From this page you can:
Home |
Search results
7 result(s) search for keyword(s) 'พฤติกรรมการป้องกันโรค.โรคหลอดเลือดหัวใจ.อสม.อำเภอแม่สอด.จังหวัดตาก.'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการป้องกันโรคหลอดเลือดหัวใจของอาสาสมัครสาธารณสุข / มณฑิรา แสนพรม in วารสารการพยาบาลและสุขภาพ, Vol.10 No.3 (Sep-Dec) 2016 ([03/24/2017])
[article]
Title : ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการป้องกันโรคหลอดเลือดหัวใจของอาสาสมัครสาธารณสุข : อำเภอแม่สอด จังหวัดตราด Original title : Factors affecting caronary artery disease prevention behavior among village health volunteers in amphoe Maesod, Tak province Material Type: printed text Authors: มณฑิรา แสนพรม, Author ; สมลักษณ์ เทพสุริยานนท์, Author ; ชมนาด วรรณพรศิริ, Author ; ทวีศักดิ์ ศิริพรไพบูลย์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.121-132 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลและสุขภาพ > Vol.10 No.3 (Sep-Dec) 2016 [03/24/2017] . - p.121-132Keywords: พฤติกรรมการป้องกันโรค.โรคหลอดเลือดหัวใจ.อสม.อำเภอแม่สอด.จังหวัดตาก. Link for e-copy: http://www.nurse.nu.ac.th/journals/index.php Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26888 [article] ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการป้องกันโรคหลอดเลือดหัวใจของอาสาสมัครสาธารณสุข = Factors affecting caronary artery disease prevention behavior among village health volunteers in amphoe Maesod, Tak province : อำเภอแม่สอด จังหวัดตราด [printed text] / มณฑิรา แสนพรม, Author ; สมลักษณ์ เทพสุริยานนท์, Author ; ชมนาด วรรณพรศิริ, Author ; ทวีศักดิ์ ศิริพรไพบูลย์, Author . - 2017 . - p.121-132.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)การสูบบุหรี่กับการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจ / จิรภิญญา คำรัตน์ in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 ([08/21/2017])
[article]
Title : การสูบบุหรี่กับการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจ : บทบาทของพยาบาลในการช่วยเลิกบุหรี่ Original title : Cigrettes smoking and coronary artery disease nurses' role im smoking cessation Material Type: printed text Authors: จิรภิญญา คำรัตน์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.1-6 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.1-6Keywords: โรคหลอดเลือดหัวใจ.บทบาทพยาบาล. บุหรี่. การช่วยเลิกบุหรี่.การสูบบุหรี่ Abstract: การสูบบุหรี่ เป็นหนึ่งในปัจจัยสำคัญของการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจ ซึ่งเป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่สำคัญโรคหนึ่งที่กำลังคร่าชีวิตคนไทยอยู่ในปัจจุบัน การทราบถึงพิษภัย และผลกระทบที่เกิดจาการสูบบุหรีต่อหลอดเลือดหัวใจ จะช่วยให้ประชาชนตระหนักถึงอันตรายของบุหรี่ที่มีต่อสุขภาพและเห็นความสำคัญของการไม่สูบบุหรี่ หรือเลิกบุหรี่เพื่ิอลดความรุนแรงที่เกิดจากการสูบบุหรี่ต่อโรคหลอดเลือดหัวใจในอนาคต บทความนี้มีวตถุประสงค์เพื่่ออธิบายความสัมพันธ์ระหว่างการสูบบุหรี และการเกิดโรคหลอดเลือหัวใจรวมถึงบทบาทของพยาบาลในการช่วยเลิกบุหรี่อันจะนำไปสู่การตระหนักรู้ในเรื่องการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจซึ่งเป็นผลมาจากการสูบบุหรี่ และเพื่อใช้เป็นแนวทางสำหรับบุคลากรทางสุขภาพในการช่วยเลิกบุหรี่ในผู้ป่วยโรคหลอดเลือหัวใจต่อไป Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27207 [article] การสูบบุหรี่กับการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจ = Cigrettes smoking and coronary artery disease nurses' role im smoking cessation : บทบาทของพยาบาลในการช่วยเลิกบุหรี่ [printed text] / จิรภิญญา คำรัตน์, Author . - 2017 . - p.1-6.