนี้คำสำคัญ: ความต้องการ การดูแลแบบประคับประคอง ผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอ ผู้ดูแล
Objective: To examine head & neck cancer patients’ pre- and post-treatment needs for palliative care and their relationship with their caregivers. Design: Correlational descriptive research.
Methodology: The participants were 45 head & neck cancer patients and their caregivers. The patients were hospitalised at a tertiary hospital in Bangkok. The research instruments consisted of (i) a general information and illness history form; and (ii) a
palliative care problem-and-need questionnaire for the patients and their caregivers. The data were analysed using descriptive statistics and Spearman Correlation Analysis.
Results: The study showed that the patients’ primary pre-treatment need was fnancial support (22.2%), whilst their primary post-treatment need was disease-related information (20%). Their caregivers, on the other hand, identifed palliative care assistance for the patients as their primary need, both before and after treatment (15.6% and 11.1%, respectively).
A statically signifcant relationship was found between the patients’ and their caregivers’
overall pre- and post-treatment palliative care needs (rs = .47, rs = .46, p < .01). Category-based analysis showed that both the patients’ and their caregivers’ primary
pre-treatment needs were signifcantly related, and they mainly concerned social and fnancial support (rs = .36, p < .05, rs = .52, p < .01, respectively). After treatment, a statistically signifcant
relationship was also found between the patients’ and their caregivers’ needs, which mainly concerned spiritual and fnancial support (rs = .34, p < .05, rs = .39, p < .01, respectively).
Recommendations: It is suggested that nurses play an active role in assessing patients’ pre- and post-treatment problems and palliative care needs. This practice could lead to more effective counselling and problem-solving approaches, which ultimately could improve palliative care methods for head & neck cancer patients.
Link for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27296 [article] การศึกษาความสัมพันธ์ของความต้องการการดูแลแบบประคับประคอง : ระหว่างผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอกับผู้ดูแล [printed text] / ศุภศิริิ เชียงตา, Author ; วัลย์ลดา ฉันท์เรืองวณิชย์, Author ; อรพรรณ โตสิงห์, Author ; ภาวิน เกษกุล, Author . - 2017 . - p.31-48.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.32 No.2 (Apr-Jun) 2017-2560 [09/21/2017] . - p.31-48Keywords: วามต้องการ. การดูแลแบบประคับประคอง. ผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอ. ผู้ดูแล. Abstract: วัตถุประสงค์การวิจัย: ศึกษาความสัมพันธ์ของความต้องการการดูแลแบบประคับประคองระหว่างผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอกับผู้ดูแลก่อนและหลังได้รับการรักษาการออกแบบวิจัย: การวิจัยเชิงบรรยายวิเคราะห์ความสัมพันธ์การดำาเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอกับผู้ดูแล กลุ่มละ 45 รายที่รักษาตัวในโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ ในกรุงเทพมหานคร เครื่องมือในการวิจัย ได้แก่ แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคลและประวัติการเจ็บป่วย แบบสอบถามปัญหาและความต้องการการดูแลแบบประคับประคองสำหรับผู้ป่วยและญาติ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนาและสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์สเปียร์แมนผลการวิจัย: ผู้ป่วยต้องการความช่วยเหลือด้านการเงินมากเป็นอันดับแรก (22.2%) ในช่วงก่อนรักษา และต้องการการดูแลด้านข้อมูลมากเป็นอันดับแรก (20%) ในช่วงหลังได้รับการรักษาสำาหรับผู้ดูแลพบว่ามีความต้องการความช่วยเหลือด้านการดูแลผู้ป่วยมากเป็นอันดับแรกทั้งก่อนและหลังได้รับการรักษา (15.6% และ 11.1%) ความต้องการการดูแลโดยรวมของผู้ป่วยและผู้ดูแลสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติทั้งก่อนและหลังได้รับการรักษา (rs= .47, rs= .46, p < .01)ส่วนความสัมพันธ์รายด้านพบว่าก่อนได้รับการรักษาผู้ป่วยและผู้ดูแลต้องการการดูแลด้านสังคมและด้านการเงินสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ (rs= .36, p < .05, rs= .52, p < .01) และภายหลังได้รับการรักษาผู้ป่วยและผู้ดูแล มีความต้องการความช่วยเหลือทางด้านจิตวิญญาณและด้านการเงินสัมพันธ์กันมีนัยสำาคัญทางสถิติ (rs= .34, p < .05, rs= .39, p < .01 ตามลำาดับ)ข้อเสนอแนะ: พยาบาลมีบทบาทสำาคัญในการประเมินปัญหาและความต้องการการดูแลแบบประคับประคองของผู้ป่วยและผู้ดูแลทั้งก่อนและหลังได้รับการรักษา เพื่อใช้เป็นแนวทางในการให้คำาปรึกษาตลอดจนแก้ไขปัญหา นำาไปสู่การพัฒนาคุณภาพการดูแลแบบประคับประคองสำาหรับผู้ป่วยและผู้ดูแลกลุ่มนี้คำสำคัญ: ความต้องการ การดูแลแบบประคับประคอง ผู้ป่วยมะเร็งศีรษะและคอ ผู้ดูแล
Objective: To examine head & neck cancer patients’ pre- and post-treatment needs for palliative care and their relationship with their caregivers. Design: Correlational descriptive research.
Methodology: The participants were 45 head & neck cancer patients and their caregivers. The patients were hospitalised at a tertiary hospital in Bangkok. The research instruments consisted of (i) a general information and illness history form; and (ii) a
palliative care problem-and-need questionnaire for the patients and their caregivers. The data were analysed using descriptive statistics and Spearman Correlation Analysis.
Results: The study showed that the patients’ primary pre-treatment need was fnancial support (22.2%), whilst their primary post-treatment need was disease-related information (20%). Their caregivers, on the other hand, identifed palliative care assistance for the patients as their primary need, both before and after treatment (15.6% and 11.1%, respectively).
A statically signifcant relationship was found between the patients’ and their caregivers’
overall pre- and post-treatment palliative care needs (rs = .47, rs = .46, p < .01). Category-based analysis showed that both the patients’ and their caregivers’ primary
pre-treatment needs were signifcantly related, and they mainly concerned social and fnancial support (rs = .36, p < .05, rs = .52, p < .01, respectively). After treatment, a statistically signifcant
relationship was also found between the patients’ and their caregivers’ needs, which mainly concerned spiritual and fnancial support (rs = .34, p < .05, rs = .39, p < .01, respectively).
Recommendations: It is suggested that nurses play an active role in assessing patients’ pre- and post-treatment problems and palliative care needs. This practice could lead to more effective counselling and problem-solving approaches, which ultimately could improve palliative care methods for head & neck cancer patients.
