From this page you can:
Home |
Search results
6 result(s) search for keyword(s) 'กิจกรรมทงกาย.การรับรู้สมรรถนะแห่งตน.โรคหลอดเลือดหัวใจ.การสวนหัวใจขยายหลอดเลือด'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
ผลของโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนต่อการมีกิจกรรมทางกาย ของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจภายหลังได้รับการสวนหัวใจขยายหลอดเลือด / ผุสดี พุฒดี in วารสารเกื้อการุณย์, Vol.24 No.1 (Jan-Jun) 2017/60 ([07/25/2017])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนต่อการมีกิจกรรมทางกาย ของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจภายหลังได้รับการสวนหัวใจขยายหลอดเลือด Original title : The Effect of Perceived Self Efficacy Promoting Program on Physical Activity among Coronary Artery Disease Patient after Percutaneous Coronary Intervention Material Type: printed text Authors: ผุสดี พุฒดี, Author ; ปชาณัฎฐ์ ตันติโกสุม, Author ; นรลักขณ์ เอื้อกิจ, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.147-162 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.24 No.1 (Jan-Jun) 2017/60 [07/25/2017] . - p.147-162Keywords: กิจกรรมทงกาย.การรับรู้สมรรถนะแห่งตน.โรคหลอดเลือดหัวใจ.การสวนหัวใจขยายหลอดเลือด Abstract: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาผลของโปรแกรมส่งเสริม
การรับรู้สมรรถนะแห่งตนต่อการมีกิจกรรมทางกายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจภายหลัง
ได้รับการสวนหัวใจขยายหลอดเลือด กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจภายหลังได้รับการสวนหัวใจขยายหลอดเลือดที่เข้ารับการรักษาในแผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์
กรุงเทพมหานคร คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงตามคุณสมบัติ แบ่งเป็น กลุ่มควบคุม 22 คนและกลุ่มทดลอง 22 คน จับคู่ให้กลุ่มตัวอย่างมีความคล้ายคลึงกันในเรื่องอายุและเพศ
โดยกลุ่มทดลองจะได้รับโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนร่วมกับการพยาบาลตามปกติ
เป็นเวลา 8 สัปดาห์ และกลุ่มควบคุมจะได้รับการพยาบาลตามปกติ
เครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสัมภาษณ์การเคลื่อนไหวออกแรง แบบประเมินความเชื่อมั่นของตนเองในการเคลื่อนไหวออกแรง ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ 5 คน โดยมีค่าความเที่ยงสัมประสิทธิ์อัลฟาของครอนบาคเท่ากับ.81 ค่าความตรงตามเนื้อหาเนื้อหาเท่ากับ 1 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานสถิติทดสอบค่าที
ผลการวิจัย สรุปได้ดังนี้
1. การมีกิจกรรมทางกายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจภายหลังได้รับการสวนหัวใจขยายหลอดเลือดหลังได้รับโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนสูงกว่าก่อนได้รับโปรแกรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.05)
2. การมีกิจกรรมทางกายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจภายหลังได้รับการสวนหัวใจ
ขยายหลอดเลือดกลุ่มที่ได้รับโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนสูงกว่ากลุ่มที่ได้รับ
การพยาบาลตามปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.05)
Link for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27064 [article] ผลของโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนต่อการมีกิจกรรมทางกาย ของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจภายหลังได้รับการสวนหัวใจขยายหลอดเลือด = The Effect of Perceived Self Efficacy Promoting Program on Physical Activity among Coronary Artery Disease Patient after Percutaneous Coronary Intervention [printed text] / ผุสดี พุฒดี, Author ; ปชาณัฎฐ์ ตันติโกสุม, Author ; นรลักขณ์ เอื้อกิจ, Author . - 2017 . - p.147-162.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.24 No.1 (Jan-Jun) 2017/60 [07/25/2017] . - p.147-162Keywords: กิจกรรมทงกาย.การรับรู้สมรรถนะแห่งตน.โรคหลอดเลือดหัวใจ.การสวนหัวใจขยายหลอดเลือด Abstract: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาผลของโปรแกรมส่งเสริม