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.1-6Keywords: โรคหลอดเลือดหัวใจ.บทบาทพยาบาล. บุหรี่. การช่วยเลิกบุหรี่.การสูบบุหรี่ Abstract: การสูบบุหรี่ เป็นหนึ่งในปัจจัยสำคัญของการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจ ซึ่งเป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่สำคัญโรคหนึ่งที่กำลังคร่าชีวิตคนไทยอยู่ในปัจจุบัน การทราบถึงพิษภัย และผลกระทบที่เกิดจาการสูบบุหรีต่อหลอดเลือดหัวใจ จะช่วยให้ประชาชนตระหนักถึงอันตรายของบุหรี่ที่มีต่อสุขภาพและเห็นความสำคัญของการไม่สูบบุหรี่ หรือเลิกบุหรี่เพื่ิอลดความรุนแรงที่เกิดจากการสูบบุหรี่ต่อโรคหลอดเลือดหัวใจในอนาคต บทความนี้มีวตถุประสงค์เพื่่ออธิบายความสัมพันธ์ระหว่างการสูบบุหรี และการเกิดโรคหลอดเลือหัวใจรวมถึงบทบาทของพยาบาลในการช่วยเลิกบุหรี่อันจะนำไปสู่การตระหนักรู้ในเรื่องการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจซึ่งเป็นผลมาจากการสูบบุหรี่ และเพื่อใช้เป็นแนวทางสำหรับบุคลากรทางสุขภาพในการช่วยเลิกบุหรี่ในผู้ป่วยโรคหลอดเลือหัวใจต่อไป Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27207 ปัจจัยทำนายพฤติกรรมการป้องกันภาวะกระดูกพรุนของนักศึกษาพยาบาล / ธัชมน สินสูงสุด in รามาธิบดีพยาบาลสาร, Vol.21 No.2 (May-Aug) 2015 ([10/13/2015])
[article]
Title : ปัจจัยทำนายพฤติกรรมการป้องกันภาวะกระดูกพรุนของนักศึกษาพยาบาล Original title : Factors predicting preventive behavior for the osteroporosis in university students Material Type: printed text Authors: ธัชมน สินสูงสุด, Author ; นพวรรณ เปียซื่อ, Author Publication Date: 2015 Article on page: pp.244-257 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.21 No.2 (May-Aug) 2015 [10/13/2015] . - pp.244-257Keywords: โรคกระดูกพรุน.ึความเชื่อมั่นในตนเอง.พฤติกรรมการป้องกันโรค.นักศึกษาพยาบาล. Abstract: การศึกษาเชิงทำนาpบครั้งนี้ เพื่อ 1.สำรวจความเชื่อมั่นในตนเองที่จะปฏิบัติตัวเพื่อลดความเสี่ยงต่อโลกกระดูกพรุน และพฤติกรรมการป้องกะรโรคกระดูกพรุนของนักศึกษาพยาบาล 2.ศึกษาปัจจัยทำนายพฤติกรรมการป้องกันโรคกระดูกพรุนของนักศึกษาพยาบาล ประชากร คือ นักศึกษาพยาบาล หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยแห่งหนึ่ง จำนวน 746 ราย เก็บข้อมูลโดยการตอบแบบสอบถามด้วยตนเอง ประกอบด้วยแบบสอบถามความเชื่อมั่นในตนเองที่จะปฏิบัติตัวเพื่อลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคกระดูกพรุน และแบบสอบถามพฤติกรรมการป้องกันโรคกระดูกพรุน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย และสถิติอ้างอิง พบว่า นักศึกษาพยาบาล ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง (ร้อยละ 98.30) อายุเฉลี่ย 19.86 1.26 ปี มีความเชื่อมั่นในตนเองที่จะปฏิบัติตัวเพื่อลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคกระดูกพรุน และพฤติกรรมการป้องกันโรคกระดูกพรุนและระดับการศึกษาร่วมกันทำนายพฤติกรรมการป้องกันโรคกระดูกพรุนของนักศึกษาพยาบาลได้อย่างมีนัยสำคัญ โดยสามารถทำนายความแปรปรวนของพฤติกรรมการป้องกันโรคกระดูกพรุรได้ร้อยละ35.20 ผลการศึกษานี้เป็นแนวทางในการ จัดโปรแกรมส่งเสริมพฤติกรรมการป้องกันโรคกระดูกพรุน โดยเพิ่มความเชื่อมั่นในตนเองของนักศึกษาพยาบาลในด้านการออกกำลังกายและการรับประทานอาหารที่มีแคลเซียมเพื่อลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคกระดูกพรุน และธำรงไว้ซึ่งพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมในการป้องกันโรคกกระดูกพรุน รวมทั้งเป็นแบบอย่างที่ดีในด้านสุขภาพ Link for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24992 [article] ปัจจัยทำนายพฤติกรรมการป้องกันภาวะกระดูกพรุนของนักศึกษาพยาบาล = Factors predicting preventive behavior for the osteroporosis in university students [printed text] / ธัชมน สินสูงสุด, Author ; นพวรรณ เปียซื่อ, Author . - 2015 . - pp.244-257.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.21 No.2 (May-Aug) 2015 [10/13/2015] . - pp.244-257Keywords: โรคกระดูกพรุน.ึความเชื่อมั่นในตนเอง.พฤติกรรมการป้องกันโรค.นักศึกษาพยาบาล. Abstract: การศึกษาเชิงทำนาpบครั้งนี้ เพื่อ 1.สำรวจความเชื่อมั่นในตนเองที่จะปฏิบัติตัวเพื่อลดความเสี่ยงต่อโลกกระดูกพรุน และพฤติกรรมการป้องกะรโรคกระดูกพรุนของนักศึกษาพยาบาล 2.ศึกษาปัจจัยทำนายพฤติกรรมการป้องกันโรคกระดูกพรุนของนักศึกษาพยาบาล ประชากร คือ นักศึกษาพยาบาล หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยแห่งหนึ่ง จำนวน 746 ราย เก็บข้อมูลโดยการตอบแบบสอบถามด้วยตนเอง ประกอบด้วยแบบสอบถามความเชื่อมั่นในตนเองที่จะปฏิบัติตัวเพื่อลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคกระดูกพรุน และแบบสอบถามพฤติกรรมการป้องกันโรคกระดูกพรุน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย และสถิติอ้างอิง พบว่า นักศึกษาพยาบาล ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง (ร้อยละ 98.30) อายุเฉลี่ย 19.86 1.26 ปี มีความเชื่อมั่นในตนเองที่จะปฏิบัติตัวเพื่อลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคกระดูกพรุน และพฤติกรรมการป้องกันโรคกระดูกพรุนและระดับการศึกษาร่วมกันทำนายพฤติกรรมการป้องกันโรคกระดูกพรุนของนักศึกษาพยาบาลได้อย่างมีนัยสำคัญ โดยสามารถทำนายความแปรปรวนของพฤติกรรมการป้องกันโรคกระดูกพรุรได้ร้อยละ35.20 ผลการศึกษานี้เป็นแนวทางในการ จัดโปรแกรมส่งเสริมพฤติกรรมการป้องกันโรคกระดูกพรุน โดยเพิ่มความเชื่อมั่นในตนเองของนักศึกษาพยาบาลในด้านการออกกำลังกายและการรับประทานอาหารที่มีแคลเซียมเพื่อลดความเสี่ยงต่อการเกิดโรคกระดูกพรุน และธำรงไว้ซึ่งพฤติกรรมสุขภาพที่เหมาะสมในการป้องกันโรคกกระดูกพรุน รวมทั้งเป็นแบบอย่างที่ดีในด้านสุขภาพ Link for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24992 ปัจจัยทีีมีผลต่อการปฏิบัติงานของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) / ปรางค์ จักรไชย in วารสารพยาบาลสาธารณสุข, Vol.31 No.1 (Jan-Apr)2017 ([05/24/2017])
[article]
Title : ปัจจัยทีีมีผลต่อการปฏิบัติงานของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) : ในทีมหมอครอบครัว จังหวัดปทุมธานี Original title : Factors affecting the performance of village health volunteers (VHVs) of family care teams Pathum Thani province Material Type: printed text Authors: ปรางค์ จักรไชย, Author ; อภิชัย คุณีพงษ์, Author ; วรเดช ช้างแก้ว, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.16-28 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสาธารณสุข > Vol.31 No.1 (Jan-Apr)2017 [05/24/2017] . - p.16-28Keywords: อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.).ทีมหมอครอบครัว.การปฎิบัติงานของอสม. Link for e-copy: http://phpn.ph.mahidol.ac.th/Journal/index.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26760 [article] ปัจจัยทีีมีผลต่อการปฏิบัติงานของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) = Factors affecting the performance of village health volunteers (VHVs) of family care teams Pathum Thani province : ในทีมหมอครอบครัว จังหวัดปทุมธานี [printed text] / ปรางค์ จักรไชย, Author ; อภิชัย คุณีพงษ์, Author ; วรเดช ช้างแก้ว, Author . - 2017 . - p.16-28.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการมีส่วนร่วมในการจัดการควบคุมป้องกันโรคติดต่อตามแนวชายแดน / เมธี สุทธศิลป์ in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 ([05/23/2017])
[article]
Title : ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการมีส่วนร่วมในการจัดการควบคุมป้องกันโรคติดต่อตามแนวชายแดน : ของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน อำเภอภูซาง จังหวัดพะเยา Material Type: printed text Authors: เมธี สุทธศิลป์, Author ; เนตรนภา สาสังข์, Author ; ทัศพร ชูศักดิ์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.83-93 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 [05/23/2017] . - p.83-93Keywords: การมีส่วนร่วม.การจัดการควบคุมป้องกัน.โรคติดต่อตามแนวชายแดน.โรคติดต่อ.อสม.ประจำหมู่บ้าน. Abstract: เป็นการวิจัยเชิงสำรวจแบบภาคตัดขวาง เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการมีส่วนร่วมในการจัดการควบคุมป้องกันโรคติดต่อตามแนวชายแดนของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่้านอำเภอภูซาง จังหวัดพะเยา กลุ่มตัวอย่าง คือ อสม.ประจำหมู่บ้าน จำนวน 240 คน ที่ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย SD Chi-square สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบมีขั้นตอน
ผลการศึกษา พบว่า อสม.มีส่วนร่วมในการจัดการควบคุมโรคติดต่อตามแนวชายแดนในระดับสูงร้อยละ 13.8 ปานกลางร้อยละ 64.6 และน้อยร้อยละ 21.7 ส่วนปัจจัยที่ีมีอิทธิพลต่อการมีส่วนร่วมในการจัดการควบคุมป้องกันโรคติดต่อตามแนวชายแดน r=0.387 การรับรู้บทบาทหน้าที่ของอสม.ประจำหมู่บ้านในการควบคุมโรคติดต่อตามแนวชายแดน r=0.040 และการรับรู้นโยบายการควบคุมป้องกันโรคติดต่อตามแนวชายแดน r=0.012 ซึ่งปัจจัยเหล่านี้สามารถทำนายการมีส่วนร่วมในการจัดการควบคุมป้องกันโรคติดต่อตามแนวชายแดนได้ร้อยละ 43.8 โดยการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบมีขั้นตอน ปัจจัยด้านทัศนคติต่อการปฏิบัติงานควบคุมป้องกันโรคติดต่อตามแนวชายแดนสามารถร่วมทำนายได้สูงสุด