Link for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27296 ความสัมพนัธ์ระหว่างโครงสร้าง กระบวนการ และผลลัพธ์ด้านความพึงพอใจในการดูแลเท้าของผู้สูงอายุโรคเบาหวาน / อัญพัชญ์ อรุณโรจน์โสภิต in วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์, Vol.36 No.2 (May-Aug) 2016 ([12/27/2016])
[article]
Title : ความสัมพนัธ์ระหว่างโครงสร้าง กระบวนการ และผลลัพธ์ด้านความพึงพอใจในการดูแลเท้าของผู้สูงอายุโรคเบาหวาน : ที่มารับบริการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล Original title : The relationships amomg structure process and satisfaction outcomes of diabetic adults in foot care at sub-district health promotion hospital Material Type: printed text Authors: อัญพัชญ์ อรุณโรจน์โสภิต, Author ; วิไลวรรณ ทองเจริญ, Author ; วิไลวรรณ สมบุญตนนท์, Author ; รัชนก คชไกร, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.181-201 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์ > Vol.36 No.2 (May-Aug) 2016 [12/27/2016] . - p.181-201Keywords: การดูแลเท้าผู้สูงอายุ.โรคเบาหวาน.โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล.ความพึงพอใจ.ผู้ป่วยเบาหวาน. Link for e-copy: www.nur.psu.ac.th/journal/ Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25920 [article] ความสัมพนัธ์ระหว่างโครงสร้าง กระบวนการ และผลลัพธ์ด้านความพึงพอใจในการดูแลเท้าของผู้สูงอายุโรคเบาหวาน = The relationships amomg structure process and satisfaction outcomes of diabetic adults in foot care at sub-district health promotion hospital : ที่มารับบริการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล [printed text] / อัญพัชญ์ อรุณโรจน์โสภิต, Author ; วิไลวรรณ ทองเจริญ, Author ; วิไลวรรณ สมบุญตนนท์, Author ; รัชนก คชไกร, Author . - 2016 . - p.181-201.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)ตัวประกอบสมรรถนะพยาบาลหน่วยอภิบาลผู้ป่วยภาวะวิกฤต / นฤมล กิจจานนท์ / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2540
Title : ตัวประกอบสมรรถนะพยาบาลหน่วยอภิบาลผู้ป่วยภาวะวิกฤต : โรงพยาบาลของรัฐ Original title : Factors of critical care nurse's competencies governmental hospital Material Type: printed text Authors: นฤมล กิจจานนท์, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2540 Pagination: ก-ฏ, 200 แผ่น Layout: ตารางประกอบ Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-638-660-3 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์. (พย.ม (การบริหารการพยาบาล)).-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]Critical Care -- methods
[LCSH]ผู้ป่วยหนัก--การดูแล
[LCSH]พยาบาล -- การดูแล
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย -- ไทยKeywords: การดูแล.
พยาบาล
ผู้ป่วยวิกฤต.
ผู้ป่วยหนัก.
การรักษา.Class number: WY154 น506 2546 Abstract: การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาตัวประกอบและตัวแปรที่อธิบายสมรรถนะของพยาบาลหน่วยอภิบาลผู้ป่วยภาวะวิกฤต โรงพยาบาลของรัฐ กลุ่มประชากรที่ใช้ในการวิจัย คือ พยาบาลหน่วยอภิบาลผู้ป่วยภาวะวิกฤต โรงพยาบาลของรัฐทั่วประเทศ ที่มีประสบการณ์ปฎิบัติงานในหน่วยอภิบาลผู้ป่วยภาวะวิกฤตอย่างน้อย 2 ปี จำนวน 1082 คน
เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า ให้พยาบาลหน่วยอภิบาลผู้ป่วยภาวะวิกฤตประเมินระดับความสำคัญของสมรรถนะพยาบาลหน่วยอภิบาลผู้ป่วยภาวะวิกฤต มีค่าความเที่ยงเท่ากับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการสะกัดตัวประกอบด้วยวิธีตัวประกอบภาพพจน์ หมุนแกนตัวประกอบแบบ ออโธกอนอลด้วยวิธีแวริแมกซ์ ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
ตัวประกอบสมรรถนะที่สำคัญของพยาบาลหน่วยอภิบาลผู้ป่วยภาวะวิกฤตมีจำนวน 9 ตัวประกอบ มีค่าความแปรปรวนรวมกันคิดเป็นร้อยละ 57.8 และเมื่อพิจารณาตามค่าความแปรปรวนพบว่า
1. ตัวประกอบสมรรถนะด้านภาวะผู้นำ เป็นตัวประกอบสมรรถนะที่สามารถอธิบายความแปรปรวนได้มากที่สุดคือ ร้อยละ 39.8 มีตัวแปรที่บรรยายตัวประกอบจำนวน 64 ตัวแปร
2. ตัวประกอบสมรรถนะด้านความรู้ความสามารถในการพยาบาลผู้ป่วยโรคระบบต่าง ๆ เป็นตัวประกอบสมรรถนะที่สมารถกอิบายความแปรปรวนได้ร้อยละ 6.6 มีตัวแปรที่บรรยายตัวประกอบจำนวน 29 ตัวแปร
3. ตัวประกอบสมรรถนะด้านเทคนิคทางการปฏิบัติการพยาบาล เป็นตัวประกอบสมรรถนะที่สามารถอธิบายความแปรปรวนได้ร้อยละ 2.5 มีตัวแปรที่บรรยายตัวประกอบจำนวน 20 ตัวแปร
4. ตัวประกอบสมรรถนะด้านความรู้ความสามารถในการพยาบาลผู้ป่วยวิกฤต เป็นตัวประกอบสมรรถนะที่สามารอธิบายความแปรปรวนได้ร้อยละ 2.5 มีตัวแปรที่บรรยายตัวประกอบจำนวน 9 ตัวแปร
5. ตัวประกอบสมรรถนะด้านความเชี่ยวชาญพิเศษทางการพยาบาล เป็นตัวประกอบสมรรถนะที่สามารถอธิบายความแปรปรวนได้่ร้อยละ 1.8 มีตัวแปรที่บรรยายตัวประกอบจำนวน 9 ตัวแปร
6. ตัวประกอบสมรรถนะด้านความรู้ความสามารถพื้นฐานทางการพยาบาล เป็นตัวประกอบสมรรถนะที่สามารถอธิบายความหมายได้ร้อยละ 1.4 มีตัวแปรที่บรรยายตัวประกอบจำนวน 8 ตัวแปร
7. ตัวประกอบสมรรถนะด้านการประชาสัมพันธ์ เป็นตัวประกอบสมรรถนะที่สามารถอธิบายความแปรปรวนได้ ร้อยละ 1.2 มีตัวแปรที่บรรยายตัวประกอบจำนวน 4 ตัวแปร
8. ตัวประกอบสมรรถนะด้านการบริหารงาน เป็นตัวประกอบสมรรถนะที่สามรถอธิบายนความแปรปรวนได้ร้อยละ 1.0 มีตัวแปรที่บรรยายตัวประกอบจำนวน 5 ตัวแปร
9. ตัวประกอบสมรรถนะด้านการเฝ้าระวังอาการผิดปกติ เป็นตัวประกอบสมรรถนะที่สามารถอธิบายความแปรปรวนได้ร้อยละ 1.0 มีตัวแปรที่บรรยายตัวประกอบจำนวน 4 ตัวแปรCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23361 ตัวประกอบสมรรถนะพยาบาลหน่วยอภิบาลผู้ป่วยภาวะวิกฤต = Factors of critical care nurse's competencies governmental hospital : โรงพยาบาลของรัฐ [printed text] / นฤมล กิจจานนท์, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2540 . - ก-ฏ, 200 แผ่น : ตารางประกอบ ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-638-660-3 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์. (พย.ม (การบริหารการพยาบาล)).-- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]Critical Care -- methods
[LCSH]ผู้ป่วยหนัก--การดูแล
[LCSH]พยาบาล -- การดูแล
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วย -- ไทยKeywords: การดูแล.
พยาบาล
ผู้ป่วยวิกฤต.
ผู้ป่วยหนัก.
การรักษา.Class number: WY154 น506 2546 Abstract: การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาตัวประกอบและตัวแปรที่อธิบายสมรรถนะของพยาบาลหน่วยอภิบาลผู้ป่วยภาวะวิกฤต โรงพยาบาลของรัฐ กลุ่มประชากรที่ใช้ในการวิจัย คือ พยาบาลหน่วยอภิบาลผู้ป่วยภาวะวิกฤต โรงพยาบาลของรัฐทั่วประเทศ ที่มีประสบการณ์ปฎิบัติงานในหน่วยอภิบาลผู้ป่วยภาวะวิกฤตอย่างน้อย 2 ปี จำนวน 1082 คน
เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบมาตราส่วนประมาณค่า ให้พยาบาลหน่วยอภิบาลผู้ป่วยภาวะวิกฤตประเมินระดับความสำคัญของสมรรถนะพยาบาลหน่วยอภิบาลผู้ป่วยภาวะวิกฤต มีค่าความเที่ยงเท่ากับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการสะกัดตัวประกอบด้วยวิธีตัวประกอบภาพพจน์ หมุนแกนตัวประกอบแบบ ออโธกอนอลด้วยวิธีแวริแมกซ์ ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้
ตัวประกอบสมรรถนะที่สำคัญของพยาบาลหน่วยอภิบาลผู้ป่วยภาวะวิกฤตมีจำนวน 9 ตัวประกอบ มีค่าความแปรปรวนรวมกันคิดเป็นร้อยละ 57.8 และเมื่อพิจารณาตามค่าความแปรปรวนพบว่า
1. ตัวประกอบสมรรถนะด้านภาวะผู้นำ เป็นตัวประกอบสมรรถนะที่สามารถอธิบายความแปรปรวนได้มากที่สุดคือ ร้อยละ 39.8 มีตัวแปรที่บรรยายตัวประกอบจำนวน 64 ตัวแปร
2. ตัวประกอบสมรรถนะด้านความรู้ความสามารถในการพยาบาลผู้ป่วยโรคระบบต่าง ๆ เป็นตัวประกอบสมรรถนะที่สมารถกอิบายความแปรปรวนได้ร้อยละ 6.6 มีตัวแปรที่บรรยายตัวประกอบจำนวน 29 ตัวแปร
3. ตัวประกอบสมรรถนะด้านเทคนิคทางการปฏิบัติการพยาบาล เป็นตัวประกอบสมรรถนะที่สามารถอธิบายความแปรปรวนได้ร้อยละ 2.5 มีตัวแปรที่บรรยายตัวประกอบจำนวน 20 ตัวแปร
4. ตัวประกอบสมรรถนะด้านความรู้ความสามารถในการพยาบาลผู้ป่วยวิกฤต เป็นตัวประกอบสมรรถนะที่สามารอธิบายความแปรปรวนได้ร้อยละ 2.5 มีตัวแปรที่บรรยายตัวประกอบจำนวน 9 ตัวแปร
5. ตัวประกอบสมรรถนะด้านความเชี่ยวชาญพิเศษทางการพยาบาล เป็นตัวประกอบสมรรถนะที่สามารถอธิบายความแปรปรวนได้่ร้อยละ 1.8 มีตัวแปรที่บรรยายตัวประกอบจำนวน 9 ตัวแปร
6. ตัวประกอบสมรรถนะด้านความรู้ความสามารถพื้นฐานทางการพยาบาล เป็นตัวประกอบสมรรถนะที่สามารถอธิบายความหมายได้ร้อยละ 1.4 มีตัวแปรที่บรรยายตัวประกอบจำนวน 8 ตัวแปร
7. ตัวประกอบสมรรถนะด้านการประชาสัมพันธ์ เป็นตัวประกอบสมรรถนะที่สามารถอธิบายความแปรปรวนได้ ร้อยละ 1.2 มีตัวแปรที่บรรยายตัวประกอบจำนวน 4 ตัวแปร
8. ตัวประกอบสมรรถนะด้านการบริหารงาน เป็นตัวประกอบสมรรถนะที่สามรถอธิบายนความแปรปรวนได้ร้อยละ 1.0 มีตัวแปรที่บรรยายตัวประกอบจำนวน 5 ตัวแปร
9. ตัวประกอบสมรรถนะด้านการเฝ้าระวังอาการผิดปกติ เป็นตัวประกอบสมรรถนะที่สามารถอธิบายความแปรปรวนได้ร้อยละ 1.0 มีตัวแปรที่บรรยายตัวประกอบจำนวน 4 ตัวแปรCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23361 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000356988 THE WY154 น506 2546 Thesis Main Library Thesis Corner Available นวัตกรรมการพยาบาลเพื่อพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ป่วยเด็กโรคปอดอักเสบที่ได้รับ / สุจิตรา เอิบอาบ in วารสารสภาการพยาบาล, Vol.32 No.2 (Apr-Jun) 2017-2560 ([09/21/2017])
[article]
Title : นวัตกรรมการพยาบาลเพื่อพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ป่วยเด็กโรคปอดอักเสบที่ได้รับ : ยาพ่อนแบบฝอยละออง ดยมีครอบครัว เป็นศูนย์กลาง:กรณีศึกษา Material Type: printed text Authors: สุจิตรา เอิบอาบ, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.5-16. Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.32 No.2 (Apr-Jun) 2017-2560 [09/21/2017] . - p.5-16.Keywords: การพ่นยาแบบฝอยละออง. การดูแลโดยมีครอบครัวเป็นศูนย์กลาง. ผู้ป่วยเด็กโรคปอดอักเสบ นวัตกรรมการพยาบาล. Abstract: โรคปอดอักเสบ เป็นโรคติดเชื้อระบบหายใจส่วนล่างที่พบมากที่สุดในเด็กแรกเกิด
ถึงอายุห้าปีในประเทศไทย การบริหารยาโดยการพ่นยาแบบฝอยละอองเป็นวิธีการรักษา
ที่ใช้บ่อย เพื่อลดการหดเกร็งของหลอดลม การใช้หลักครอบครัวเป็นศูนย์กลางมีบทบาท
สำคัญในการเพิ่มคุณภาพการดูแลผู้ป่วยกลุ่มนี้ให้ครอบคลุมทุกมิติ โดยเฉพาะทั้งด้านร่างกาย
จิตใจ และจิตสังคม บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอนวัตกรรมการพยาบาลเพื่อพัฒนา
คุณภาพการดูแลผู้ป่วยเด็กโรคปอดอักเสบได้รับยาพ่นแบบฝอยละอองที่ประยุกต์ใช้รูปแบบ
การดูแลโดยมีครอบครัวเป็นศูนย์กลาง ผ่านการนำเสนอกรณีศึกษา ปรับเปลี่ยนกลยุทธ์
การดูแลให้เหมาะสมกับครอบครัวเป็นรายกรณี โดยตระหนักถึงความเข้มแข็งของครอบครัว
ความแตกต่างของแต่ละครอบครัว ความเป็นปัจเจกบุคคล และต้องการการสนับสนุนความ
ร่วมมือในการดูแล นำลงสู่การปฏิบัติ 4 ขั้นตอน คือ 1) การเสริมสร้างพลังความเข้มแข็ง
