From this page you can:
Home |
Search results
2 result(s) search for keyword(s) 'คำสำคัญ แผนพัฒนาการท่องเที่ยว. การปฏิบัติตามยุทธศาสตร์. เมืองพัทยา.'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
SIU THE-T. ปัจจัยที่อธิบายความพร้อมของหน่วยงานหลักในการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์ของแผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ พ.ศ. 2555–2559 เพื่อพัฒนาการท่องเที่ยวเมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี / วันชัย จึงวิบูลย์สถิตย์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU THE-T Title : ปัจจัยที่อธิบายความพร้อมของหน่วยงานหลักในการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์ของแผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ พ.ศ. 2555–2559 เพื่อพัฒนาการท่องเที่ยวเมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี Original title : Factors Illustrating the Readiness of Core Organizations Performing along the Strategies of 2012–2016 National Tourism Plan for Developing Tourism of Pattaya City, Chonburi Material Type: printed text Authors: วันชัย จึงวิบูลย์สถิตย์, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: xv, 236 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2017-04
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ยุทธศาสตร์
[LCSH]แผนพัฒนาการท่องเที่ยว -- ชลบุรี -- พัทยาKeywords: คำสำคัญ แผนพัฒนาการท่องเที่ยว.
การปฏิบัติตามยุทธศาสตร์.
เมืองพัทยา.Abstract: การท่องเที่ยวนับว่าเป็นสินค้าประเภทหนึ่ง ที่สามารถทำรายได้อย่างมหาศาลให้กับประเทศ เนื่องจากเป็นสินค้าที่ลงทุนต่ำแต่ได้ผลกำไรสูง ดังที่หลาย ๆ ประเทศต่างหันมาให้ความสำคัญกับการพัฒนาการท่องเที่ยวของตน และทำให้เศรษฐกิจของประเทศดีขึ้นอย่างรวดเร็ว แม้ในขณะที่ภาวะเศรษฐกิจโลกตกต่ำอยู่ก็ตาม ประเทศไทยมีแหล่งท่องเที่ยวที่สวยงามและมีชื่อเสียงระดับโลกไม่แพ้ประเทศใด เช่น ภูเก็ต เชียงใหม่ พัทยา ฯลฯ เป็นต้น โดยศักยภาพของแหล่งท่องเที่ยวเหล่านี้น่าจะทำรายได้เพิ่มขึ้นจากที่เป็นอยู่ รัฐบาลจึงออกพระราชกฤษฎีกากำหนดแผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ พ.ศ. 2555-2559 ขึ้น และในแผนนี้ได้กำหนดยุทธศาสตร์การปฏิบัติงานที่เน้นการร่วมมือระหว่างหน่วยงานภาครัฐผนวกกับภาคเอกชนในการขับเคลื่อนแผนนี้เพื่อกระตุ้นให้การท่องเที่ยวในภาพรวมพัฒนาไปในทิศทางที่ดีขึ้นอย่างรวดเร็ว อย่างไรก็ตามการนำนโยบายต่าง ๆ ไปปฏิบัติของหน่วยงานภาครัฐมักมีปัญหาในด้านความล่าช้า ความไม่มีประสิทธิภาพ หรือล้มเหลว การศึกษาครั้งนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อมุ่ง (1) ศึกษาระดับความพร้อมของหน่วยงานหลักที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์ แผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ พ.ศ. 2555 -2559 เพื่อพัฒนาการท่องเที่ยวเมืองพัทยา (2) ศึกษาระดับผลการพัฒนาการท่องเที่ยวเมืองพัทยา ที่เกิดจากการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์ของแผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ พ.ศ. 2555 -2559 (3) เพื่อหาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์ของแผน และ 4) เพื่อหาแนวทางในการพัฒนาการท่องเที่ยวซึ่งเหมาะสมกับพื้นที่ของเมืองพัทยา ซึ่งข้อมูลที่ได้จะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาการท่องเที่ยวให้มีศักยภาพสูงขึ้นและสามารถทำรายได้ให้กับประเทศสูงขึ้น กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ได้จากการกำหนดโควตา สำหรับตัวแทนหน่วยงานหลักภาครัฐ จำนวน 115 หน่วย การสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงจากภาครัฐ และเอกชน ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์ของแผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ พ.ศ. 2555-2559 โดยกำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างที่ระดับความเชื่อมั่น 95% จำนวน 276 คน/หน่วย รวม 391 คน/หน่วย เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาวิจัยเชิงปริมาณเป็นแบบสอบถามมาตรประเมินค่ามีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.947 และค่าความเที่ยงตรงเท่ากับ 0.95 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ ส่วนเครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาเชิงคุณภาพเป็นการสัมภาษณ์เชิงลึกแบบมีโครงสร้าง
