From this page you can:
Home |
Search results
6 result(s) search for keyword(s) 'พระราชบัญญัติ. ธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์. กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ.'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
พระราชบัญญัติ / กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร - 2551
Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000468973 KPT80 .C65 พ371 2551 Book Main Library General Shelf Available SIU THE-T. การนำพระราชบัญญัติจราจรทางบก (เมาแล้วขับ) ไปสู่การปฏิบัติ / หทัยรัตน์ สนสกุล / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2018
Collection Title: SIU THE-T Title : การนำพระราชบัญญัติจราจรทางบก (เมาแล้วขับ) ไปสู่การปฏิบัติ Original title : Implementing Land Traffic Act (Drunk Driving) into Practice Material Type: printed text Authors: หทัยรัตน์ สนสกุล, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2018 Pagination: ix, 95 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-08
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การนำนโยบายไปปฏิบัติ
[LCSH]พระราชบัญญัติจราจรทางบกKeywords: พระราชบัญญัติจราจรทางบก (เมาแล้วขับ), การนำนโยบายไปปฏิบัติ Abstract: วัตถุประสงค์ของการศึกษาเรื่อง การนำพระราชบัญญัติจราจรทางบก (เมาแล้วขับ) ไปสู่การปฏิบัติ คือ 1) เพื่อศึกษาพฤติกรรมของผู้ขับขี่รถยนต์ 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมของผู้ขับขี่รถยนต์ และ 3) เพื่อหาแนวทางและวางแผนในการปฏิบัติตามนโยบายการใช้พระราชบัญญัติจราจรทางบก (เมาแล้วขับ) ใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูลจากผู้ใช้รถในจังหวัดปทุมธานี จำนวน 920 คน สุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ และใช้ค่าความถี ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และ การวิเคราะห์ถดถอยพหุแบบขั้นตอน (Stepwise multiple regression analysis) ในการวิเคราะห์ข้อมูล
ผลการศึกษา พบว่า พฤติกรรมของผู้ใช้รถต่อพระราชบัญญัติจราจรทางบก (เมาแล้วขับ) มี 4 รูปแบบ ประกอบด้วย พฤติกรรมตั้งใจไม่ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติ และถูกดำเนินคดีพบมากที่สุด รองลงมา ตั้งใจไม่ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติ และไม่เคยถูกดำเนินคดี ตั้งใจปฏิบัติตามพระราชบัญญัติ แต่ถูกดำเนินคดี และตั้งใจปฏิบัติตามพระราชบัญญัติอย่างเคร่งครัดผลการวิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมของผู้ใช้รถต่อพระราชบัญญัติจราจรทางบก (เมาแล้วขับ) พบว่า โดยรวม คือ ภูมิลำเนา และอาชีพสื่อที่ใช้ในการรณรงค์ตามพระราชบัญญัติ มาตรการของพระราชบัญญัติ และ การสนับสนุนของผู้นำท้องที่ แต่เมื่อพิจารณาแยกตามพฤติกรรมของผู้ใช้รถทั้ง 4 รูปแบบ โดยใช้การวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ พบว่า 1) การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ในพื้นที่ และการสนับสนุนของผู้นำท้องที่ ส่งผลต่อพฤติกรรมของผู้ใช้รถที่ตั้งใจปฏิบัติตามพระราชบัญญัติอย่างเคร่งครัด 2) การใช้อำนาจตัดสินใจของเจ้าหน้าที่ในการใช้พระราชบัญญัติส่งผลต่อพฤติกรรมของผู้ใช้รถที่ตั้งใจปฏิบัติตามพระราชบัญญัติแต่ถูกดำเนินคดี 3) มาตรการของพระราชบัญญัติสื่อที่ใช้ในการรณรงค์ตามพระราชบัญญัติ และบทลงโทษของพระราชบัญญัติส่งผลต่อพฤติกรรมของผู้ใช้รถต่อพระราชบัญญัติฯ ที่ตั้งใจไม่ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติ และไม่เคยถูกดำเนินคดี และ 4) การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ในพื้นที่การสนับสนุนของผู้นำพื้นที่สื่อที่ใช้ในการรณรงค์ และการใช้อำนาจตัดสินของเจ้าหน้าที่ส่งผลต่อพฤติกรรมของผู้ใช้รถ ที่ตั้งใจไม่ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติและถูกดำเนินคดี สำหรับปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการนำนโยบายพระราชบัญญัติจราจรทางบก (เมาแล้วขับ) ไปปฏิบัติ พบว่า คือ การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ในพื้นที่ และการสนับสนุนของผู้นำท้องที่มีผลต่อการตั้งใจปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัดของผู้ใช้รถCurricular : GE/MPA/DPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27882 SIU THE-T. การนำพระราชบัญญัติจราจรทางบก (เมาแล้วขับ) ไปสู่การปฏิบัติ = Implementing Land Traffic Act (Drunk Driving) into Practice [printed text] / หทัยรัตน์ สนสกุล, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018 . - ix, 95 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-08