แลกเปลี่ยนข้อมูล และวางแผนร่วมกัน 2) การดูแลร่วมกัน 3) ครอบครัวเป็นผู้นำและ
กำกับการดูแลด้วยตนเอง และ 4) การประเมินผลการดูแล ผลการนำโครงการนวัตกรรม
การพยาบาลเพื่อพัฒนาคุณภาพดูแล โดยมีครอบครัวเป็นศูนย์กลางผ่านกรณีศึกษา ลงสู่
การปฏิบัติพยาบาลพบว่า ครอบครัวมีความรู้ ทักษะ การมีส่วนร่วม และความพึงพอใจใน
การบริการสูงขึ้น ผู้ป่วยเด็กให้ความร่วมมือดีขึ้นและมากขึ้น และการตอบสนองด้านการหายใจ
ดีขึ้น
Abstract
Pneumonia is a lower respiratory tract infectious disease most commonly found in Thai infants and children aged up to 5 years. One of the most commonly prescribed medications is a small-volume nebuliser, which relieves bronchospasm. In addition to medication, family-centred care plays an important role in enhancing multi-dimensional care quality for this group of patients, responding to their physical, psychological and psychosocial needs.
This article aims at presenting a nursing innovation designed to enhance caregiving quality for child pneumonia patients treated with a small-volume nebuliser. By applying the family-centred care approach, this case study adjusted caregiving strategies to ft
individual patients’ needs, taking 4 main factors into onsideration, namely, each family’s strength, differences between families, individualism and needs for caregiving cooperation support. The study was conducted in 4 steps, which may be abbreviated as EFFE: (1) Empowerment; (2) Family-professional collaboration and participation; (3) Family as a leader and for self-monitoring; and (4) Evaluation of the caregiving method. The trial revealed a signifcant increase in the patients’ families’ knowledge,
skills, participation and satisfaction in response to this innovative family-centred caregiving model. In addition, the child patients cooperated better and more willingly, and displayed improved respiratory response
Link for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27294 [article] นวัตกรรมการพยาบาลเพื่อพัฒนาคุณภาพการดูแลผู้ป่วยเด็กโรคปอดอักเสบที่ได้รับ : ยาพ่อนแบบฝอยละออง ดยมีครอบครัว เป็นศูนย์กลาง:กรณีศึกษา [printed text] / สุจิตรา เอิบอาบ, Author . - 2017 . - p.5-16.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.32 No.2 (Apr-Jun) 2017-2560 [09/21/2017] . - p.5-16.Keywords: การพ่นยาแบบฝอยละออง. การดูแลโดยมีครอบครัวเป็นศูนย์กลาง. ผู้ป่วยเด็กโรคปอดอักเสบ นวัตกรรมการพยาบาล. Abstract: โรคปอดอักเสบ เป็นโรคติดเชื้อระบบหายใจส่วนล่างที่พบมากที่สุดในเด็กแรกเกิด
ถึงอายุห้าปีในประเทศไทย การบริหารยาโดยการพ่นยาแบบฝอยละอองเป็นวิธีการรักษา
ที่ใช้บ่อย เพื่อลดการหดเกร็งของหลอดลม การใช้หลักครอบครัวเป็นศูนย์กลางมีบทบาท
สำคัญในการเพิ่มคุณภาพการดูแลผู้ป่วยกลุ่มนี้ให้ครอบคลุมทุกมิติ โดยเฉพาะทั้งด้านร่างกาย
จิตใจ และจิตสังคม บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอนวัตกรรมการพยาบาลเพื่อพัฒนา
คุณภาพการดูแลผู้ป่วยเด็กโรคปอดอักเสบได้รับยาพ่นแบบฝอยละอองที่ประยุกต์ใช้รูปแบบ
การดูแลโดยมีครอบครัวเป็นศูนย์กลาง ผ่านการนำเสนอกรณีศึกษา ปรับเปลี่ยนกลยุทธ์
การดูแลให้เหมาะสมกับครอบครัวเป็นรายกรณี โดยตระหนักถึงความเข้มแข็งของครอบครัว
ความแตกต่างของแต่ละครอบครัว ความเป็นปัจเจกบุคคล และต้องการการสนับสนุนความ
ร่วมมือในการดูแล นำลงสู่การปฏิบัติ 4 ขั้นตอน คือ 1) การเสริมสร้างพลังความเข้มแข็ง
แลกเปลี่ยนข้อมูล และวางแผนร่วมกัน 2) การดูแลร่วมกัน 3) ครอบครัวเป็นผู้นำและ
กำกับการดูแลด้วยตนเอง และ 4) การประเมินผลการดูแล ผลการนำโครงการนวัตกรรม
การพยาบาลเพื่อพัฒนาคุณภาพดูแล โดยมีครอบครัวเป็นศูนย์กลางผ่านกรณีศึกษา ลงสู่
การปฏิบัติพยาบาลพบว่า ครอบครัวมีความรู้ ทักษะ การมีส่วนร่วม และความพึงพอใจใน
การบริการสูงขึ้น ผู้ป่วยเด็กให้ความร่วมมือดีขึ้นและมากขึ้น และการตอบสนองด้านการหายใจ
ดีขึ้น
Abstract
Pneumonia is a lower respiratory tract infectious disease most commonly found in Thai infants and children aged up to 5 years. One of the most commonly prescribed medications is a small-volume nebuliser, which relieves bronchospasm. In addition to medication, family-centred care plays an important role in enhancing multi-dimensional care quality for this group of patients, responding to their physical, psychological and psychosocial needs.