ผลการศึกษา พบว่า (1) ระดับความพร้อมของหน่วยงานหลักที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์ แผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ พ.ศ. 2555 -2559 เพื่อพัฒนาการท่องเที่ยวเมืองพัทยาอยู่ในระดับมีความพร้อมมาก (2) ระดับผลการพัฒนาการท่องเที่ยวเมืองพัทยา ที่เกิดจากการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์ของแผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ พ.ศ. 2555-2559 อยู่ในระดับสูง (3) ตัวแปรอิสระด้านการเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง การสื่อสารภายในองค์การและระหว่างองค์การ ความสามารถของหน่วยงาน/องค์การ ความร่วมมือระหว่างหน่วยงาน/องค์การ ความพอเพียงของทรัพยากรของหน่วยงาน/องค์การ และการติดตามและประเมินผลของหน่วยงาน/องค์การ มีความสัมพันธ์กับตัวแปรตาม ด้านการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและสิ่งอำนวยความสะดวกเพื่อการท่องเที่ยว การพัฒนาและฟื้นฟูแหล่งท่องเที่ยวให้เกิดความยั่งยืน การพัฒนาสินค้าบริการและปัจจัยสนับสนุนการท่องเที่ยว การส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมของภาครัฐภาคประชาชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการบริหารจัดการทรัพยากรการท่องเที่ยว การสร้างความเชื่อมั่นและส่งเสริมการท่องเที่ยว และการส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมของภาครัฐ ภาคประชาชน ในการบริหารทรัพยากรการท่องเที่ยว ไปในทิศทางเดียวกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (4) ตัวแปรอิสระทุกตัวมีอิทธิพลต่อตัวแปรตาม โดยเรียงลำดับจากมากที่สุดไปหาน้อยที่สุดดังนี้ การสื่อสารภายในองค์การและระหว่างองค์การ การเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง ความร่วมมือระหว่างองค์การ ความพอเพียงของทรัพยากรของหน่วยงาน/องค์การ การติดตามและประเมินผลของหน่วยงาน/องค์การ และความสามารถของหน่วยงาน/องค์การ ส่วนผลจากการสัมภาษณ์เชิงลึกพบว่าผู้ให้ข้อมูลสำคัญ ให้ความเห็นว่าหน่วยงานหลักที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์ แผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ พ.ศ. 2555-2559 เพื่อพัฒนาการท่องเที่ยวเมืองพัทยามีความพร้อมในการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์ ส่วนผลการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์ ของแผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ พ.ศ. 2555-2559 อยู่ในระดับน่าพึงพอใจเช่นกัน
การวิจัยครั้งนี้ มีข้อเสนอแนะดังนี้ ต้องรีบดำเนินการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานอย่างเร่งด่วน เนื่องจากมีผลกระทบโดยตรงกับการท่องเที่ยว ต้องมีการวางแผนสำรวจแหล่งท่องเที่ยวที่เสื่อมโทรมเพื่อรีบฟื้นฟูให้กลับสภาพเดิมโดยเร็ว ทั้งนี้เพื่อรักษาภาพของการเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงระดับโลก ให้พิจารณาเรื่องความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของนักท่องเที่ยวเป็นประเด็นสำคัญ เนื่องจากจะมีผลกระทบเชิงลบอย่างมากถ้านักท่องเที่ยวถูกทำร้าย หรือถูกประทุษร้ายต่อทรัพย์สินบ่อย ๆ ให้มีการอบรมบุคลากรเกี่ยวกับการประเมินผลการปฏิบัติงาน ให้มีความ สามารถประเมินหน่วยงานของตนเองและหน่วยงานอื่นที่ร่วมกันปฏิบัติงาน และการจัดสรรงบประมาณเพื่อปฏิบัติงานพัฒนาการท่องเที่ยวควรจัดไว้เป็นการเฉพาะ เนื่องจากหน่วยงานแต่ละหน่วยงานก็มีเรื่องใช้งบประมาณของตนเอง หรืออีกกรณีหนึ่งคือให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาการท่องเที่ยวตั้งงบประมาณในหน่วยของตนเองเพื่อปฏิบัติงานการพัฒนาการท่องเที่ยวCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27506 SIU THE-T. ปัจจัยที่อธิบายความพร้อมของหน่วยงานหลักในการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์ของแผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ พ.ศ. 2555–2559 เพื่อพัฒนาการท่องเที่ยวเมืองพัทยา จังหวัดชลบุรี = Factors Illustrating the Readiness of Core Organizations Performing along the Strategies of 2012–2016 National Tourism Plan for Developing Tourism of Pattaya City, Chonburi [printed text] / วันชัย จึงวิบูลย์สถิตย์, Author ; วรเดช จันทรศร, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - xv, 236 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00
SIU THE-T: IPAG-DPA-2017-04
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ยุทธศาสตร์
[LCSH]แผนพัฒนาการท่องเที่ยว -- ชลบุรี -- พัทยาKeywords: คำสำคัญ แผนพัฒนาการท่องเที่ยว.