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การนำนโยบายไปปฏิบัติ
[LCSH]พระราชบัญญัติจราจรทางบกKeywords: พระราชบัญญัติจราจรทางบก (เมาแล้วขับ), การนำนโยบายไปปฏิบัติ Abstract: วัตถุประสงค์ของการศึกษาเรื่อง การนำพระราชบัญญัติจราจรทางบก (เมาแล้วขับ) ไปสู่การปฏิบัติ คือ 1) เพื่อศึกษาพฤติกรรมของผู้ขับขี่รถยนต์ 2) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมของผู้ขับขี่รถยนต์ และ 3) เพื่อหาแนวทางและวางแผนในการปฏิบัติตามนโยบายการใช้พระราชบัญญัติจราจรทางบก (เมาแล้วขับ) ใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูลจากผู้ใช้รถในจังหวัดปทุมธานี จำนวน 920 คน สุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ และใช้ค่าความถี ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และ การวิเคราะห์ถดถอยพหุแบบขั้นตอน (Stepwise multiple regression analysis) ในการวิเคราะห์ข้อมูล
ผลการศึกษา พบว่า พฤติกรรมของผู้ใช้รถต่อพระราชบัญญัติจราจรทางบก (เมาแล้วขับ) มี 4 รูปแบบ ประกอบด้วย พฤติกรรมตั้งใจไม่ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติ และถูกดำเนินคดีพบมากที่สุด รองลงมา ตั้งใจไม่ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติ และไม่เคยถูกดำเนินคดี ตั้งใจปฏิบัติตามพระราชบัญญัติ แต่ถูกดำเนินคดี และตั้งใจปฏิบัติตามพระราชบัญญัติอย่างเคร่งครัดผลการวิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมของผู้ใช้รถต่อพระราชบัญญัติจราจรทางบก (เมาแล้วขับ) พบว่า โดยรวม คือ ภูมิลำเนา และอาชีพสื่อที่ใช้ในการรณรงค์ตามพระราชบัญญัติ มาตรการของพระราชบัญญัติ และ การสนับสนุนของผู้นำท้องที่ แต่เมื่อพิจารณาแยกตามพฤติกรรมของผู้ใช้รถทั้ง 4 รูปแบบ โดยใช้การวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ พบว่า 1) การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ในพื้นที่ และการสนับสนุนของผู้นำท้องที่ ส่งผลต่อพฤติกรรมของผู้ใช้รถที่ตั้งใจปฏิบัติตามพระราชบัญญัติอย่างเคร่งครัด 2) การใช้อำนาจตัดสินใจของเจ้าหน้าที่ในการใช้พระราชบัญญัติส่งผลต่อพฤติกรรมของผู้ใช้รถที่ตั้งใจปฏิบัติตามพระราชบัญญัติแต่ถูกดำเนินคดี 3) มาตรการของพระราชบัญญัติสื่อที่ใช้ในการรณรงค์ตามพระราชบัญญัติ และบทลงโทษของพระราชบัญญัติส่งผลต่อพฤติกรรมของผู้ใช้รถต่อพระราชบัญญัติฯ ที่ตั้งใจไม่ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติ และไม่เคยถูกดำเนินคดี และ 4) การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ในพื้นที่การสนับสนุนของผู้นำพื้นที่สื่อที่ใช้ในการรณรงค์ และการใช้อำนาจตัดสินของเจ้าหน้าที่ส่งผลต่อพฤติกรรมของผู้ใช้รถ ที่ตั้งใจไม่ปฏิบัติตามพระราชบัญญัติและถูกดำเนินคดี สำหรับปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการนำนโยบายพระราชบัญญัติจราจรทางบก (เมาแล้วขับ) ไปปฏิบัติ พบว่า คือ การปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ในพื้นที่ และการสนับสนุนของผู้นำท้องที่มีผลต่อการตั้งใจปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัดของผู้ใช้รถCurricular : GE/MPA/DPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27882 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000599041 SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-08 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000598985 SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-08 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available SIU THE-T. การประเมินนโยบายตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 ว่าด้วยการละเมิดลิขสิทธิ์งานภาพยนตร์ / นันทพงศ์ อินทอง / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2018
Collection Title: SIU THE-T Title : การประเมินนโยบายตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 ว่าด้วยการละเมิดลิขสิทธิ์งานภาพยนตร์ : Policy Evaluation of Copyright ACT 2573 (1994) For The Copyright Infringement in Cinematographic Works Material Type: printed text Authors: นันทพงศ์ อินทอง, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; บุญทัน ดอกไธสง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2018 Pagination: viii, 194 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-03