This article aims at presenting a nursing innovation designed to enhance caregiving quality for child pneumonia patients treated with a small-volume nebuliser. By applying the family-centred care approach, this case study adjusted caregiving strategies to ft
individual patients’ needs, taking 4 main factors into onsideration, namely, each family’s strength, differences between families, individualism and needs for caregiving cooperation support. The study was conducted in 4 steps, which may be abbreviated as EFFE: (1) Empowerment; (2) Family-professional collaboration and participation; (3) Family as a leader and for self-monitoring; and (4) Evaluation of the caregiving method. The trial revealed a signifcant increase in the patients’ families’ knowledge,
skills, participation and satisfaction in response to this innovative family-centred caregiving model. In addition, the child patients cooperated better and more willingly, and displayed improved respiratory response
Link for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27294 บทบาทของญาติผู้ดูแลผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลอบบประคับประคอง in วารสารสภาการพยาบาล, Vol.31 No.4 (Oct-Dec) 2016/59 ([07/25/2017])
[article]
Title : บทบาทของญาติผู้ดูแลผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลอบบประคับประคอง : การศึกษาเบื้องต้นเชิงคุณภาพ Original title : Role of family caregivers of palliative care patients prelimininary qualitative syudy Material Type: printed text Publication Date: 2017 Article on page: p.104-121 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.4 (Oct-Dec) 2016/59 [07/25/2017] . - p.104-121Keywords: ผู้ป่วยระยะประคับประคอง.การดูแลระยะประคับประคอง.บทบาทของญาติผู้ดูแล. Abstract: บทคัดย่อ: วัตถุประสงค์ของการวิจัย: เพื่อศึกษาบทบาทของญาติผู้ดูแลในการดูแลผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลแบบประคับประคองในสถานบริการต่าง ๆ
การออกแบบงานวิจัย: การวิจัยเชิงคุณภาพ
วิธีการดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่าง ประกอบด้วย ญาติผู้ดูแลผู้ป่วยที่ให้การดูแลผู้ป่วยในระยะประคับประคองจำนวน 28 ราย คุณสมบัติของกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ เป็นญาติ
ผู้ดูแลผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลแบบประคับประคองในสถานบริกำรที่มีการดูแลเฉพาะ การดูแลต่อเนื่องที่บ้าน และองค์กรทางศาสนา เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย
แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคลแบบสัมภาษณ์ญาติผู้ดูแลรายกลุ่มและรายบุคคล วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนา และการวิเคราะห์เนื้อหา
ผลการวิจัย: ญาติผู้ดูแลผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลแบบประคับประคองส่วนใหญ่เป็นโรคมะเร็ง มีบทบาทดังนี้ 1) ผู้ให้การดูแลเพื่อตอบสนองความต้องการการดูแลของผู้ป่วย
2) ผู้ประสานงานการจัดการการดูแลในครอบครัว และ 3) ผู้ตัดสินใจเตรียมพร้อมสำหรับความตาย
ข้อเสนอแนะ: สถำนบริการที่ให้การดูแลผู้ป่วยระยะประคับประคอง เป็นแหล่งสนับสนุน
ทางสังคมที่สำคัญสำหรับผู้ป่วยระยะประคับประคองและญาติผู้ดูแล กำรเข้าใจบทบาทของ
ญาติผู้ดูแลผู้ป่วยในแต่ละสถานบริการ เป็นแนวทางในการช่วยเหลือและตอบสนองความต้องการ
ของญาติผู้ดูแลที่ให้การดูแลผู้ป่วยระยะประคับประคองLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27053 [article] บทบาทของญาติผู้ดูแลผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลอบบประคับประคอง = Role of family caregivers of palliative care patients prelimininary qualitative syudy : การศึกษาเบื้องต้นเชิงคุณภาพ [printed text] . - 2017 . - p.104-121.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.4 (Oct-Dec) 2016/59 [07/25/2017] . - p.104-121Keywords: ผู้ป่วยระยะประคับประคอง.การดูแลระยะประคับประคอง.บทบาทของญาติผู้ดูแล. Abstract: บทคัดย่อ: วัตถุประสงค์ของการวิจัย: เพื่อศึกษาบทบาทของญาติผู้ดูแลในการดูแลผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลแบบประคับประคองในสถานบริการต่าง ๆ
การออกแบบงานวิจัย: การวิจัยเชิงคุณภาพ
วิธีการดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่าง ประกอบด้วย ญาติผู้ดูแลผู้ป่วยที่ให้การดูแลผู้ป่วยในระยะประคับประคองจำนวน 28 ราย คุณสมบัติของกลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ เป็นญาติ
ผู้ดูแลผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลแบบประคับประคองในสถานบริกำรที่มีการดูแลเฉพาะ การดูแลต่อเนื่องที่บ้าน และองค์กรทางศาสนา เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย
แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคลแบบสัมภาษณ์ญาติผู้ดูแลรายกลุ่มและรายบุคคล วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนา และการวิเคราะห์เนื้อหา
ผลการวิจัย: ญาติผู้ดูแลผู้ป่วยที่ได้รับการดูแลแบบประคับประคองส่วนใหญ่เป็นโรคมะเร็ง มีบทบาทดังนี้ 1) ผู้ให้การดูแลเพื่อตอบสนองความต้องการการดูแลของผู้ป่วย
2) ผู้ประสานงานการจัดการการดูแลในครอบครัว และ 3) ผู้ตัดสินใจเตรียมพร้อมสำหรับความตาย
ข้อเสนอแนะ: สถำนบริการที่ให้การดูแลผู้ป่วยระยะประคับประคอง เป็นแหล่งสนับสนุน
ทางสังคมที่สำคัญสำหรับผู้ป่วยระยะประคับประคองและญาติผู้ดูแล กำรเข้าใจบทบาทของ
ญาติผู้ดูแลผู้ป่วยในแต่ละสถานบริการ เป็นแนวทางในการช่วยเหลือและตอบสนองความต้องการ
ของญาติผู้ดูแลที่ให้การดูแลผู้ป่วยระยะประคับประคองLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27053 ประสบการณ์การดูแลตนเองของผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ / อารีย์ รัตนพันธ์ / บัณฑิตวิทยาลัีย มหาวิทยาลัยนเรศวร - 2552
Title : ประสบการณ์การดูแลตนเองของผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ Original title : Sale-care experiecne on glycemic controlled in diabetes mellitus patients Material Type: printed text Authors: อารีย์ รัตนพันธ์, Author Publisher: บัณฑิตวิทยาลัีย มหาวิทยาลัยนเรศวร Publication Date: 2552 Pagination: 155 แผ่น Layout: ตารางประกอบ Size: 30 ซม. Price: บริจาค General note: วิทยานิพนธ์ [พย. ม [การพยาบาลเวชปฎิบัติชุมชน]] -- มหาวิทยาลัยนเรศวร 2552 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]Diabetics -- Care
[LCSH]การดูแลตนเอง
[LCSH]ผู้ป่วย -- การดูแล
[LCSH]ผู้ป่วย -- เบาหวานKeywords: เบาหวาน.
