From this page you can:
Home |
Search results
3 result(s) search for keyword(s) 'ตลาดหลักทรัพย์'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
ความสัมพันธ์ดุลยภาพระยะยาวของตลาดทุนในประเทศสมาชิกอาเซียน 5 / ชาญณรงค์ ชัยพัฒน์ in Applied economics journal, Vol.21 No.1 (Jun) 2014 ([10/09/2014])
[article]
Title : ความสัมพันธ์ดุลยภาพระยะยาวของตลาดทุนในประเทศสมาชิกอาเซียน 5 Original title : Cointegration of capital markers in ASEAN-5 countries Material Type: printed text Authors: ชาญณรงค์ ชัยพัฒน์, Author Publication Date: 2014 Article on page: p.42-58 Languages : English (eng) Original Language : Thai (tha)
in Applied economics journal > Vol.21 No.1 (Jun) 2014 [10/09/2014] . - p.42-58Keywords: ตลาดหลักทรัพย์อาเซียน.ตลาดทุน.ความสัมพันธ์ดุลยภาพระยะยาว.ปฎิกิริยาตอบสนองต่อความแปรปรวน Abstract: การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจเป็นแนวโน้มที่กำลังเกิดขึ้นทั่วโลก การรวมกลุ่มของประชาคม อาเซียนจะเกิดขึ้นในปี พ.ศ.2558 จัดเป็นการรวมกลุ่มทางทางเศรษฐกิจในระดับที่ 3 คือ ตลาดร่วม ประเทศสมาชิกอาเซียนสามารถเคลื่อนย้ายปัจจัยการผลิต สินค้า บริการ และแรงงาน ได้อย่างเสรี ภายในกลุ่ม ตามทฤษฎีอาณาเขตเงินตราที่เหมาะสม กล่าวว่าประเทศที่มีการรวมกลุ่มกันนั้นจะต้อง มีความสอดคล้องเชื่อมโยงกันของตัวแปรทางเศรษฐกิจ บทความนี้ จึงต้องการศึกษาถึงความเชื่อมโยง เกี่ยวเนื่องกันของตัวแปรในภาคตลาดทุนของอาเซียน โดยใช้ข้อมูลดัชนีราคาตลาดหลักทรัพย์ของ ประเทศสมาชิกอาเซียน จำนวน 5 ประเทศ ตั้งแต่วันที่ 4 มกราคม พ.ศ.2553 ถึง 31 ตุลาคม พ.ศ.2556 และ วิเคราะห์โดยการหาความสัมพันธ์ดุลยภาพระยะยาว ต่อจากนั้นจะวิเคราะห์ปฏิกิริยาตอบสนองต่อ ความแปรปรวน ผลการศึกษาพบว่า ดัชนีราคาตลาดหลักทรัพย์ของประเทศสมาชิกอาเซียน ได้แก่ ประเทศอินโดนีเซีย ประเทศมาเลเซีย ประเทศฟิลิปปินส์ ประเทศสิงคโปร์ และ ประเทศไทย มีความ สัมพันธ์ดุลยภาพระยะยาว นอกจากนี้เมื่อวิเคราะห์การตอบสนองของดัชนีราคาตลาดหลักทรัพย์ใน ประเทศสมาชิกอาเซียนพบว่ามีความสอดคล้องเชื่อมโยงในทิศทางเดียวกัน การศึกษานี้สนับสนุน ความเป็นไปได้ในการจัดตั้งตลาดหลักทรัพย์อาเซียน เพื่อเป็นแหล่งระดมเงินทุนให้แก่ภาคธุรกิจต่างๆ ในประเทศสมาชิกอาเซียน และยกระดับตลาดหลักทรัพย์ของประเทศสมาชิกอาเซียนให้สามารถ แข่งขันในระดับนานาชาติ Link for e-copy: http://www.journal.eco.ku.ac.th/ Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24022 [article] ความสัมพันธ์ดุลยภาพระยะยาวของตลาดทุนในประเทศสมาชิกอาเซียน 5 = Cointegration of capital markers in ASEAN-5 countries [printed text] / ชาญณรงค์ ชัยพัฒน์, Author . - 2014 . - p.42-58.