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การละเมิดลิขสิทธิ์
[LCSH]ลิขสิทธิ์Keywords: การประเมินนโยบาย, การละเมิดลขสิทธิ์งานภาพยนตร์, พระราชบัญญัติ ลิขสิทธิ์ พ.ศ.2537 Abstract: การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษากระบวนการในการนำนโยบายตามพระราชบัญญัติ ลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 ว่าด้วยการละเมิดงานภาพยนตร์ไปปฏิบัติ 2) เพื่อประเมินนโยบายตามพระราชบัญญัติ ลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 ว่าด้วยการละเมิดงานภาพยนตร์ 3) เพื่อหาแนวทางในการปรับปรุงนโยบายตามพระราชบัญญัติ ลิขสิทธิ์ พ.ศ 2537 ว่าด้วยการละเมิดงานภาพยนตร์ไปปฏิบัติให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ โดยมีเครื่องมือที่สำคัญ ได้แก่ ผู้วิจัย และการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกแบบมีโครงสร้าง รวมทั้งการสังเกตแบบมีส่วนร่วม และไม่มีส่วนร่วม จากผู้ให้ข้อมูลสำคัญจำนวน 38 คน ประกอบด้วย ส่วนแรก เป็น 3 หน่วยงานหลักที่เกี่ยวข้องกับการละเมิดลิขสิทธิ์ภาพยนตร์เป็นหน่วยปฏิบัติงานหลัก ได้แก่ 1) กองบังคับการปราบปรามการกระทำความผิดเกี่ยวกับอาชญากรรมทางเศรษฐกิจ 2) กรมทรัพย์สินทางปัญญา 3) สำนักงานอัยการฝ่ายคดีทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศ ส่วนที่สอง เป็นการคัดเลือกผู้ให้ข้อมูลสำคัญแบ่งเป็น 4 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มแรก คือ เจ้าของลิขสิทธิ์ กลุ่มที่สอง ผู้ละเมิดลิขสิทธิ์ กลุ่มที่สาม ฝ่ายเจ้าหน้าที่ตำรวจผู้บังคับใช้กฎหมายที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการละเมิดลิขสิทธิ์ กลุ่มที่สี่ ผู้จัดการโรงภาพยนตร์ ผลการศึกษา พบว่า กระบวนการในการนำนโยบายตามพระราชบัญญัติ ลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 ว่าด้วยการละเมิดงานภาพยนตร์ไปปฏิบัติ ในระดับมหภาพ และการดำเนินการในระดับจุลภาพเป็นเพียงดำเนินการตามผลของการกระทำผิดเท่านั้น ไม่มีการรณรงค์หรือประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนเกิดความร่วมมือที่จะไม่ละเมิดลิขสิทธิ์งานภาพยนตร์ และเทคโนโลยีที่ใช้ในการกระทำความผิดเกี่ยวกับอาชญากรรมทางเศรษฐกิจมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วทำให้การป้องกันปราบปรามมีความยากลำบาก และจากการประเมินผลนโยบายการนำนโยบายนี้ไปปฏิบัติไม่มีประสิทธิภาพเท่าที่ควร ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา หลังจากมีการประกาศใช้ พรบ. ลิขสิทธิ์นี้ การละเมิดลิขสิทธิ์งานภาพยนตร์ เป็นปรากฎการณ์เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ยังไม่มีวิธีการศึกษาในการหาวิธีการแก้ไขปัญหาที่ชัดเจน ถึงแม้ว่ามีการจับกุม ดำเนินคดี หรือการยอมความ แต่ผู้ละเมิดยังมีจำนวนเพิ่มขึ้น เนื่องจาก ผู้นำของรัฐไม่ให้ความสำคัญต่อการละเมิดลิขสิทธิ์เท่าที่ควรจะเป็นในเรื่องการสื่อสาร การสั่งการ ก็ตาม ข้อค้นพบสำคัญในการสร้างองค์ความรู้ คือ ทฤษฎีทางหลักนิติศาสตร์ กับ ทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์ มีความไม่สอดคล้องกันภายใต้การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี ข้อเสนอแนะ ด้านมหภาพ ผู้นำรัฐควรสื่อสารประชาสัมพันธ์ไปยังประชาชนให้เกิดวัฒนธรรมและค่านิยมให้เกิดความร่วมมือที่จะไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ รัฐควรกำหนดอัตราโทษทางอาญาให้เหมาะสมกับลักษณะของการกระทำความผิด เพื่อการแก้ไขปัญหาการใช้โทษทางอาญาเป็นเครื่องมือในการใช้สิทธิโดยมิชอบของเจ้าของลิขสิทธิ์ ควรมีการทบทวนกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเศรษฐกิจ ซึ่งรวมถึงกฎหมายลิขสิทธิ์อย่างสม่ำเสมอ ควรจัดให้มีการฝึกอบรม เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายลิขสิทธิ์แก่เจ้าหน้าที่ของรัฐ ในหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการบังคับใช้กฎหมายลิขสิทธิ์ ด้านจุลภาพ ในหน่วยปฏิบัติงานควรมีการรณรงค์ให้ประชาชนทราบถึงความผิดจากการละเมิดลิขสิทธิ์ และในกระบวนการการดำเนินงานให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27771 SIU THE-T. การประเมินนโยบายตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 ว่าด้วยการละเมิดลิขสิทธิ์งานภาพยนตร์ : Policy Evaluation of Copyright ACT 2573 (1994) For The Copyright Infringement in Cinematographic Works [printed text] / นันทพงศ์ อินทอง, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; บุญทัน ดอกไธสง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018 . - viii, 194 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00
SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-03
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การละเมิดลิขสิทธิ์
[LCSH]ลิขสิทธิ์Keywords: การประเมินนโยบาย, การละเมิดลขสิทธิ์งานภาพยนตร์, พระราชบัญญัติ ลิขสิทธิ์ พ.ศ.2537 Abstract: การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษากระบวนการในการนำนโยบายตามพระราชบัญญัติ ลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 ว่าด้วยการละเมิดงานภาพยนตร์ไปปฏิบัติ 2) เพื่อประเมินนโยบายตามพระราชบัญญัติ ลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 ว่าด้วยการละเมิดงานภาพยนตร์ 3) เพื่อหาแนวทางในการปรับปรุงนโยบายตามพระราชบัญญัติ ลิขสิทธิ์ พ.ศ 2537 ว่าด้วยการละเมิดงานภาพยนตร์ไปปฏิบัติให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น เป็นการศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ โดยมีเครื่องมือที่สำคัญ ได้แก่ ผู้วิจัย และการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกแบบมีโครงสร้าง รวมทั้งการสังเกตแบบมีส่วนร่วม และไม่มีส่วนร่วม จากผู้ให้ข้อมูลสำคัญจำนวน 38 คน ประกอบด้วย ส่วนแรก เป็น 3 หน่วยงานหลักที่เกี่ยวข้องกับการละเมิดลิขสิทธิ์ภาพยนตร์เป็นหน่วยปฏิบัติงานหลัก ได้แก่ 1) กองบังคับการปราบปรามการกระทำความผิดเกี่ยวกับอาชญากรรมทางเศรษฐกิจ 2) กรมทรัพย์สินทางปัญญา 3) สำนักงานอัยการฝ่ายคดีทรัพย์สินทางปัญญาและการค้าระหว่างประเทศ ส่วนที่สอง เป็นการคัดเลือกผู้ให้ข้อมูลสำคัญแบ่งเป็น 4 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มแรก คือ เจ้าของลิขสิทธิ์ กลุ่มที่สอง ผู้ละเมิดลิขสิทธิ์ กลุ่มที่สาม ฝ่ายเจ้าหน้าที่ตำรวจผู้บังคับใช้กฎหมายที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการละเมิดลิขสิทธิ์ กลุ่มที่สี่ ผู้จัดการโรงภาพยนตร์ ผลการศึกษา พบว่า กระบวนการในการนำนโยบายตามพระราชบัญญัติ ลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 ว่าด้วยการละเมิดงานภาพยนตร์ไปปฏิบัติ ในระดับมหภาพ และการดำเนินการในระดับจุลภาพเป็นเพียงดำเนินการตามผลของการกระทำผิดเท่านั้น ไม่มีการรณรงค์หรือประชาสัมพันธ์ให้ประชาชนเกิดความร่วมมือที่จะไม่ละเมิดลิขสิทธิ์งานภาพยนตร์ และเทคโนโลยีที่ใช้ในการกระทำความผิดเกี่ยวกับอาชญากรรมทางเศรษฐกิจมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วทำให้การป้องกันปราบปรามมีความยากลำบาก และจากการประเมินผลนโยบายการนำนโยบายนี้ไปปฏิบัติไม่มีประสิทธิภาพเท่าที่ควร ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมา หลังจากมีการประกาศใช้ พรบ. ลิขสิทธิ์นี้ การละเมิดลิขสิทธิ์งานภาพยนตร์ เป็นปรากฎการณ์เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ยังไม่มีวิธีการศึกษาในการหาวิธีการแก้ไขปัญหาที่ชัดเจน ถึงแม้ว่ามีการจับกุม ดำเนินคดี หรือการยอมความ แต่ผู้ละเมิดยังมีจำนวนเพิ่มขึ้น เนื่องจาก ผู้นำของรัฐไม่ให้ความสำคัญต่อการละเมิดลิขสิทธิ์เท่าที่ควรจะเป็นในเรื่องการสื่อสาร การสั่งการ ก็ตาม ข้อค้นพบสำคัญในการสร้างองค์ความรู้ คือ ทฤษฎีทางหลักนิติศาสตร์ กับ ทฤษฎีทางรัฐประศาสนศาสตร์ มีความไม่สอดคล้องกันภายใต้การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี ข้อเสนอแนะ ด้านมหภาพ ผู้นำรัฐควรสื่อสารประชาสัมพันธ์ไปยังประชาชนให้เกิดวัฒนธรรมและค่านิยมให้เกิดความร่วมมือที่จะไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ รัฐควรกำหนดอัตราโทษทางอาญาให้เหมาะสมกับลักษณะของการกระทำความผิด เพื่อการแก้ไขปัญหาการใช้โทษทางอาญาเป็นเครื่องมือในการใช้สิทธิโดยมิชอบของเจ้าของลิขสิทธิ์ ควรมีการทบทวนกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับเศรษฐกิจ ซึ่งรวมถึงกฎหมายลิขสิทธิ์อย่างสม่ำเสมอ ควรจัดให้มีการฝึกอบรม เพื่อให้ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายลิขสิทธิ์แก่เจ้าหน้าที่ของรัฐ ในหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการบังคับใช้กฎหมายลิขสิทธิ์ ด้านจุลภาพ ในหน่วยปฏิบัติงานควรมีการรณรงค์ให้ประชาชนทราบถึงความผิดจากการละเมิดลิขสิทธิ์ และในกระบวนการการดำเนินงานให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27771 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000597771 SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-03 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000597805 SIU THE-T: IPAG-DPA-2018-03 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ความเข้าใจพระราชบัญญัติตำรวจแห่งชาติ พ.ศ. 2547 ว่าด้วยวินัยและการดำเนินการทางวินัยของข้าราชการตำรวจ งานสายตรวจ 2 กองกำกับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาล / ปกิต มูลเพ็ญ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2014