การปฏิบัติตามยุทธศาสตร์.
เมืองพัทยา.Abstract: การท่องเที่ยวนับว่าเป็นสินค้าประเภทหนึ่ง ที่สามารถทำรายได้อย่างมหาศาลให้กับประเทศ เนื่องจากเป็นสินค้าที่ลงทุนต่ำแต่ได้ผลกำไรสูง ดังที่หลาย ๆ ประเทศต่างหันมาให้ความสำคัญกับการพัฒนาการท่องเที่ยวของตน และทำให้เศรษฐกิจของประเทศดีขึ้นอย่างรวดเร็ว แม้ในขณะที่ภาวะเศรษฐกิจโลกตกต่ำอยู่ก็ตาม ประเทศไทยมีแหล่งท่องเที่ยวที่สวยงามและมีชื่อเสียงระดับโลกไม่แพ้ประเทศใด เช่น ภูเก็ต เชียงใหม่ พัทยา ฯลฯ เป็นต้น โดยศักยภาพของแหล่งท่องเที่ยวเหล่านี้น่าจะทำรายได้เพิ่มขึ้นจากที่เป็นอยู่ รัฐบาลจึงออกพระราชกฤษฎีกากำหนดแผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ พ.ศ. 2555-2559 ขึ้น และในแผนนี้ได้กำหนดยุทธศาสตร์การปฏิบัติงานที่เน้นการร่วมมือระหว่างหน่วยงานภาครัฐผนวกกับภาคเอกชนในการขับเคลื่อนแผนนี้เพื่อกระตุ้นให้การท่องเที่ยวในภาพรวมพัฒนาไปในทิศทางที่ดีขึ้นอย่างรวดเร็ว อย่างไรก็ตามการนำนโยบายต่าง ๆ ไปปฏิบัติของหน่วยงานภาครัฐมักมีปัญหาในด้านความล่าช้า ความไม่มีประสิทธิภาพ หรือล้มเหลว การศึกษาครั้งนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อมุ่ง (1) ศึกษาระดับความพร้อมของหน่วยงานหลักที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์ แผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ พ.ศ. 2555 -2559 เพื่อพัฒนาการท่องเที่ยวเมืองพัทยา (2) ศึกษาระดับผลการพัฒนาการท่องเที่ยวเมืองพัทยา ที่เกิดจากการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์ของแผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ พ.ศ. 2555 -2559 (3) เพื่อหาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์ของแผน และ 4) เพื่อหาแนวทางในการพัฒนาการท่องเที่ยวซึ่งเหมาะสมกับพื้นที่ของเมืองพัทยา ซึ่งข้อมูลที่ได้จะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาการท่องเที่ยวให้มีศักยภาพสูงขึ้นและสามารถทำรายได้ให้กับประเทศสูงขึ้น กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาวิจัยครั้งนี้ได้จากการกำหนดโควตา สำหรับตัวแทนหน่วยงานหลักภาครัฐ จำนวน 115 หน่วย การสุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงจากภาครัฐ และเอกชน ที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์ของแผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ พ.ศ. 2555-2559 โดยกำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างที่ระดับความเชื่อมั่น 95% จำนวน 276 คน/หน่วย รวม 391 คน/หน่วย เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาวิจัยเชิงปริมาณเป็นแบบสอบถามมาตรประเมินค่ามีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ 0.947 และค่าความเที่ยงตรงเท่ากับ 0.95 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ ส่วนเครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาเชิงคุณภาพเป็นการสัมภาษณ์เชิงลึกแบบมีโครงสร้าง
ผลการศึกษา พบว่า (1) ระดับความพร้อมของหน่วยงานหลักที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์ แผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ พ.ศ. 2555 -2559 เพื่อพัฒนาการท่องเที่ยวเมืองพัทยาอยู่ในระดับมีความพร้อมมาก (2) ระดับผลการพัฒนาการท่องเที่ยวเมืองพัทยา ที่เกิดจากการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์ของแผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ พ.