ผู้ป่วย.
การดูแลตนเอง.Class number: WK815 อ927 2552 Abstract: การวิจัยเชิงคุณภาพชนิดปรากฎการณ์วิทยา เพื่อศึกษาประสบการณ์การดูแลตนเองของผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ ราย ซึ่งเป็นผู้ป่วยเบาหวานที่มีระดับน้ำตาลในเลือดหลังอดอาหารอยู่ระหว่าง 80-120 mg/dl เป็นเวลาติดต่อกันอย่างน้อย 1 ปี และมีรดับ A1C น้อยกว่าร้อยละ 7 จำนวน 15 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ระดับลึกร่วมกับการสังเกต การจดบันทึกภาคสนามและการบันทึกเทป วิเคราะห์ข้อมูลโดยวิธีการของโคไลซี่
ผลการศึกษา พบว่า ผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ ให้ความหมายของการดูแลตนเองใน 3 ลักษณะ คือ การทำให้ร่างกายดีและแข็งแรง การควบคุมตนเองไม่ให้น่ำตาลในเลือดสูง และการป้องกันตนเองไม่ให้เกิดความเจ็บป่วย ความรู้ที่มีต่อการเป็นโรเบาหวาน แบ่งได้เป็น 2 ลักษณะคือ การยอมรับกับการเป็นโรคเบาหวาน และการใส่ใจดูแลตนเอง โดยมีวิธีการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด 5 วิธี คือ
1. การปฎิบัติตามคำแนะนำของทีมสุขภาพ 2. การรู้จักควบคุมตนเอง 3 การจัดการกับความเครียด 4. การทำกิจกรรมสม่ำเสมอ 5 การใช้สมุนไพรมารักษาเสริมCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23212 ประสบการณ์การดูแลตนเองของผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ = Sale-care experiecne on glycemic controlled in diabetes mellitus patients [printed text] / อารีย์ รัตนพันธ์, Author . - [S.l.] : บัณฑิตวิทยาลัีย มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2552 . - 155 แผ่น : ตารางประกอบ ; 30 ซม.
บริจาค
วิทยานิพนธ์ [พย. ม [การพยาบาลเวชปฎิบัติชุมชน]] -- มหาวิทยาลัยนเรศวร 2552
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]Diabetics -- Care
[LCSH]การดูแลตนเอง
[LCSH]ผู้ป่วย -- การดูแล
[LCSH]ผู้ป่วย -- เบาหวานKeywords: เบาหวาน.
ผู้ป่วย.
การดูแลตนเอง.Class number: WK815 อ927 2552 Abstract: การวิจัยเชิงคุณภาพชนิดปรากฎการณ์วิทยา เพื่อศึกษาประสบการณ์การดูแลตนเองของผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ ราย ซึ่งเป็นผู้ป่วยเบาหวานที่มีระดับน้ำตาลในเลือดหลังอดอาหารอยู่ระหว่าง 80-120 mg/dl เป็นเวลาติดต่อกันอย่างน้อย 1 ปี และมีรดับ A1C น้อยกว่าร้อยละ 7 จำนวน 15 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ระดับลึกร่วมกับการสังเกต การจดบันทึกภาคสนามและการบันทึกเทป วิเคราะห์ข้อมูลโดยวิธีการของโคไลซี่
ผลการศึกษา พบว่า ผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ ให้ความหมายของการดูแลตนเองใน 3 ลักษณะ คือ การทำให้ร่างกายดีและแข็งแรง การควบคุมตนเองไม่ให้น่ำตาลในเลือดสูง และการป้องกันตนเองไม่ให้เกิดความเจ็บป่วย ความรู้ที่มีต่อการเป็นโรเบาหวาน แบ่งได้เป็น 2 ลักษณะคือ การยอมรับกับการเป็นโรคเบาหวาน และการใส่ใจดูแลตนเอง โดยมีวิธีการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด 5 วิธี คือ
1. การปฎิบัติตามคำแนะนำของทีมสุขภาพ 2. การรู้จักควบคุมตนเอง 3 การจัดการกับความเครียด 4. การทำกิจกรรมสม่ำเสมอ 5 การใช้สมุนไพรมารักษาเสริมCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23212 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354983 WK815 อ927 2552 Thesis Main Library Thesis Corner Available ประสบการณ์ความเจ็บป่วยของผู้ป่วยโรคมะเร็งศรีษะและลำคอที่ได้รับรังสีรักษา / สุมนัส พิริยะอุดมพร / บัณฑิตวิทยาลัีย มหาวิทยาลัยมหิดล - 2552
Title : ประสบการณ์ความเจ็บป่วยของผู้ป่วยโรคมะเร็งศรีษะและลำคอที่ได้รับรังสีรักษา Original title : Illness experience among patients with head and neck cancer and receiving radiotherapy Material Type: printed text Authors: สุมนัส พิริยะอุดมพร, Author Publisher: บัณฑิตวิทยาลัีย มหาวิทยาลัยมหิดล Publication Date: 2552 Pagination: ก-ญ, 127 แผ่น Layout: ตาราง Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [ศศ. ม [สังคมศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุข]] -- มหาวิทยาลัยมหิดล 2552 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]มะเร็ง -- ผู้ป่วย -- การดูแล
[LCSH]มะเร็ง -- ผู้ป่วย -- การพยาบาล
[LCSH]มะเร็ง -- โรค -- การแพร่กระจาย
[LCSH]รังสีบำบัดKeywords: มะเร็ง.