การรับรู้สมรรถนะแห่งตนต่อการมีกิจกรรมทางกายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจภายหลัง
ได้รับการสวนหัวใจขยายหลอดเลือด กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจภายหลังได้รับการสวนหัวใจขยายหลอดเลือดที่เข้ารับการรักษาในแผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลเวชการุณย์รัศมิ์
กรุงเทพมหานคร คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงตามคุณสมบัติ แบ่งเป็น กลุ่มควบคุม 22 คนและกลุ่มทดลอง 22 คน จับคู่ให้กลุ่มตัวอย่างมีความคล้ายคลึงกันในเรื่องอายุและเพศ
โดยกลุ่มทดลองจะได้รับโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนร่วมกับการพยาบาลตามปกติ
เป็นเวลา 8 สัปดาห์ และกลุ่มควบคุมจะได้รับการพยาบาลตามปกติ
เครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบสัมภาษณ์การเคลื่อนไหวออกแรง แบบประเมินความเชื่อมั่นของตนเองในการเคลื่อนไหวออกแรง ซึ่งผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ 5 คน โดยมีค่าความเที่ยงสัมประสิทธิ์อัลฟาของครอนบาคเท่ากับ.81 ค่าความตรงตามเนื้อหาเนื้อหาเท่ากับ 1 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานสถิติทดสอบค่าที
ผลการวิจัย สรุปได้ดังนี้
1. การมีกิจกรรมทางกายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจภายหลังได้รับการสวนหัวใจขยายหลอดเลือดหลังได้รับโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนสูงกว่าก่อนได้รับโปรแกรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.05)
2. การมีกิจกรรมทางกายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจภายหลังได้รับการสวนหัวใจ
ขยายหลอดเลือดกลุ่มที่ได้รับโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนสูงกว่ากลุ่มที่ได้รับ
การพยาบาลตามปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.05)
Link for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27064 การสูบบุหรี่กับการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจ / จิรภิญญา คำรัตน์ in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 ([08/21/2017])
[article]
Title : การสูบบุหรี่กับการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจ : บทบาทของพยาบาลในการช่วยเลิกบุหรี่ Original title : Cigrettes smoking and coronary artery disease nurses' role im smoking cessation Material Type: printed text Authors: จิรภิญญา คำรัตน์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.1-6 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.1-6Keywords: โรคหลอดเลือดหัวใจ.บทบาทพยาบาล. บุหรี่. การช่วยเลิกบุหรี่.การสูบบุหรี่ Abstract: การสูบบุหรี่ เป็นหนึ่งในปัจจัยสำคัญของการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจ ซึ่งเป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่สำคัญโรคหนึ่งที่กำลังคร่าชีวิตคนไทยอยู่ในปัจจุบัน การทราบถึงพิษภัย และผลกระทบที่เกิดจาการสูบบุหรีต่อหลอดเลือดหัวใจ จะช่วยให้ประชาชนตระหนักถึงอันตรายของบุหรี่ที่มีต่อสุขภาพและเห็นความสำคัญของการไม่สูบบุหรี่ หรือเลิกบุหรี่เพื่ิอลดความรุนแรงที่เกิดจากการสูบบุหรี่ต่อโรคหลอดเลือดหัวใจในอนาคต บทความนี้มีวตถุประสงค์เพื่่ออธิบายความสัมพันธ์ระหว่างการสูบบุหรี และการเกิดโรคหลอดเลือหัวใจรวมถึงบทบาทของพยาบาลในการช่วยเลิกบุหรี่อันจะนำไปสู่การตระหนักรู้ในเรื่องการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจซึ่งเป็นผลมาจากการสูบบุหรี่ และเพื่อใช้เป็นแนวทางสำหรับบุคลากรทางสุขภาพในการช่วยเลิกบุหรี่ในผู้ป่วยโรคหลอดเลือหัวใจต่อไป Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27207 [article] การสูบบุหรี่กับการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจ = Cigrettes smoking and coronary artery disease nurses' role im smoking cessation : บทบาทของพยาบาลในการช่วยเลิกบุหรี่ [printed text] / จิรภิญญา คำรัตน์, Author . - 2017 . - p.1-6.