Languages : English (eng) Original Language : Thai (tha)
in Applied economics journal > Vol.21 No.1 (Jun) 2014 [10/09/2014] . - p.42-58Keywords: ตลาดหลักทรัพย์อาเซียน.ตลาดทุน.ความสัมพันธ์ดุลยภาพระยะยาว.ปฎิกิริยาตอบสนองต่อความแปรปรวน Abstract: การรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจเป็นแนวโน้มที่กำลังเกิดขึ้นทั่วโลก การรวมกลุ่มของประชาคม อาเซียนจะเกิดขึ้นในปี พ.ศ.2558 จัดเป็นการรวมกลุ่มทางทางเศรษฐกิจในระดับที่ 3 คือ ตลาดร่วม ประเทศสมาชิกอาเซียนสามารถเคลื่อนย้ายปัจจัยการผลิต สินค้า บริการ และแรงงาน ได้อย่างเสรี ภายในกลุ่ม ตามทฤษฎีอาณาเขตเงินตราที่เหมาะสม กล่าวว่าประเทศที่มีการรวมกลุ่มกันนั้นจะต้อง มีความสอดคล้องเชื่อมโยงกันของตัวแปรทางเศรษฐกิจ บทความนี้ จึงต้องการศึกษาถึงความเชื่อมโยง เกี่ยวเนื่องกันของตัวแปรในภาคตลาดทุนของอาเซียน โดยใช้ข้อมูลดัชนีราคาตลาดหลักทรัพย์ของ ประเทศสมาชิกอาเซียน จำนวน 5 ประเทศ ตั้งแต่วันที่ 4 มกราคม พ.ศ.2553 ถึง 31 ตุลาคม พ.ศ.2556 และ วิเคราะห์โดยการหาความสัมพันธ์ดุลยภาพระยะยาว ต่อจากนั้นจะวิเคราะห์ปฏิกิริยาตอบสนองต่อ ความแปรปรวน ผลการศึกษาพบว่า ดัชนีราคาตลาดหลักทรัพย์ของประเทศสมาชิกอาเซียน ได้แก่ ประเทศอินโดนีเซีย ประเทศมาเลเซีย ประเทศฟิลิปปินส์ ประเทศสิงคโปร์ และ ประเทศไทย มีความ สัมพันธ์ดุลยภาพระยะยาว นอกจากนี้เมื่อวิเคราะห์การตอบสนองของดัชนีราคาตลาดหลักทรัพย์ใน ประเทศสมาชิกอาเซียนพบว่ามีความสอดคล้องเชื่อมโยงในทิศทางเดียวกัน การศึกษานี้สนับสนุน ความเป็นไปได้ในการจัดตั้งตลาดหลักทรัพย์อาเซียน เพื่อเป็นแหล่งระดมเงินทุนให้แก่ภาคธุรกิจต่างๆ ในประเทศสมาชิกอาเซียน และยกระดับตลาดหลักทรัพย์ของประเทศสมาชิกอาเซียนให้สามารถ แข่งขันในระดับนานาชาติ Link for e-copy: http://www.journal.eco.ku.ac.th/ Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24022 โตแล้วแบ่งกันรวย / สุวภา เจริญยิ่ง / กรุงเทพฯ : ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย - 2547
Title : โตแล้วแบ่งกันรวย : บันไดสู่ความมั่งคั่ง (3) / Material Type: printed text Authors: สุวภา เจริญยิ่ง ; ยุทธ วรฉัตรธาร ; สุธีพนาวร ; ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย Edition statement: พิมพ์ครั้งแรก Publisher: กรุงเทพฯ : ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย Publication Date: 2547 Pagination: 193 หน้า Layout: ภาพประกอบ ISBN (or other code): 978-974-272-819-9 Price: 180.00 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การจัดการธุรกิจ
[LCSH]การบริหารธุรกิจ
[LCSH]ตลาดหลักทรัพย์Keywords: ตลาดหลักทรัพย์ Class number: HD37.T5 Abstract: Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=20804 โตแล้วแบ่งกันรวย : บันไดสู่ความมั่งคั่ง (3) / [printed text] / สุวภา เจริญยิ่ง ; ยุทธ วรฉัตรธาร ; สุธีพนาวร ; ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย . - พิมพ์ครั้งแรก . - กรุงเทพฯ : ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย, 2547 . - 193 หน้า : ภาพประกอบ.