Collection Title: SIU IS-T Title : ความเข้าใจพระราชบัญญัติตำรวจแห่งชาติ พ.ศ. 2547 ว่าด้วยวินัยและการดำเนินการทางวินัยของข้าราชการตำรวจ งานสายตรวจ 2 กองกำกับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาล Original title : Understanding of the National Police Act B.E. 2547 on Discipline and Disciplinary Action by Police Officers, Patrol Division 2, Patrol and Special Operation Division, Metropolitan Police Bureau Material Type: printed text Authors: ปกิต มูลเพ็ญ, Author ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name ; กรวิชญ์ บุญส่ง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2014 Pagination: viii, 98 หน้า Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-11
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]Police -- Thailand
[LCSH]ข้าราชการ -- วินัย
[LCSH]ตำรวจ -- ไทย
[LCSH]พระราชบัญญัติตำรวจแห่งชาติKeywords: ความเข้าใจ
พระราชบัญญัติตำรวจแห่งชาติ พ.ศ. 2547
กองกำกับการสายตรวจ กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษAbstract: การศึกษาการค้นคว้าอิสระ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเข้าใจพระราชบัญญัติตำรวจแห่งชาติ พ.ศ. 2547 ว่าด้วยวินัยและการดำเนินการทางวินัยของข้าราชการตำรวจ งานสายตรวจ 2 กองกำกับการสายตรวจ กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาล และนำผลการศึกษาเสนอผู้บังคับบัญชาเป็นแนวทางในการปรับปรุงและเสริมสร้างความเข้าใจ Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26086 SIU IS-T. ความเข้าใจพระราชบัญญัติตำรวจแห่งชาติ พ.ศ. 2547 ว่าด้วยวินัยและการดำเนินการทางวินัยของข้าราชการตำรวจ งานสายตรวจ 2 กองกำกับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาล = Understanding of the National Police Act B.E. 2547 on Discipline and Disciplinary Action by Police Officers, Patrol Division 2, Patrol and Special Operation Division, Metropolitan Police Bureau [printed text] / ปกิต มูลเพ็ญ, Author ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name ; กรวิชญ์ บุญส่ง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014 . - viii, 98 หน้า : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-11
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2014.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]Police -- Thailand
[LCSH]ข้าราชการ -- วินัย
[LCSH]ตำรวจ -- ไทย
[LCSH]พระราชบัญญัติตำรวจแห่งชาติKeywords: ความเข้าใจ
พระราชบัญญัติตำรวจแห่งชาติ พ.ศ. 2547
กองกำกับการสายตรวจ กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษAbstract: การศึกษาการค้นคว้าอิสระ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเข้าใจพระราชบัญญัติตำรวจแห่งชาติ พ.ศ. 2547 ว่าด้วยวินัยและการดำเนินการทางวินัยของข้าราชการตำรวจ งานสายตรวจ 2 กองกำกับการสายตรวจ กองบังคับการสายตรวจและปฏิบัติการพิเศษ กองบัญชาการตำรวจนครบาล และนำผลการศึกษาเสนอผู้บังคับบัญชาเป็นแนวทางในการปรับปรุงและเสริมสร้างความเข้าใจ Curricular : MPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26086 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000506780 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-11 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000506913 SIU IS-T: IPAG-MPA-2014-11 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU IS-T. ผลสัมฤทธิ์ในการป้องกันและแก้ไขปัญหาการขอทานต่างด้าวกัมพูชา ตามพระราชบัญญัติควบคุมการขอทาน พ.ศ. 2559 / สมชาย สาริกบุตร / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : ผลสัมฤทธิ์ในการป้องกันและแก้ไขปัญหาการขอทานต่างด้าวกัมพูชา ตามพระราชบัญญัติควบคุมการขอทาน พ.ศ. 2559 Original title : The Result of Protection and Problem-Solving about Alien’s Cambodian Beggar by Panhandle Control Act, B.E.2559 (2016) Material Type: printed text Authors: สมชาย สาริกบุตร, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: viii, 96 น. Layout: ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-16