ศ. 2555-2559 อยู่ในระดับสูง (3) ตัวแปรอิสระด้านการเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง การสื่อสารภายในองค์การและระหว่างองค์การ ความสามารถของหน่วยงาน/องค์การ ความร่วมมือระหว่างหน่วยงาน/องค์การ ความพอเพียงของทรัพยากรของหน่วยงาน/องค์การ และการติดตามและประเมินผลของหน่วยงาน/องค์การ มีความสัมพันธ์กับตัวแปรตาม ด้านการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและสิ่งอำนวยความสะดวกเพื่อการท่องเที่ยว การพัฒนาและฟื้นฟูแหล่งท่องเที่ยวให้เกิดความยั่งยืน การพัฒนาสินค้าบริการและปัจจัยสนับสนุนการท่องเที่ยว การส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมของภาครัฐภาคประชาชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการบริหารจัดการทรัพยากรการท่องเที่ยว การสร้างความเชื่อมั่นและส่งเสริมการท่องเที่ยว และการส่งเสริมกระบวนการมีส่วนร่วมของภาครัฐ ภาคประชาชน ในการบริหารทรัพยากรการท่องเที่ยว ไปในทิศทางเดียวกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (4) ตัวแปรอิสระทุกตัวมีอิทธิพลต่อตัวแปรตาม โดยเรียงลำดับจากมากที่สุดไปหาน้อยที่สุดดังนี้ การสื่อสารภายในองค์การและระหว่างองค์การ การเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลง ความร่วมมือระหว่างองค์การ ความพอเพียงของทรัพยากรของหน่วยงาน/องค์การ การติดตามและประเมินผลของหน่วยงาน/องค์การ และความสามารถของหน่วยงาน/องค์การ ส่วนผลจากการสัมภาษณ์เชิงลึกพบว่าผู้ให้ข้อมูลสำคัญ ให้ความเห็นว่าหน่วยงานหลักที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์ แผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ พ.ศ. 2555-2559 เพื่อพัฒนาการท่องเที่ยวเมืองพัทยามีความพร้อมในการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์ ส่วนผลการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์ ของแผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ พ.ศ. 2555-2559 อยู่ในระดับน่าพึงพอใจเช่นกัน
การวิจัยครั้งนี้ มีข้อเสนอแนะดังนี้ ต้องรีบดำเนินการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานอย่างเร่งด่วน เนื่องจากมีผลกระทบโดยตรงกับการท่องเที่ยว ต้องมีการวางแผนสำรวจแหล่งท่องเที่ยวที่เสื่อมโทรมเพื่อรีบฟื้นฟูให้กลับสภาพเดิมโดยเร็ว ทั้งนี้เพื่อรักษาภาพของการเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่มีชื่อเสียงระดับโลก ให้พิจารณาเรื่องความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของนักท่องเที่ยวเป็นประเด็นสำคัญ เนื่องจากจะมีผลกระทบเชิงลบอย่างมากถ้านักท่องเที่ยวถูกทำร้าย หรือถูกประทุษร้ายต่อทรัพย์สินบ่อย ๆ ให้มีการอบรมบุคลากรเกี่ยวกับการประเมินผลการปฏิบัติงาน ให้มีความ สามารถประเมินหน่วยงานของตนเองและหน่วยงานอื่นที่ร่วมกันปฏิบัติงาน และการจัดสรรงบประมาณเพื่อปฏิบัติงานพัฒนาการท่องเที่ยวควรจัดไว้เป็นการเฉพาะ เนื่องจากหน่วยงานแต่ละหน่วยงานก็มีเรื่องใช้งบประมาณของตนเอง หรืออีกกรณีหนึ่งคือให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาการท่องเที่ยวตั้งงบประมาณในหน่วยของตนเองเพื่อปฏิบัติงานการพัฒนาการท่องเที่ยวCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27506 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000595874 SIU THE-T: IPAG-DPA-2017-04 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000595882 SIU THE-T: IPAG-DPA-2017-04 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available Readers who borrowed this document also borrowed:
Human resource management Mathis,, Robert L. (1944-) SIU THE-T. ปัจจัยการป้องกันการโจรกรรมรถยนต์ พื้นที่รับผิดชอบกองบัญชาการตำรวจนครบาล / สัมฤทธิ์ กระสังข์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2020
Collection Title: SIU THE-T Title : ปัจจัยการป้องกันการโจรกรรมรถยนต์ พื้นที่รับผิดชอบกองบัญชาการตำรวจนครบาล Original title : Vehicle Theft Prevention Factors Responsible Area Metropolitan Police Bureau Material Type: printed text Authors: สัมฤทธิ์ กระสังข์, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2020 Pagination: xi, 139 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-09