ISBN : 978-974-272-819-9 : 180.00
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การจัดการธุรกิจ
[LCSH]การบริหารธุรกิจ
[LCSH]ตลาดหลักทรัพย์Keywords: ตลาดหลักทรัพย์ Class number: HD37.T5 Abstract: Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=20804 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000324754 HD37.T5 ส864 2547 Book Graduate Library General Shelf Available SIU THE-T. ปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย / ปริตภา รุ่งเรืองกุล / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2018
Collection Title: SIU THE-T Title : ปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย Original title : Factors Affecting Human Resource Development of Real Estate Companies Listed in the Stock Exchange of Thailand Material Type: printed text Authors: ปริตภา รุ่งเรืองกุล, Author ; วิไลพร เลาหโกศล, Associated Name ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2018 Pagination: xvi, 162 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: SOM-DBA-2018-04
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2561Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
[LCSH]ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์Keywords: การบริหารทรัพยากรมนุษย์,
ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์,
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 2) เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ 3) เพื่อศึกษาข้อมูลเบื้องต้นในการปรับปรุงการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในธุรกิจอสังหาริมทรัพย์และเป็นฐานความรู้ใหม่ๆ ทางวิชาการแก่ผู้สนใจศึกษานำไปอ้างอิงต่อยอดความรู้ให้เกิดประโยชน์ หรือเป็นพื้นฐานการศึกษาเปรียบเทียบกับบริษัทอสังหาริมทรัพย์ที่ไม่ได้จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ รวมทั้งสถาบันการศึกษา หน่วยงานราชการและบริษัทเอกชนที่เกี่ยวข้องกับการกำหนดนโยบายด้านทรัพยากรมนุษย์ ผู้วิจัยได้ออกแบบการวิจัยเป็นแบบผสม (Mix Method) ประกอบด้วยการวิจัยเชิงคุณภาพ (qualitative research) และการวิจัยเชิงปริมาณ (quantitative research) โดยใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นหัวหน้างาน และพนักงานในระดับปฏิบัติการ จำนวน 450 คน ด้วยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง และใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว One – Way Analysis of Variance (One – Way ANOVA) และการวิเคราะห์ความถดถอยเชิงพหุคูณ (Multiple Regression Analysis) ในการทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร และยอมรับสมมติฐานที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 ร่วมกับการวิจัยเชิงคุณภาพ จากการสัมภาษณ์เชิงลึกผู้เชี่ยวชาญที่เกี่ยวข้องในธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์
ผลการวิจัยพบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุ 31-35 ปี มีสถานภาพโสด การศึกษาระดับปริญญาตรี ตำแหน่งพนักงานระดับปฏิบัติการ มีอายุการทำงาน 7-9 ปี มีประสบการณ์การทำงานมากกว่า 9 ปีขึ้นไป เงินเดือนหรือค่าตอบแทนต่อเดือน 15,000 – 20,000 บาท ผลการวิจัยยังพบความสัมพันธ์ระหว่างการจัดการองค์กร ประกอบด้วย อัตราการคงอยู่มีความสัมพันธ์กับภาวะผู้นำของผู้บริหารและระบบ/มาตรการขององค์กร นอกจากนี้ขวัญและกำลังใจมีความสัมพันธ์กับวิสัยทัศน์/พันธกิจและระบบ/มาตรการขององค์กร และการตอบสนองนโยบายมีความสัมพันธ์กับกลยุทธ์/นโยบาย, แนวความคิด, วิสัยทัศน์/พันธกิจ, ภาวะผู้นำของผู้บริหาร และระบบ/มาตรการขององค์กร ในส่วนความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยภายใน ประกอบด้วย อัตราการคงอยู่มีความสัมพันธ์กับเป้าหมายในชีวิตของพนักงานและสัญญาจ้าง(ลักษณะการจ้างงาน) ส่วนขวัญและกำลังใจมีความสัมพันธ์กับวัฒนธรรมองค์กร และการตอบสนองนโยบายมีความสัมพันธ์กับเป้าหมายในชีวิต, วัฒนธรรมองค์กร และสัญญาจ้าง(ลักษณะการจ้างงาน) นอกจากนี้ยังพบความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยภายนอก ประกอบด้วย อัตราการคงอยู่มีความสัมพันธ์กับการเติบโตด้านเศรษฐกิจ, แนวโน้มทางการตลาด, การแข่งขัน และจำนวนประชากร ขวัญและกำลังใจมีความสัมพันธ์กับการเติบโตด้านเศรษฐกิจ, การแข่งขัน และจำนวนประชากร และการตอบสนองนโยบายมีความสัมพันธ์กับแนวโน้มทางการตลาดและการแข่งขัน กับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05 รวมทั้งจากการสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญที่เกี่ยวข้องในธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์มีความคิดเห็นไปในทิศทางเดียวกับผู้ตอบแบบสอบถาม โดยฝ่ายบริหารได้รับทราบ และให้ความสำคัญในการวางนโยบายและกลยุทธ์เพื่อสนองตอบความคาดหวังของพนักงานในเรื่องหลักอยู่แล้ว เนื่องจากแนวโน้มและทิศทางการตลาดอุตสาหกรรมนี้ รวมทั้งนโยบายของรัฐบาลทำให้ฝ่ายบริหารต้องปรับนโยบายให้ตอบสนองการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอCurricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27839 SIU THE-T. ปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ของธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย = Factors Affecting Human Resource Development of Real Estate Companies Listed in the Stock Exchange of Thailand [printed text] / ปริตภา รุ่งเรืองกุล, Author ; วิไลพร เลาหโกศล, Associated Name ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2018 . - xvi, 162 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: SOM-DBA-2018-04