Independent Study [MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ขอทาน -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ
[LCSH]พระราชบัญญัติควบคุมการขอทาน พ.ศ. 2559Keywords: ขอทานต่างด้าว,
ขบวนการ,
พระราชบัญญัติควบคุมการขอทาน พ.ศ.2559Abstract: การศึกษาค้นคว้าอิสระเรื่อง “ผลสัมฤทธิ์ในการป้องกันและแก้ไขปัญหาการขอทานต่างด้าวกัมพูชาตาม พระราชบัญญัติควบคุมการขอทาน พ.ศ.2559” เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยมีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาถึงสาเหตุของขอทานต่างด้าวกัมพูชาที่ลักลอบเข้าเมืองมาเพื่อขอทานในประเทศไทย (2) เพื่อศึกษาถึงปัญหาและอุปสรรคในการแก้ไขปัญหาขอทานต่างด้าวกัมพูชาตามพระราชบัญญัติควบคุมการขอทาน พ.ศ.2484 (3) เพื่อศึกษาว่า พระราชบัญญัติควบคุมการขอทาน พ.ศ. 2559 สามารถแก้ไขปัญหาขอทานต่างด้าวกัมพูชาได้หรือไม่ โดยการศึกษาครั้งนี้ใช้วิธีการสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้างหรือการสัมภาษณ์แบบเป็นทางการ (structured interview or formal interview) และข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาโดยการรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ เช่น รายงานการศึกษาวิจัย วิทยานิพนธ์ สารนิพนธ์ เอกสารทางราชการ รวมทั้งข้อมูลจากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ตามเว็บไซต์ต่าง ๆ แล้วนำข้อมูลที่ได้มานำเสนอตามวัตถุประสงค์
ผลการศึกษาพบว่า ด้วยปัญหาทางเศรษฐกิจของประเทศกัมพูชาที่ส่วนใหญ่มีฐานะยากจน จึงทำให้คนกัมพูชาลักลอบเข้ามาขอทานในประเทศไทยจำนวนมาก จากเหตุผลเข้ามาขอทานเพราะมีฐานะยากจน เปลี่ยนเป็นเข้ามาขอทานเป็นอาชีพ มีขบวนการนำคนต่างด้าวกัมพูชาเข้ามาขอทานทั้งที่สมัครใจและโดนบังคับ ก่อให้เกิดปัญหาการค้ามนุษย์ตามมา ด้วยพระราชบัญญัติควบคุมคนขอทาน พ.ศ. 2484 ไม่ได้กำหนดบทลงโทษสำหรับคนที่มาขอทาน โดยเฉพาะคนต่างด้าวเมื่อถูกจับกุมก็ไม่ต้องถูกดำเนินคดีแต่อย่างใด กฎหมายกำหนดเพียงให้ทำการผลักดันกลับประเทศต้นทาง ทำให้คนต่างด้าวไม่เกิดความเกรงกลัวต่อการจับกุมและลักลอบมาขอทานอีก ส่งผลให้ไม่สามารถแก้ปัญหาขอทานต่างด้าวได้ จึงจำเป็นต้องออกกฎหมายพระราชบัญญัติควบคุมการขอทาน พ.ศ. 2559 ให้การขอทานเป็นความผิด มีโทษทั้งจำทั้งปรับ รวมทั้งมีบทลงโทษกับขบวนการที่นำคนต่างด้าวมาขอทาน เมื่อมีการนำกฎหมายมาบังคับใช้กับขอทานต่างด้าวอย่างจริงจังทำให้คนต่างด้าวเกิดความเกรงกลัวไม่กล้าที่จะมาขอทาน
ข้อเสนอแนะจากการวิจัย (1) ควรมีการศึกษาและติดตามผลการปฏิบัติงานตามพระราชบัญญัติ ควบคุมการขอทาน พ.ศ.2559 ว่าสามารถแก้ไขปัญหาขอทานต่างด้าวกัมพูชาได้หรือไม่ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องต้องบูรณาการในการทำงานเชิงรุก กวดขัน และปราบปราม ดำเนินคดีกับผู้ที่มาขอทานหรือผู้ที่เกี่ยวข้อง มีการบังคับใช้กฎหมายอย่างจริงจังและไม่เลือกปฏิบัติ เมื่อมีการบังคับใช้กฎหมายอย่าง จริงจังก็จะทำให้จำนวนขอทานต่างด้าวลดน้อยลงไปได้ในอนาคต (2) ควรมีการศึกษาและประเมินผลสัมฤทธิ์ของพระราชบัญญัติควบคุมการขอทาน พ.ศ. 2559 กับการแก้ปัญหาขอทานต่างด้าวกัมพูชาว่าพฤติการณ์ของขอทานต่างด้าวกัมพูชามีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร และ (3) ควรมีการศึกษาถึงปัจจัยต่าง ๆ ที่ส่งผลให้การแก้ไขปัญหาขอทานต่างด้าวกัมพูชาสัมฤทธิ์ผลตามพระราชบัญญัติควบคุมการขอทาน พ.ศ.2559Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27323 SIU IS-T. ผลสัมฤทธิ์ในการป้องกันและแก้ไขปัญหาการขอทานต่างด้าวกัมพูชา ตามพระราชบัญญัติควบคุมการขอทาน พ.ศ. 2559 = The Result of Protection and Problem-Solving about Alien’s Cambodian Beggar by Panhandle Control Act, B.E.2559 (2016) [printed text] / สมชาย สาริกบุตร, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - viii, 96 น. : ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-16
Independent Study [MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ขอทาน -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ
[LCSH]พระราชบัญญัติควบคุมการขอทาน พ.ศ. 2559Keywords: ขอทานต่างด้าว,
ขบวนการ,