ผลการวิจัยครั้งนี้ มีข้อเสนอแนะให้หน่วยงานที่รับผิดชอบควรเพิ่มความรู้เกี่ยวกับนโยบายในการดำเนินงานควบคุมป้องกันโรคติดต่อตามแนวชายแดนให้กับ อสม.ประจำหมู่บ้านให้มากขึ้นและครอบคลุมทั้งหมดLink for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26744 [article] ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการมีส่วนร่วมในการจัดการควบคุมป้องกันโรคติดต่อตามแนวชายแดน : ของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน อำเภอภูซาง จังหวัดพะเยา [printed text] / เมธี สุทธศิลป์, Author ; เนตรนภา สาสังข์, Author ; ทัศพร ชูศักดิ์, Author . - 2017 . - p.83-93.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 [05/23/2017] . - p.83-93Keywords: การมีส่วนร่วม.การจัดการควบคุมป้องกัน.โรคติดต่อตามแนวชายแดน.โรคติดต่อ.อสม.ประจำหมู่บ้าน. Abstract: เป็นการวิจัยเชิงสำรวจแบบภาคตัดขวาง เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการมีส่วนร่วมในการจัดการควบคุมป้องกันโรคติดต่อตามแนวชายแดนของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่้านอำเภอภูซาง จังหวัดพะเยา กลุ่มตัวอย่าง คือ อสม.ประจำหมู่บ้าน จำนวน 240 คน ที่ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย SD Chi-square สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบมีขั้นตอน
ผลการศึกษา พบว่า อสม.มีส่วนร่วมในการจัดการควบคุมโรคติดต่อตามแนวชายแดนในระดับสูงร้อยละ 13.8 ปานกลางร้อยละ 64.6 และน้อยร้อยละ 21.7 ส่วนปัจจัยที่ีมีอิทธิพลต่อการมีส่วนร่วมในการจัดการควบคุมป้องกันโรคติดต่อตามแนวชายแดน r=0.387 การรับรู้บทบาทหน้าที่ของอสม.ประจำหมู่บ้านในการควบคุมโรคติดต่อตามแนวชายแดน r=0.040 และการรับรู้นโยบายการควบคุมป้องกันโรคติดต่อตามแนวชายแดน r=0.012 ซึ่งปัจจัยเหล่านี้สามารถทำนายการมีส่วนร่วมในการจัดการควบคุมป้องกันโรคติดต่อตามแนวชายแดนได้ร้อยละ 43.8 โดยการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบมีขั้นตอน ปัจจัยด้านทัศนคติต่อการปฏิบัติงานควบคุมป้องกันโรคติดต่อตามแนวชายแดนสามารถร่วมทำนายได้สูงสุด
ผลการวิจัยครั้งนี้ มีข้อเสนอแนะให้หน่วยงานที่รับผิดชอบควรเพิ่มความรู้เกี่ยวกับนโยบายในการดำเนินงานควบคุมป้องกันโรคติดต่อตามแนวชายแดนให้กับ อสม.ประจำหมู่บ้านให้มากขึ้นและครอบคลุมทั้งหมดLink for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26744 ปัจจัยที่ส่งผลต่อบทบาทหน้าที่ในการมีส่วนร่วมของอาสาสมัครสาธารณสุข / จันทิมา เหล็กไหล in วารสารพยาบาลสาธารณสุข, Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 ([02/08/2017])
[article]
Title : ปัจจัยที่ส่งผลต่อบทบาทหน้าที่ในการมีส่วนร่วมของอาสาสมัครสาธารณสุข : ประจำหมู่บ้านในการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก Original title : Factor influencing the role of the participation in village health volunteers for the prevention and control of dengue hemorrhagic fever Material Type: printed text Authors: จันทิมา เหล็กไหล, Author ; ศันสนีย์ เมฆรุ่งเรืองวงศ์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.132-144 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสาธารณสุข > Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 [02/08/2017] . - p.132-144Keywords: โรคไข้เลือดออก.อสม.ประจำหมู่บ้านการมีส่วนร่วม.ตำบลธรรมามูล อำเภอเมือง จังหวัดชัยนาท. Abstract: เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ เพื่อศึกษาการมีส่วนร่วม และปัจจัยที่มีผลต่อการมีส่วนร่วมต่อบทบาทหน้าที่ของอสม.ประจำหมู่บ้าน ในการดำเนินการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในเขตพื้นที่ตำบลธรรมมูล อำเภอเมือง จังหวัดชัยนาท จำนวน 142 คน กลุ่มตัวอย่างแบบเป็นระบบ