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.1-6Keywords: โรคหลอดเลือดหัวใจ.บทบาทพยาบาล. บุหรี่. การช่วยเลิกบุหรี่.การสูบบุหรี่ Abstract: การสูบบุหรี่ เป็นหนึ่งในปัจจัยสำคัญของการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจ ซึ่งเป็นโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่สำคัญโรคหนึ่งที่กำลังคร่าชีวิตคนไทยอยู่ในปัจจุบัน การทราบถึงพิษภัย และผลกระทบที่เกิดจาการสูบบุหรีต่อหลอดเลือดหัวใจ จะช่วยให้ประชาชนตระหนักถึงอันตรายของบุหรี่ที่มีต่อสุขภาพและเห็นความสำคัญของการไม่สูบบุหรี่ หรือเลิกบุหรี่เพื่ิอลดความรุนแรงที่เกิดจากการสูบบุหรี่ต่อโรคหลอดเลือดหัวใจในอนาคต บทความนี้มีวตถุประสงค์เพื่่ออธิบายความสัมพันธ์ระหว่างการสูบบุหรี และการเกิดโรคหลอดเลือหัวใจรวมถึงบทบาทของพยาบาลในการช่วยเลิกบุหรี่อันจะนำไปสู่การตระหนักรู้ในเรื่องการเกิดโรคหลอดเลือดหัวใจซึ่งเป็นผลมาจากการสูบบุหรี่ และเพื่อใช้เป็นแนวทางสำหรับบุคลากรทางสุขภาพในการช่วยเลิกบุหรี่ในผู้ป่วยโรคหลอดเลือหัวใจต่อไป Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27207 ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการดูแลและพฤติกรรมการดูแลของผู้ดูแล / รัชดา ยิ้มซ้าย in วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์, Vol.36 No.2 (May-Aug) 2016 ([12/27/2016])
[article]
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการดูแลและพฤติกรรมการดูแลของผู้ดูแล : ผู้ป่วยสมองเสือมที่มีปัญหาพฤติกรรมและจิตใจ Original title : The relationship between perceived caring self efficacy and caring behavior among caregivers of persons with behaviors and psychological of symtoms of dementia Material Type: printed text Authors: รัชดา ยิ้มซ้าย, Author ; ถนอมศรี อินทนนท์, Author ; วินีกาญจน์ คงสุวรรณ, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.104--117 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์ > Vol.36 No.2 (May-Aug) 2016 [12/27/2016] . - p.104--117Keywords: การรับรู้สมรรถนะแห่งตนการดูแล.พฤติกรรมการดูแลของผู้ดูแลผู้ป่วย.ผู้ป่วยสมองเสื่อม.ปัญหาพฤติกรรมและจิตใจ. Link for e-copy: www.nur.psu.ac.th/journal/ Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25914 [article] ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการดูแลและพฤติกรรมการดูแลของผู้ดูแล = The relationship between perceived caring self efficacy and caring behavior among caregivers of persons with behaviors and psychological of symtoms of dementia : ผู้ป่วยสมองเสือมที่มีปัญหาพฤติกรรมและจิตใจ [printed text] / รัชดา ยิ้มซ้าย, Author ; ถนอมศรี อินทนนท์, Author ; วินีกาญจน์ คงสุวรรณ, Author . - 2016 . - p.104--117.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)ปัจจัยทำนายพฤติกรรมการจัดการตนเองของผู้สูงอายุโรคเบาหวานชนิดที่ 2 / กมลพร สิริคุตจตุพร in วารสารสภาการพยาบาล, Vol 32. No. 1 (Jan-Mar) 2017/60 ([07/25/2017])
[article]
Title : ปัจจัยทำนายพฤติกรรมการจัดการตนเองของผู้สูงอายุโรคเบาหวานชนิดที่ 2 Original title : Factors Predicting Self-Management Behaviour of Elderly Type 2 Diabetes Patients Material Type: printed text Authors: กมลพร สิริคุตจตุพร, Author ; วิราพรรณ วิโรจน์รัตน์, Author ; นารีรัตน์ จิตรมนตรี, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.84-93 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol 32. No. 1 (Jan-Mar) 2017/60 [07/25/2017] . - p.84-93Keywords: การรับรู้สมรรถนะแห่งตน. การกำกับตนเอง. การสนับสนุนทางสังคม. พฤติกรรมการจัดการตนเอง. ผู้สูงอายุโรคเบาหวานชนิดที่ 2. Abstract: วัตถุประสงค์ของการวิจัย : เพื่อศึกษาอำนาจการทำนายของความรู้เรื่องโรคเบาหวาน