พระราชบัญญัติควบคุมการขอทาน พ.ศ.2559Abstract: การศึกษาค้นคว้าอิสระเรื่อง “ผลสัมฤทธิ์ในการป้องกันและแก้ไขปัญหาการขอทานต่างด้าวกัมพูชาตาม พระราชบัญญัติควบคุมการขอทาน พ.ศ.2559” เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยมีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาถึงสาเหตุของขอทานต่างด้าวกัมพูชาที่ลักลอบเข้าเมืองมาเพื่อขอทานในประเทศไทย (2) เพื่อศึกษาถึงปัญหาและอุปสรรคในการแก้ไขปัญหาขอทานต่างด้าวกัมพูชาตามพระราชบัญญัติควบคุมการขอทาน พ.ศ.2484 (3) เพื่อศึกษาว่า พระราชบัญญัติควบคุมการขอทาน พ.ศ. 2559 สามารถแก้ไขปัญหาขอทานต่างด้าวกัมพูชาได้หรือไม่ โดยการศึกษาครั้งนี้ใช้วิธีการสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้างหรือการสัมภาษณ์แบบเป็นทางการ (structured interview or formal interview) และข้อมูลที่ใช้ในการศึกษาโดยการรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ เช่น รายงานการศึกษาวิจัย วิทยานิพนธ์ สารนิพนธ์ เอกสารทางราชการ รวมทั้งข้อมูลจากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ตามเว็บไซต์ต่าง ๆ แล้วนำข้อมูลที่ได้มานำเสนอตามวัตถุประสงค์
ผลการศึกษาพบว่า ด้วยปัญหาทางเศรษฐกิจของประเทศกัมพูชาที่ส่วนใหญ่มีฐานะยากจน จึงทำให้คนกัมพูชาลักลอบเข้ามาขอทานในประเทศไทยจำนวนมาก จากเหตุผลเข้ามาขอทานเพราะมีฐานะยากจน เปลี่ยนเป็นเข้ามาขอทานเป็นอาชีพ มีขบวนการนำคนต่างด้าวกัมพูชาเข้ามาขอทานทั้งที่สมัครใจและโดนบังคับ ก่อให้เกิดปัญหาการค้ามนุษย์ตามมา ด้วยพระราชบัญญัติควบคุมคนขอทาน พ.ศ. 2484 ไม่ได้กำหนดบทลงโทษสำหรับคนที่มาขอทาน โดยเฉพาะคนต่างด้าวเมื่อถูกจับกุมก็ไม่ต้องถูกดำเนินคดีแต่อย่างใด กฎหมายกำหนดเพียงให้ทำการผลักดันกลับประเทศต้นทาง ทำให้คนต่างด้าวไม่เกิดความเกรงกลัวต่อการจับกุมและลักลอบมาขอทานอีก ส่งผลให้ไม่สามารถแก้ปัญหาขอทานต่างด้าวได้ จึงจำเป็นต้องออกกฎหมายพระราชบัญญัติควบคุมการขอทาน พ.ศ. 2559 ให้การขอทานเป็นความผิด มีโทษทั้งจำทั้งปรับ รวมทั้งมีบทลงโทษกับขบวนการที่นำคนต่างด้าวมาขอทาน เมื่อมีการนำกฎหมายมาบังคับใช้กับขอทานต่างด้าวอย่างจริงจังทำให้คนต่างด้าวเกิดความเกรงกลัวไม่กล้าที่จะมาขอทาน
ข้อเสนอแนะจากการวิจัย (1) ควรมีการศึกษาและติดตามผลการปฏิบัติงานตามพระราชบัญญัติ ควบคุมการขอทาน พ.ศ.2559 ว่าสามารถแก้ไขปัญหาขอทานต่างด้าวกัมพูชาได้หรือไม่ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องต้องบูรณาการในการทำงานเชิงรุก กวดขัน และปราบปราม ดำเนินคดีกับผู้ที่มาขอทานหรือผู้ที่เกี่ยวข้อง มีการบังคับใช้กฎหมายอย่างจริงจังและไม่เลือกปฏิบัติ เมื่อมีการบังคับใช้กฎหมายอย่าง จริงจังก็จะทำให้จำนวนขอทานต่างด้าวลดน้อยลงไปได้ในอนาคต (2) ควรมีการศึกษาและประเมินผลสัมฤทธิ์ของพระราชบัญญัติควบคุมการขอทาน พ.ศ. 2559 กับการแก้ปัญหาขอทานต่างด้าวกัมพูชาว่าพฤติการณ์ของขอทานต่างด้าวกัมพูชามีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างไร และ (3) ควรมีการศึกษาถึงปัจจัยต่าง ๆ ที่ส่งผลให้การแก้ไขปัญหาขอทานต่างด้าวกัมพูชาสัมฤทธิ์ผลตามพระราชบัญญัติควบคุมการขอทาน พ.ศ.2559Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27323 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000595387 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-16 c.1 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000595379 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-16 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available สาระสำคัญของกฎหมายเกี่ยวกับหลักทรัพย์และสัญญาซื้อขายล่วงหน้า / ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย / กรุงเทพฯ : ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย - 2552
Title : สาระสำคัญของกฎหมายเกี่ยวกับหลักทรัพย์และสัญญาซื้อขายล่วงหน้า Material Type: printed text Authors: ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย, Author ; ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. สถาบันกองทุนเพื่อพัฒนาตลาดทุน, Associated Name ; สถาบันกองทุนเพื่อพัฒนาตลาดทุน. ศูนย์ส่งเสริมการพัฒนาความรู้ตลาดทุน, Associated Name Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 1. Publisher: กรุงเทพฯ : ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย Publication Date: 2552 Series: Certified Investment and Securities Analyst Program Pagination: 210 หน้า Layout: ภาพประกอบ, Size: 21 ซม. ISBN (or other code): 978-6-16-722703-0 Price: บริจาค. (240.00) Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]สัญญาซื้อขายล่วงหน้า
[LCSH]สัญญาซื้อขายล่วงหน้า -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ
[LCSH]หลักทรัพย์ -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ -- ไทยKeywords: สัญญาวื้อขายล่วงหน้า.
หลักทรัพย์.