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม ค่าสัมประสิทธิ์ความเชื่อมั่นด้านความรู้ การรับรู้ ปัจจัยเอื้อ ปัจจัยเสริม และการมีส่วนร่วมในการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกเท่ากัย .797 .782 .765 .878 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติการถดถอยแบบพหุคูณแบบขั้นตอน
ผลการศึกษา พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีส่วนร่วใมนการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกโดยรวมอยู่ในระดับมาก (ค่าเฉลี่ย 2.65 ค่าเลี่ยงเบนมาตรฐาน 0.33)โดยมีคะแนนการมีส่วนร่วมในการรับผลประโยชน์มากที่สุด และคะแนนการมีส่วนร่วมในการค้นหาปัญหาน้อยที่สุด สำหรับปัจจัยที่มีผลต่อการมีส่วนร่วมต่อบทบาทหน้าที่ของอสม. ประจำหมู่บ้าน ในการดำเนินการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกอย่างมีนัยสำคัญ คือ ปัจจัยการได้รับแรงสนับสนุนจากเพื่อร่วมงาน ปัจจัยการได้รับข้อมุลข่าวาสาร ปัจจัยการกำหนดบทลงโทษ ปัจจัยตำแหน่งทางสังคม ปัจจัยความพอเพียงของทรัพยากร และปัจจัยการรับรู้ ซึ่งปัจจัยทั้ง 6 ด้าน สามารถร่วมกันพยากรณ์ผลการมีส่วนร่วมในการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกได้ร้อยละ 59.2 (R ยกกำลังสอง =0.592 F=32.65 p-value<0.01)
ดังนั้น ผู้ที่เกี่ยวข้อง
ต้องดำเนินการยกระดับการมีส่วนร่วให้มีประสิทธธิภาพ
ต้องส่งเสริมให้ผู้ที่มีตำแหน่งในชุมชนเป็นผู้นำในการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก ได้แก่ ด้านเพื่อนร่วมงาน ด้านข้อมูลข่าวสาร ด้านทรัพยากร เพื่อส่งเสริมให้ อสม. ประจำหมู้บ้านเข้ามามีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกต่อไป
Link for e-copy: http://phpn.ph.mahidol.ac.th/Journal/index.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26875 [article] ปัจจัยที่ส่งผลต่อบทบาทหน้าที่ในการมีส่วนร่วมของอาสาสมัครสาธารณสุข = Factor influencing the role of the participation in village health volunteers for the prevention and control of dengue hemorrhagic fever : ประจำหมู่บ้านในการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก [printed text] / จันทิมา เหล็กไหล, Author ; ศันสนีย์ เมฆรุ่งเรืองวงศ์, Author . - 2017 . - p.132-144.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสาธารณสุข > Vol.30 No.30 (Sep-Dec) 2016/2559 [02/08/2017] . - p.132-144Keywords: โรคไข้เลือดออก.อสม.ประจำหมู่บ้านการมีส่วนร่วม.ตำบลธรรมามูล อำเภอเมือง จังหวัดชัยนาท. Abstract: เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ เพื่อศึกษาการมีส่วนร่วม และปัจจัยที่มีผลต่อการมีส่วนร่วมต่อบทบาทหน้าที่ของอสม.ประจำหมู่บ้าน ในการดำเนินการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกในเขตพื้นที่ตำบลธรรมมูล อำเภอเมือง จังหวัดชัยนาท จำนวน 142 คน กลุ่มตัวอย่างแบบเป็นระบบ
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม ค่าสัมประสิทธิ์ความเชื่อมั่นด้านความรู้ การรับรู้ ปัจจัยเอื้อ ปัจจัยเสริม และการมีส่วนร่วมในการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกเท่ากัย .797 .782 .765 .878 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติการถดถอยแบบพหุคูณแบบขั้นตอน