การรับรู้สมรรถนะแห่งตน การกำกับตนเอง และการสนับสนุนทางสังคม ต่อพฤติกรรม
การจัดการตนเองของผู้สูงอายุโรคเบาหวานชนิดที่ 2
การออกแบบการวิจัย: การวิจัยแบบหาอำนาจการทำนาย
วิธีการดำเนินการวิจัย: การวิจัยนี้ใช้กรอบแนวคิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมแบบ
ผสมผสานของ Ryan กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้สูงอายุโรคเบาหวานชนิดที่ 2 อายุ 60 ปีขึ้นไปคัดเลือกตามเกณฑ์คัดเข้า จำนวน 132 คน เก็บรวมรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา สถิติสหสัมพันธ์เพียร์สัน และสถิติสัมประสิทธิ์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน
ผลการวิจัย: พบว่ากลุ่มตัวอย่างมีพฤติกรรมการจัดการตนเองโดยรวมอยู่ในระดับ
ปานกลาง ( = 5.59, SD. = 0.87) ความรู้เรื่องโรคเบาหวาน การรับรู้สมรรถนะแห่งตน การกำกับตนเอง และการสนับสนุนทางสังคม สามารถร่วมกันทำนายพฤติกรรมการจัดการตนเอง
ได้ร้อยละ 81.2 (R2= .812, F = 142.59, p < .01) และการรับรู้สมรรถนะแห่งตนสามารถทำนายพฤติกรรมการจัดการตนเองได้สูงสุด (β = .597, p < .01)
ข้อเสนอแนะ: ผลการวิจัยนี้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการวางแผนดูแลผู้สูงอายุโรคเบาหวาน
ชนิดที่ 2 ครอบครัว เพื่อนหรือเพื่อนบ้าน และบุคลากรทางการแพทย์ ควรมีส่วนร่วมในการใช้
หลักอาหารแลกเปลี่ยนและการออกกำลังกาย เพื่อเพิ่มประสิทธิผลในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
สุขภาพของผู้สูงอายุโรคเบาหวานชนิดที่ 2 และผลการวิจัยสามารถนำไปพัฒนาโปรแกรม
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจัดการตนเองของผู้สูงอายุโรคเบาหวานต่อไปLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26986 [article] ปัจจัยทำนายพฤติกรรมการจัดการตนเองของผู้สูงอายุโรคเบาหวานชนิดที่ 2 = Factors Predicting Self-Management Behaviour of Elderly Type 2 Diabetes Patients [printed text] / กมลพร สิริคุตจตุพร, Author ; วิราพรรณ วิโรจน์รัตน์, Author ; นารีรัตน์ จิตรมนตรี, Author . - 2017 . - p.84-93.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol 32. No. 1 (Jan-Mar) 2017/60 [07/25/2017] . - p.84-93Keywords: การรับรู้สมรรถนะแห่งตน. การกำกับตนเอง. การสนับสนุนทางสังคม. พฤติกรรมการจัดการตนเอง. ผู้สูงอายุโรคเบาหวานชนิดที่ 2. Abstract: วัตถุประสงค์ของการวิจัย : เพื่อศึกษาอำนาจการทำนายของความรู้เรื่องโรคเบาหวาน
การรับรู้สมรรถนะแห่งตน การกำกับตนเอง และการสนับสนุนทางสังคม ต่อพฤติกรรม
การจัดการตนเองของผู้สูงอายุโรคเบาหวานชนิดที่ 2
การออกแบบการวิจัย: การวิจัยแบบหาอำนาจการทำนาย
วิธีการดำเนินการวิจัย: การวิจัยนี้ใช้กรอบแนวคิดการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมแบบ
ผสมผสานของ Ryan กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้สูงอายุโรคเบาหวานชนิดที่ 2 อายุ 60 ปีขึ้นไปคัดเลือกตามเกณฑ์คัดเข้า จำนวน 132 คน เก็บรวมรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา สถิติสหสัมพันธ์เพียร์สัน และสถิติสัมประสิทธิ์การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน
ผลการวิจัย: พบว่ากลุ่มตัวอย่างมีพฤติกรรมการจัดการตนเองโดยรวมอยู่ในระดับ
ปานกลาง ( = 5.59, SD. = 0.87) ความรู้เรื่องโรคเบาหวาน การรับรู้สมรรถนะแห่งตน การกำกับตนเอง และการสนับสนุนทางสังคม สามารถร่วมกันทำนายพฤติกรรมการจัดการตนเอง
ได้ร้อยละ 81.2 (R2= .812, F = 142.59, p < .01) และการรับรู้สมรรถนะแห่งตนสามารถทำนายพฤติกรรมการจัดการตนเองได้สูงสุด (β = .597, p < .01)
ข้อเสนอแนะ: ผลการวิจัยนี้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการวางแผนดูแลผู้สูงอายุโรคเบาหวาน
ชนิดที่ 2 ครอบครัว เพื่อนหรือเพื่อนบ้าน และบุคลากรทางการแพทย์ ควรมีส่วนร่วมในการใช้