กฎหมายและระเบียบข้อบังคับClass number: HG5750.55 .A3 ส666 2552 Contents note: บทที่ 1: สาระสำคัญของกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์.-- บทที่ 2: สาระสำคัญของกฎหมายว่าด้วยสัญยาซื้อขายล่วงหน้า.-- บทที่ 3: ภาพรวมบทบาทหน้าที่ของสำนักงาน ก.ล.ต. และแนวทางในการกำกับดูแลการประกอบธุรกิจหลักทรัพย์และธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้า.-- บทที่ 4: การกำกับดูแลการออกและเสนอขายหลักทรัพย์ต่อประชาชน.-- บทที่ 5: การกำกับดูแลการเข้าถือหลักทรัพย์เพื่อครอบงำกิจการ.-- บทที่ 6: การกำกับดูแลการกระทำอันไม่เป็นธรรมเกี่ยวกับการซื้อขายหลักทรัพย์และสัญญาซื้อขายล่วงหน้า.-- บทที่ 7: การกำกับดูแลการฟอกเงิน.-- บทที่ 8: การกำกับดูแลการประกอบธุรกิจการเป็นนายหน้าซื้อขายหลักทรัพย์และผู้ค้าหลักทรัพย์.-- บทที่ 9: การกำกับดูแลการประกอบธุรกิจการเป็นผู้จัดจำหน่ายหลักทรัพย์.-- บทที่ 10: การกำกับดูแลการประกอบธุรกิจการเป็นตัวแทนสัญญาซื้อขายล่วงหน้าและผู้ค้าสัญญาซื้อขายล่วงหน้า.-- บทที่ 11: การกำกับดูแลการประกอบธุรกิจการเป็นที่ปรึกษาการลงทุนด้านหลักทรัพย์และสัญญาซื้อขายล่วงหน้า.-- บทที่ 12 การกำกับดูแลการประกอบธุรกิจจัดการกองทุน.-- Curricular : BBA/MBA/MSM/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=17439 สาระสำคัญของกฎหมายเกี่ยวกับหลักทรัพย์และสัญญาซื้อขายล่วงหน้า [printed text] / ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย, Author ; ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. สถาบันกองทุนเพื่อพัฒนาตลาดทุน, Associated Name ; สถาบันกองทุนเพื่อพัฒนาตลาดทุน. ศูนย์ส่งเสริมการพัฒนาความรู้ตลาดทุน, Associated Name . - พิมพ์ครั้งที่ 1. . - , 2552 . - 210 หน้า : ภาพประกอบ, ; 21 ซม.. - (Certified Investment and Securities Analyst Program) .
ISBN : 978-6-16-722703-0 : บริจาค. (240.00)
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]สัญญาซื้อขายล่วงหน้า
[LCSH]สัญญาซื้อขายล่วงหน้า -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ
[LCSH]หลักทรัพย์ -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ -- ไทยKeywords: สัญญาวื้อขายล่วงหน้า.
หลักทรัพย์.
กฎหมายและระเบียบข้อบังคับClass number: HG5750.55 .A3 ส666 2552 Contents note: บทที่ 1: สาระสำคัญของกฎหมายว่าด้วยหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์.-- บทที่ 2: สาระสำคัญของกฎหมายว่าด้วยสัญยาซื้อขายล่วงหน้า.-- บทที่ 3: ภาพรวมบทบาทหน้าที่ของสำนักงาน ก.ล.ต. และแนวทางในการกำกับดูแลการประกอบธุรกิจหลักทรัพย์และธุรกิจสัญญาซื้อขายล่วงหน้า.-- บทที่ 4: การกำกับดูแลการออกและเสนอขายหลักทรัพย์ต่อประชาชน.-- บทที่ 5: การกำกับดูแลการเข้าถือหลักทรัพย์เพื่อครอบงำกิจการ.-- บทที่ 6: การกำกับดูแลการกระทำอันไม่เป็นธรรมเกี่ยวกับการซื้อขายหลักทรัพย์และสัญญาซื้อขายล่วงหน้า.-- บทที่ 7: การกำกับดูแลการฟอกเงิน.-- บทที่ 8: การกำกับดูแลการประกอบธุรกิจการเป็นนายหน้าซื้อขายหลักทรัพย์และผู้ค้าหลักทรัพย์.-- บทที่ 9: การกำกับดูแลการประกอบธุรกิจการเป็นผู้จัดจำหน่ายหลักทรัพย์.-- บทที่ 10: การกำกับดูแลการประกอบธุรกิจการเป็นตัวแทนสัญญาซื้อขายล่วงหน้าและผู้ค้าสัญญาซื้อขายล่วงหน้า.-- บทที่ 11: การกำกับดูแลการประกอบธุรกิจการเป็นที่ปรึกษาการลงทุนด้านหลักทรัพย์และสัญญาซื้อขายล่วงหน้า.-- บทที่ 12 การกำกับดูแลการประกอบธุรกิจจัดการกองทุน.-- Curricular : BBA/MBA/MSM/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=17439 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000277267 HG5750.55.A3 ส666 2552 c.1 Book Graduate Library SET Corner Available 32002000277069 HG5750.55.A3 ส666 2552 c.2 Book Main Library SET Corner Available 32002000397594 HG5750.55.A3 ส666 2552 c.3 Book Main Library SET Corner Available