ผลการศึกษา พบว่า กลุ่มตัวอย่างมีส่วนร่วใมนการดำเนินงานป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกโดยรวมอยู่ในระดับมาก (ค่าเฉลี่ย 2.65 ค่าเลี่ยงเบนมาตรฐาน 0.33)โดยมีคะแนนการมีส่วนร่วมในการรับผลประโยชน์มากที่สุด และคะแนนการมีส่วนร่วมในการค้นหาปัญหาน้อยที่สุด สำหรับปัจจัยที่มีผลต่อการมีส่วนร่วมต่อบทบาทหน้าที่ของอสม. ประจำหมู่บ้าน ในการดำเนินการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกอย่างมีนัยสำคัญ คือ ปัจจัยการได้รับแรงสนับสนุนจากเพื่อร่วมงาน ปัจจัยการได้รับข้อมุลข่าวาสาร ปัจจัยการกำหนดบทลงโทษ ปัจจัยตำแหน่งทางสังคม ปัจจัยความพอเพียงของทรัพยากร และปัจจัยการรับรู้ ซึ่งปัจจัยทั้ง 6 ด้าน สามารถร่วมกันพยากรณ์ผลการมีส่วนร่วมในการป้องกันควบคุมโรคไข้เลือดออกได้ร้อยละ 59.2 (R ยกกำลังสอง =0.592 F=32.65 p-value<0.01)
ดังนั้น ผู้ที่เกี่ยวข้อง
ต้องดำเนินการยกระดับการมีส่วนร่วให้มีประสิทธธิภาพ
ต้องส่งเสริมให้ผู้ที่มีตำแหน่งในชุมชนเป็นผู้นำในการควบคุมและป้องกันโรคไข้เลือดออก ได้แก่ ด้านเพื่อนร่วมงาน ด้านข้อมูลข่าวสาร ด้านทรัพยากร เพื่อส่งเสริมให้ อสม. ประจำหมู้บ้านเข้ามามีส่วนร่วมในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกต่อไป
Link for e-copy: http://phpn.ph.mahidol.ac.th/Journal/index.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26875 ผลของโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนต่อการมีกิจกรรมทางกาย ของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจภายหลังได้รับการสวนหัวใจขยายหลอดเลือด / ผุสดี พุฒดี in วารสารเกื้อการุณย์, Vol.24 No.1 (Jan-Jun) 2017/60 ([07/25/2017])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนต่อการมีกิจกรรมทางกาย ของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจภายหลังได้รับการสวนหัวใจขยายหลอดเลือด Original title : The Effect of Perceived Self Efficacy Promoting Program on Physical Activity among Coronary Artery Disease Patient after Percutaneous Coronary Intervention Material Type: printed text Authors: ผุสดี พุฒดี, Author ; ปชาณัฎฐ์ ตันติโกสุม, Author ; นรลักขณ์ เอื้อกิจ, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.147-162 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.24 No.1 (Jan-Jun) 2017/60 [07/25/2017] . - p.147-162Keywords: กิจกรรมทงกาย.การรับรู้สมรรถนะแห่งตน.โรคหลอดเลือดหัวใจ.การสวนหัวใจขยายหลอดเลือด Abstract: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาผลของโปรแกรมส่งเสริม
การรับรู้สมรรถนะแห่งตนต่อการมีกิจกรรมทางกายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจภายหลัง
ได้รับการสวนหัวใจขยายหลอดเลือด กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจภายหลังได้รับการสวนหัวใจขยายหลอดเลือดที่เข้ารับการรักษาในแผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์
กรุงเทพมหานคร คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงตามคุณสมบัติ แบ่งเป็น กลุ่มควบคุม 22 คนและกลุ่มทดลอง 22 คน จับคู่ให้กลุ่มตัวอย่างมีความคล้ายคลึงกันในเรื่องอายุและเพศ
โดยกลุ่มทดลองจะได้รับโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนร่วมกับการพยาบาลตามปกติ
เป็นเวลา 8 สัปดาห์ และกลุ่มควบคุมจะได้รับการพยาบาลตามปกติ
เครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสัมภาษณ์การเคลื่อนไหวออกแรง แบบประเมินความเชื่อมั่นของตนเองในการเคลื่อนไหวออกแรง ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ 5 คน โดยมีค่าความเที่ยงสัมประสิทธิ์อัลฟาของครอนบาคเท่ากับ.81 ค่าความตรงตามเนื้อหาเนื้อหาเท่ากับ 1 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานสถิติทดสอบค่าที
ผลการวิจัย สรุปได้ดังนี้
1. การมีกิจกรรมทางกายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจภายหลังได้รับการสวนหัวใจขยายหลอดเลือดหลังได้รับโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนสูงกว่าก่อนได้รับโปรแกรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.05)
2. การมีกิจกรรมทางกายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจภายหลังได้รับการสวนหัวใจ
ขยายหลอดเลือดกลุ่มที่ได้รับโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนสูงกว่ากลุ่มที่ได้รับ
การพยาบาลตามปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.05)
Link for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27064 [article] ผลของโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนต่อการมีกิจกรรมทางกาย ของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจภายหลังได้รับการสวนหัวใจขยายหลอดเลือด = The Effect of Perceived Self Efficacy Promoting Program on Physical Activity among Coronary Artery Disease Patient after Percutaneous Coronary Intervention [printed text] / ผุสดี พุฒดี, Author ; ปชาณัฎฐ์ ตันติโกสุม, Author ; นรลักขณ์ เอื้อกิจ, Author . - 2017 . - p.147-162.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.24 No.1 (Jan-Jun) 2017/60 [07/25/2017] . - p.147-162Keywords: กิจกรรมทงกาย.การรับรู้สมรรถนะแห่งตน.โรคหลอดเลือดหัวใจ.การสวนหัวใจขยายหลอดเลือด Abstract: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาผลของโปรแกรมส่งเสริม
การรับรู้สมรรถนะแห่งตนต่อการมีกิจกรรมทางกายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจภายหลัง
ได้รับการสวนหัวใจขยายหลอดเลือด กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจภายหลังได้รับการสวนหัวใจขยายหลอดเลือดที่เข้ารับการรักษาในแผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์
กรุงเทพมหานคร คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงตามคุณสมบัติ แบ่งเป็น กลุ่มควบคุม 22 คนและกลุ่มทดลอง 22 คน จับคู่ให้กลุ่มตัวอย่างมีความคล้ายคลึงกันในเรื่องอายุและเพศ
โดยกลุ่มทดลองจะได้รับโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนร่วมกับการพยาบาลตามปกติ
เป็นเวลา 8 สัปดาห์ และกลุ่มควบคุมจะได้รับการพยาบาลตามปกติ
เครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสัมภาษณ์การเคลื่อนไหวออกแรง แบบประเมินความเชื่อมั่นของตนเองในการเคลื่อนไหวออกแรง ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ 5 คน โดยมีค่าความเที่ยงสัมประสิทธิ์อัลฟาของครอนบาคเท่ากับ.81 ค่าความตรงตามเนื้อหาเนื้อหาเท่ากับ 1 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานสถิติทดสอบค่าที
ผลการวิจัย สรุปได้ดังนี้
1. การมีกิจกรรมทางกายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจภายหลังได้รับการสวนหัวใจขยายหลอดเลือดหลังได้รับโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนสูงกว่าก่อนได้รับโปรแกรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.05)
2. การมีกิจกรรมทางกายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจภายหลังได้รับการสวนหัวใจ
ขยายหลอดเลือดกลุ่มที่ได้รับโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนสูงกว่ากลุ่มที่ได้รับ
การพยาบาลตามปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.05)
Link for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27064