หลักอาหารแลกเปลี่ยนและการออกกำลังกาย เพื่อเพิ่มประสิทธิผลในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
สุขภาพของผู้สูงอายุโรคเบาหวานชนิดที่ 2 และผลการวิจัยสามารถนำไปพัฒนาโปรแกรม
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการจัดการตนเองของผู้สูงอายุโรคเบาหวานต่อไปLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26986 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการป้องกันโรคหลอดเลือดหัวใจของอาสาสมัครสาธารณสุข / มณฑิรา แสนพรม in วารสารการพยาบาลและสุขภาพ, Vol.10 No.3 (Sep-Dec) 2016 ([03/24/2017])
[article]
Title : ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการป้องกันโรคหลอดเลือดหัวใจของอาสาสมัครสาธารณสุข : อำเภอแม่สอด จังหวัดตราด Original title : Factors affecting caronary artery disease prevention behavior among village health volunteers in amphoe Maesod, Tak province Material Type: printed text Authors: มณฑิรา แสนพรม, Author ; สมลักษณ์ เทพสุริยานนท์, Author ; ชมนาด วรรณพรศิริ, Author ; ทวีศักดิ์ ศิริพรไพบูลย์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.121-132 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลและสุขภาพ > Vol.10 No.3 (Sep-Dec) 2016 [03/24/2017] . - p.121-132Keywords: พฤติกรรมการป้องกันโรค.โรคหลอดเลือดหัวใจ.อสม.อำเภอแม่สอด.จังหวัดตาก. Link for e-copy: http://www.nurse.nu.ac.th/journals/index.php Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26888 [article] ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการป้องกันโรคหลอดเลือดหัวใจของอาสาสมัครสาธารณสุข = Factors affecting caronary artery disease prevention behavior among village health volunteers in amphoe Maesod, Tak province : อำเภอแม่สอด จังหวัดตราด [printed text] / มณฑิรา แสนพรม, Author ; สมลักษณ์ เทพสุริยานนท์, Author ; ชมนาด วรรณพรศิริ, Author ; ทวีศักดิ์ ศิริพรไพบูลย์, Author . - 2017 . - p.121-132.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)ผลของโปรแกรมการส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการบริหาร การหายใจต่อการรับรู้สมรรถนะแห่งตนแ / ณัฏฐา ดวงตา in วารสารสภาการพยาบาล, Vol.32 No.2 (Apr-Jun) 2017-2560 ([09/21/2017])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมการส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการบริหาร การหายใจต่อการรับรู้สมรรถนะแห่งตนแ : และประสิทธิภาพการหายใจในผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง Material Type: printed text Authors: ณัฏฐา ดวงตา, Author ; สุนทรา เลี้ยงเชวงวงศ์, Author ; สมพล สงวนรังศิริกุล, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.95-110 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.32 No.2 (Apr-Jun) 2017-2560 [09/21/2017] . - p.95-110Keywords: การส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตน. การบริหารการหายใจ. การรับรู้สมรรถนะแห่งตน. ประสิทธิภาพการหายใจ. ผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง. Abstract: วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาผลของการส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการบริหารการหายใจต่อการรับรู้สมรรถนะแห่งตน และประสิทธิภาพการหายใจในผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังการออกแบบการวิจัย: การวิจัยเชิงทดลองแบบสองกลุ่มวัดก่อนและหลังการทดลองวิธีดำาเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจงจำานวน 84 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 42 คน โดยวิธีการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วยโปรแกรมการส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการบริหารการหายใจ คู่มือความรู้ด้านสุขภาพและการบริหารการหายใจ วีดิทัศน์การบริหารการหายใจ ระยะเวลาในการวิจัยทั้งหมด 8 สัปดาห์ เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสัมภาษณ์ข้อมูลส่วนบุคคล แบบประเมินประสิทธิภาพการหายใจ ประกอบด้วยแบบสัมภาษณ์ปัญหาการหายใจของเซนต์จอร์จ แบบสัมภาษณ์อาการหายใจลำาบาก อาการไอและภาวะคั่งของเสมหะ อัตราเร็วสูงสุดของลมขณะหายใจออกและระยะทางเดินบนพื้นราบ 6 นาที วิเคราะห์ข้อมูลร้อยละ ค่าเฉลี่ยChi-squares, Fisher’s exact test ,Paired t-test, Independent t-test และ ANCOVA testผลการวิจัย: ภายหลังการทดลอง พบว่า กลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยคะแนนการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการบริหารการหายใจดีกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .001) ค่าเฉลี่ยคะแนนปัญหาการหายใจลดลงมากกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .01) ส่วนค่าเฉลี่ยคะแนนอาการหายใจลำาบาก อาการไอและการคั่งของเสมหะ อัตราเร็วสูงสุดของลมขณะหายใจออก และระยะทางการเดินบนพื้นราบ 6 นาที ของทั้งสองกลุ่มไม่แตกต่างกันข้อเสนอแนะ : ควรมีการศึกษาติดตามในระยะยาวเพื่อให้เกิดประสิทธิผลต่อสมรรถภาพการทำงานของปอด Link for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27358 [article] ผลของโปรแกรมการส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการบริหาร การหายใจต่อการรับรู้สมรรถนะแห่งตนแ : และประสิทธิภาพการหายใจในผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง [printed text] / ณัฏฐา ดวงตา, Author ; สุนทรา เลี้ยงเชวงวงศ์, Author ; สมพล สงวนรังศิริกุล, Author . - 2017 . - p.95-110.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.32 No.2 (Apr-Jun) 2017-2560 [09/21/2017] . - p.95-110Keywords: การส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตน. การบริหารการหายใจ. การรับรู้สมรรถนะแห่งตน. ประสิทธิภาพการหายใจ. ผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง. Abstract: วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาผลของการส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการบริหารการหายใจต่อการรับรู้สมรรถนะแห่งตน และประสิทธิภาพการหายใจในผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังการออกแบบการวิจัย: การวิจัยเชิงทดลองแบบสองกลุ่มวัดก่อนและหลังการทดลองวิธีดำาเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจงจำานวน 84 คน แบ่งเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 42 คน โดยวิธีการสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วยโปรแกรมการส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการบริหารการหายใจ คู่มือความรู้ด้านสุขภาพและการบริหารการหายใจ วีดิทัศน์การบริหารการหายใจ ระยะเวลาในการวิจัยทั้งหมด 8 สัปดาห์ เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสัมภาษณ์ข้อมูลส่วนบุคคล แบบประเมินประสิทธิภาพการหายใจ ประกอบด้วยแบบสัมภาษณ์ปัญหาการหายใจของเซนต์จอร์จ แบบสัมภาษณ์อาการหายใจลำาบาก อาการไอและภาวะคั่งของเสมหะ อัตราเร็วสูงสุดของลมขณะหายใจออกและระยะทางเดินบนพื้นราบ 6 นาที วิเคราะห์ข้อมูลร้อยละ ค่าเฉลี่ยChi-squares, Fisher’s exact test ,Paired t-test, Independent t-test และ ANCOVA testผลการวิจัย: ภายหลังการทดลอง พบว่า กลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยคะแนนการรับรู้สมรรถนะแห่งตนในการบริหารการหายใจดีกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .001) ค่าเฉลี่ยคะแนนปัญหาการหายใจลดลงมากกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .01) ส่วนค่าเฉลี่ยคะแนนอาการหายใจลำาบาก อาการไอและการคั่งของเสมหะ อัตราเร็วสูงสุดของลมขณะหายใจออก และระยะทางการเดินบนพื้นราบ 6 นาที ของทั้งสองกลุ่มไม่แตกต่างกันข้อเสนอแนะ : ควรมีการศึกษาติดตามในระยะยาวเพื่อให้เกิดประสิทธิผลต่อสมรรถภาพการทำงานของปอด Link for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27358