ผู้ป่วย.
การดูแล.
รังสีบำบัด.Class number: WL355 ส846 2552 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23232 ประสบการณ์ความเจ็บป่วยของผู้ป่วยโรคมะเร็งศรีษะและลำคอที่ได้รับรังสีรักษา = Illness experience among patients with head and neck cancer and receiving radiotherapy [printed text] / สุมนัส พิริยะอุดมพร, Author . - [S.l.] : บัณฑิตวิทยาลัีย มหาวิทยาลัยมหิดล, 2552 . - ก-ญ, 127 แผ่น : ตาราง ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [ศศ. ม [สังคมศาสตร์การแพทย์และสาธารณสุข]] -- มหาวิทยาลัยมหิดล 2552
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]มะเร็ง -- ผู้ป่วย -- การดูแล
[LCSH]มะเร็ง -- ผู้ป่วย -- การพยาบาล
[LCSH]มะเร็ง -- โรค -- การแพร่กระจาย
[LCSH]รังสีบำบัดKeywords: มะเร็ง.
ผู้ป่วย.
การดูแล.
รังสีบำบัด.Class number: WL355 ส846 2552 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23232 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354793 THE WL355 ส846 2552 Thesis Main Library Thesis Corner Available ปัจจัยแห่งความสำเร็จและอุปสรรคในการพัฒนาระบบการดูแลรักษาผู้ติดเชื้่อเอชไอวี และผู้ป่วยเอดส์ / นรีลักษณ์ สุวรรณโนบล in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.17 No.1 (Jan-Apr) 2016 ([06/20/2016])
[article]
Title : ปัจจัยแห่งความสำเร็จและอุปสรรคในการพัฒนาระบบการดูแลรักษาผู้ติดเชื้่อเอชไอวี และผู้ป่วยเอดส์ Original title : Success factors and barriers to develop the caring system for people living with HIV and AIDS Material Type: printed text Authors: นรีลักษณ์ สุวรรณโนบล, Author ; ศรีเกียรติ อนันต์สวัสดิ์, Author ; รัชดาภรณ์ ใจอ้าย, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.70-78 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.17 No.1 (Jan-Apr) 2016 [06/20/2016] . - p.70-78Keywords: การดูแลรักษาผู้ติดเชื้อเอชไอวี.การดูแลรักษาผู้ป่วยเอดส์.ผู้ติดเชื้อเอชไอวี.ผู้ป่วยเอดส์.อุปสรรคในการพัฒนาระบบปัจจัยแห่งความสำเร็จ.การพัฒนาระบบ. Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25563 [article] ปัจจัยแห่งความสำเร็จและอุปสรรคในการพัฒนาระบบการดูแลรักษาผู้ติดเชื้่อเอชไอวี และผู้ป่วยเอดส์ = Success factors and barriers to develop the caring system for people living with HIV and AIDS [printed text] / นรีลักษณ์ สุวรรณโนบล, Author ; ศรีเกียรติ อนันต์สวัสดิ์, Author ; รัชดาภรณ์ ใจอ้าย, Author . - 2016 . - p.70-78.
Languages : Thai (tha)ผลของโปรแกรมการดูแลสุขภาพต่อพฤติกรรมสุขภาพและระดับความดันโลหิตสูงของผู้ป่วยความดันโลหิตสูง / รุ่งโรจน์ พรมอยู่ in วารสารการพยาบาลและสุขภาพ, Vol.10 No.3 (Sep-Dec) 2016 ([03/24/2017])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมการดูแลสุขภาพต่อพฤติกรรมสุขภาพและระดับความดันโลหิตสูงของผู้ป่วยความดันโลหิตสูง Original title : Effect of health care program on health behaviors and blood pressure level among hypertensive patients Material Type: printed text Authors: รุ่งโรจน์ พรมอยู่, Author ; สุภาพร แนวบุตร, Author ; ชมนาด วรรณพรศิริ, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.108-120 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลและสุขภาพ > Vol.10 No.3 (Sep-Dec) 2016 [03/24/2017] . - p.108-120Keywords: การดูแลสุขภาพ.พฤติกรรมสุขภาพ.ระดับความดันโลหิตสูง.ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง. Link for e-copy: http://www.nurse.nu.ac.th/journals/index.php Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26887 [article] ผลของโปรแกรมการดูแลสุขภาพต่อพฤติกรรมสุขภาพและระดับความดันโลหิตสูงของผู้ป่วยความดันโลหิตสูง = Effect of health care program on health behaviors and blood pressure level among hypertensive patients [printed text] / รุ่งโรจน์ พรมอยู่, Author ; สุภาพร แนวบุตร, Author ; ชมนาด วรรณพรศิริ, Author . - 2017 . - p.108-120.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)ผลของโปรแกรมการปฏิรูปการดูแลผู้ป่วยข้างเตียงต่อความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพและอัตราการเกิดความผิดพลาดทางการพยาบาลในหอผู้ป่วยวิกฤต โรงพยาบาลสมิติเวช สุขุมวิท / นิษฐ์อร วชิรสวัสดิ์ / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2551
Title : ผลของโปรแกรมการปฏิรูปการดูแลผู้ป่วยข้างเตียงต่อความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพและอัตราการเกิดความผิดพลาดทางการพยาบาลในหอผู้ป่วยวิกฤต โรงพยาบาลสมิติเวช สุขุมวิท Original title : Effects of transforming care at the bedside program on job satisfaction of staff nurses and nursing error rate at critical care unit of Samitivej Sukhumvit Hospital Material Type: printed text Authors: นิษฐ์อร วชิรสวัสดิ์, Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2551 Pagination: ก-ญ, 127 แผ่น Layout: ตารางประกอบ Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย. ม [การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัีย 2551 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การดูแลขั้นวิกฤต
[LCSH]ผู้ป่วย -- การดูแล
[LCSH]พยาบาล -- ความพอใจในการทำงานKeywords: พยาบาลวิชาชีพ.
โรงพยาบาลสมิติเวช.
การดูแล.