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2561
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
[LCSH]ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์Keywords: การบริหารทรัพยากรมนุษย์,
ธุรกิจอสังหาริมทรัพย์,
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย 2) เพื่อศึกษาแนวทางการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ 3) เพื่อศึกษาข้อมูลเบื้องต้นในการปรับปรุงการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในธุรกิจอสังหาริมทรัพย์และเป็นฐานความรู้ใหม่ๆ ทางวิชาการแก่ผู้สนใจศึกษานำไปอ้างอิงต่อยอดความรู้ให้เกิดประโยชน์ หรือเป็นพื้นฐานการศึกษาเปรียบเทียบกับบริษัทอสังหาริมทรัพย์ที่ไม่ได้จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ รวมทั้งสถาบันการศึกษา หน่วยงานราชการและบริษัทเอกชนที่เกี่ยวข้องกับการกำหนดนโยบายด้านทรัพยากรมนุษย์ ผู้วิจัยได้ออกแบบการวิจัยเป็นแบบผสม (Mix Method) ประกอบด้วยการวิจัยเชิงคุณภาพ (qualitative research) และการวิจัยเชิงปริมาณ (quantitative research) โดยใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นหัวหน้างาน และพนักงานในระดับปฏิบัติการ จำนวน 450 คน ด้วยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง และใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว One – Way Analysis of Variance (One – Way ANOVA) และการวิเคราะห์ความถดถอยเชิงพหุคูณ (Multiple Regression Analysis) ในการทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปร และยอมรับสมมติฐานที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 ร่วมกับการวิจัยเชิงคุณภาพ จากการสัมภาษณ์เชิงลึกผู้เชี่ยวชาญที่เกี่ยวข้องในธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์
ผลการวิจัยพบว่าผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง มีอายุ 31-35 ปี มีสถานภาพโสด การศึกษาระดับปริญญาตรี ตำแหน่งพนักงานระดับปฏิบัติการ มีอายุการทำงาน 7-9 ปี มีประสบการณ์การทำงานมากกว่า 9 ปีขึ้นไป เงินเดือนหรือค่าตอบแทนต่อเดือน 15,000 – 20,000 บาท ผลการวิจัยยังพบความสัมพันธ์ระหว่างการจัดการองค์กร ประกอบด้วย อัตราการคงอยู่มีความสัมพันธ์กับภาวะผู้นำของผู้บริหารและระบบ/มาตรการขององค์กร นอกจากนี้ขวัญและกำลังใจมีความสัมพันธ์กับวิสัยทัศน์/พันธกิจและระบบ/มาตรการขององค์กร และการตอบสนองนโยบายมีความสัมพันธ์กับกลยุทธ์/นโยบาย, แนวความคิด, วิสัยทัศน์/พันธกิจ, ภาวะผู้นำของผู้บริหาร และระบบ/มาตรการขององค์กร ในส่วนความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยภายใน ประกอบด้วย อัตราการคงอยู่มีความสัมพันธ์กับเป้าหมายในชีวิตของพนักงานและสัญญาจ้าง(ลักษณะการจ้างงาน) ส่วนขวัญและกำลังใจมีความสัมพันธ์กับวัฒนธรรมองค์กร และการตอบสนองนโยบายมีความสัมพันธ์กับเป้าหมายในชีวิต, วัฒนธรรมองค์กร และสัญญาจ้าง(ลักษณะการจ้างงาน) นอกจากนี้ยังพบความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยภายนอก ประกอบด้วย อัตราการคงอยู่มีความสัมพันธ์กับการเติบโตด้านเศรษฐกิจ, แนวโน้มทางการตลาด, การแข่งขัน และจำนวนประชากร ขวัญและกำลังใจมีความสัมพันธ์กับการเติบโตด้านเศรษฐกิจ, การแข่งขัน และจำนวนประชากร และการตอบสนองนโยบายมีความสัมพันธ์กับแนวโน้มทางการตลาดและการแข่งขัน กับการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เพื่อธุรกิจอสังหาริมทรัพย์ในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05 รวมทั้งจากการสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญที่เกี่ยวข้องในธุรกิจพัฒนาอสังหาริมทรัพย์มีความคิดเห็นไปในทิศทางเดียวกับผู้ตอบแบบสอบถาม โดยฝ่ายบริหารได้รับทราบ และให้ความสำคัญในการวางนโยบายและกลยุทธ์เพื่อสนองตอบความคาดหวังของพนักงานในเรื่องหลักอยู่แล้ว เนื่องจากแนวโน้มและทิศทางการตลาดอุตสาหกรรมนี้ รวมทั้งนโยบายของรัฐบาลทำให้ฝ่ายบริหารต้องปรับนโยบายให้ตอบสนองการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอCurricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27839 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000598241 SIU THE-T: SOM-DBA-2018-04 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000598217 SIU THE-T: SOM-DBA-2018-04 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available