ผู้ป่วย.Class number: WY154 น538 2551 Abstract: การวิจัยกึ่งทดลองครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเปรียบเทียบความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพ และอัตราการเกิดความผิดพลาดทางการพยาบาลก่อนและหลังการใช้โปรแกรมการปฏิรูปการดูแลผู้ป่วยข้างเตียง กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยวิกฤตโรงพยาบาลสมิติเวช สุขุมวิทจำนวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย แผนการอบรม คู่มือการปฏิรูปการดูแลผู้ป่วยข้างเตียง แบบบันทึกสถานการณ์การปฏิบัติตามแนวทางการปฏิรูปการดูแลผู้ป่วยข้างเตียง เก็บรวมรวมข้อมูล โดยใช้แบบสอบถามความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพและแบบรายงานความผิดพลาดทางการพยาบาล ตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ และค่าความเที่ยงของแบบสอบถามด้วยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาคได้เท่ากับ .89 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบสถิติที ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. คะแนนเฉลี่ยของความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยวิกฤตหลังใช้โปรแกรมการปฏิรูปการดูแลผู้ป่วยข้างเตียงสูงกว่าก่อนใช้โปรแกรม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. อัตราความผิดพลาดจากการเลื่อนหลุดของสายหรือท่อที่ต่อจากร่างกาย หลังการใช้โปรแกรมการปฏิรูปการดูแลผู้ป่วยข้างเตียงต่ำกว่าก่อนใช้โปรแกรมร้อยละ 45.26 3. อัตราความผิดพลาดจากการบริหารยาของพยาบาลวิชาชีพ หลังการใช้โปรแกรมการปฏิรูปการดูแลผู้ป่วยข้างเตียงต่ำกว่าก่อนใช้โปรแกรมร้อยละ 100 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23226 ผลของโปรแกรมการปฏิรูปการดูแลผู้ป่วยข้างเตียงต่อความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพและอัตราการเกิดความผิดพลาดทางการพยาบาลในหอผู้ป่วยวิกฤต โรงพยาบาลสมิติเวช สุขุมวิท = Effects of transforming care at the bedside program on job satisfaction of staff nurses and nursing error rate at critical care unit of Samitivej Sukhumvit Hospital [printed text] / นิษฐ์อร วชิรสวัสดิ์, Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551 . - ก-ญ, 127 แผ่น : ตารางประกอบ ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย. ม [การบริหารการพยาบาล]] -- จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัีย 2551
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การดูแลขั้นวิกฤต
[LCSH]ผู้ป่วย -- การดูแล
[LCSH]พยาบาล -- ความพอใจในการทำงานKeywords: พยาบาลวิชาชีพ.
โรงพยาบาลสมิติเวช.
การดูแล.
ผู้ป่วย.Class number: WY154 น538 2551 Abstract: การวิจัยกึ่งทดลองครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเปรียบเทียบความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพ และอัตราการเกิดความผิดพลาดทางการพยาบาลก่อนและหลังการใช้โปรแกรมการปฏิรูปการดูแลผู้ป่วยข้างเตียง กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยวิกฤตโรงพยาบาลสมิติเวช สุขุมวิทจำนวน 30 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย แผนการอบรม คู่มือการปฏิรูปการดูแลผู้ป่วยข้างเตียง แบบบันทึกสถานการณ์การปฏิบัติตามแนวทางการปฏิรูปการดูแลผู้ป่วยข้างเตียง เก็บรวมรวมข้อมูล โดยใช้แบบสอบถามความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพและแบบรายงานความผิดพลาดทางการพยาบาล ตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ และค่าความเที่ยงของแบบสอบถามด้วยสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาคได้เท่ากับ .89 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบสถิติที ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. คะแนนเฉลี่ยของความพึงพอใจในงานของพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในหอผู้ป่วยวิกฤตหลังใช้โปรแกรมการปฏิรูปการดูแลผู้ป่วยข้างเตียงสูงกว่าก่อนใช้โปรแกรม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. อัตราความผิดพลาดจากการเลื่อนหลุดของสายหรือท่อที่ต่อจากร่างกาย หลังการใช้โปรแกรมการปฏิรูปการดูแลผู้ป่วยข้างเตียงต่ำกว่าก่อนใช้โปรแกรมร้อยละ 45.26 3. อัตราความผิดพลาดจากการบริหารยาของพยาบาลวิชาชีพ หลังการใช้โปรแกรมการปฏิรูปการดูแลผู้ป่วยข้างเตียงต่ำกว่าก่อนใช้โปรแกรมร้อยละ 100 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23226 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354975 WY154 น538 2551 Thesis Main Library Thesis Corner Available สร้างสุขที่ปลายทาง / นิรชา อัศวธีรากุล / นนทบุรี: สำนักงานคณะกรรมการสุขภาพแห่งชาติ (สช.) - 2560
Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000521276 WB310 พ279 2560 c.1 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000607349 WB310 พ279 2560 c.2 Book Main Library Nursing Shelf Available 32002000521185 WB310 พ279 2560 c.3 Book Main Library Nursing Shelf Available การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว / สำนักส่งเสริมสุขภาพ / กรุงเทพฯ: องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก - 2554
Title : การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว Material Type: printed text Authors: สำนักส่งเสริมสุขภาพ, Author Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 2 Publisher: กรุงเทพฯ: องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก Publication Date: 2554 Pagination: 102 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 21 ซม. ISBN (or other code): 978-6-16-110245-6 Price: บริจาค Languages : Thai (tha) Descriptors: [NLM]ผู้สูงอายุ -- การดูแลสุขภาพ
[NLM]ผู้สูงอายุ -- การส่งเสริมสุขภาพ
[NLM]ผู้สูงอายุ -- สุขภาพและอนามัยKeywords: ผู้สูงอายุ, สุขภาพและอนามัย, การส่งเสริมสุขภาพ, การดูแลสุขภาพ Class number: WT100 ก451 2554 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28092 การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุระยะยาว [printed text] / สำนักส่งเสริมสุขภาพ, Author . - พิมพ์ครั้งที่ 2 . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก, 2554 . - 102 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 21 ซม.
ISBN : 978-6-16-110245-6 : บริจาค
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [NLM]ผู้สูงอายุ -- การดูแลสุขภาพ
[NLM]ผู้สูงอายุ -- การส่งเสริมสุขภาพ
[NLM]ผู้สูงอายุ -- สุขภาพและอนามัยKeywords: ผู้สูงอายุ, สุขภาพและอนามัย, การส่งเสริมสุขภาพ, การดูแลสุขภาพ Class number: WT100 ก451 2554 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28092 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607346 WT100 ก451 2554 c.1 Book Main Library Library Counter Available 32002000607347 WT100 ก451 2554 c.2 Book Main Library Library Counter Available