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]โจรกรรมรถยนต์ -- การป้องกัน Keywords: การป้องกัน,
การโจรกรรมรถยนต์,
การปฏิบัติตามยุทธศาสตร์,
ปัจจัยการป้องกันAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับปัจจัยแวดล้อมปัจเจกบุคคล ปัจจัยภายในองค์การ และปัจจัยเชิงนโยบายของการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์การป้องกันการโจรกรรมรถยนต์ พื้นที่รับผิดชอบกองบัญชาการตำรวจนครบาล 2) ศึกษาความสัมระหว่างปัจจัยแวดล้อมของปัจเจกบุคคล ปัจจัยภายในองค์การ และปัจจัยเชิงนโยบายในการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์การป้องกันการโจรกรรมรถยนต์ พื้นที่รับผิดชอบกองบัญชาการตำรวจนครบาล 3) ศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์การป้องกันการโจรกรรมรถยนต์ พื้นที่รับผิดชอบกองบัญชาการตำรวจนครบาล ใช้ระเบียบวิจัยแบบผสานวิธี คือการวิจัยเชิงปริมาณ และวิจัยเชิงคุณภาพ ประชากร ได้แก่ เจ้าหน้าที่ตำรวจจากกองบังคับการตำรวจนครบาล 1-9 รวมทั้งหมด 26,750 คน คำนวนกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีของ Yamane (1997) ได้กลุ่มตัวอย่าง 400 คน และผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จำนวน 9 คน ใช้การสัมภาษณ์เชิงลึก และทำการวิเคราะห์เนื้อหา สถิติเชิงพรรณาที่ใช้คือ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และใช้การวิเคราะห์สมการถดถอยเชิงพหุคูณ การหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียรสัน
ผลการวิจัย พบว่า
1) ระดับปัจจัยโดยภาพรวมมีค่าในระดับมากทั้ง 3 ปัจจัย คือ ปัจจัยเชิงนโยบาย มีค่าความสำคัญเท่ากับ 3.67 รองลงมาคือ ปัจจัยแวดล้อมของปัจเจกบุคคล มีค่าความสำคัญเท่ากับ 3.55 และปัจจัยภายในองค์การ มีค่าความสำคัญเท่ากับ 3.46
2) ปัจจัยแวดล้อมของปัจเจกบุคคล ตัวแปรมีค่าสัมประสิทธ์สหสัมพันธ์สูงสุด คือ ด้านครอบครัว และสังคม ด้านสิ่งแวดล้อม และด้านเศรษฐกิจ มีค่า (r=0.67, r=0.52 และ r=0.40) ตามลำดับ ปัจจัยภายในองค์การ ตัวแปรมีค่าสัมประสิทธ์สหสัมพันธ์สูงสุด คือ ด้านการให้ความร่วมมือในการปฏิบัติงาน (r=0.90) และตัวแปรค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ต่ำสุด คือ ด้านวัฒนธรรมองค์การ (r=0.019) ปัจจัยเชิงนโยบาย ตัวแปรมีค่าสัมประสิทธ์สหสัมพันธ์สูงสุด คือ ด้านการวางแผนและการควบคุม (r=0.80) และตัวแปรมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ต่ำสุด คือ ด้านระบบการวัดผล (r=0.80)
3) ปัจจัยแวดล้อมของปัจเจกบุคคลตัวแปรที่ส่งผล คือ ด้านครอบครัว และสังคม ปัจจัยภายในองค์การตัวแปรที่ส่งผลคือ ด้านการประชาสัมพันธ์ และเผยแพร่ข้อมูล และปัจจัยเชิงนโยบายมีตัว 5 ตัวแปรที่ส่งผล ได้แก่ ด้านการวางแผนและการควบคุม ด้านการกำหนดภารกิจ และมอบหมายงาน ด้านวัตถุประสงค์ของนโยบาย ด้านมาตรฐานการให้คุณ-โทษ และด้านมาตรฐานการปฏิบัติงานCurricular : MPA/DPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28107 SIU THE-T. ปัจจัยการป้องกันการโจรกรรมรถยนต์ พื้นที่รับผิดชอบกองบัญชาการตำรวจนครบาล = Vehicle Theft Prevention Factors Responsible Area Metropolitan Police Bureau [printed text] / สัมฤทธิ์ กระสังข์, Author ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020 . - xi, 139 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-09
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2020
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]โจรกรรมรถยนต์ -- การป้องกัน Keywords: การป้องกัน,
การโจรกรรมรถยนต์,
การปฏิบัติตามยุทธศาสตร์,
ปัจจัยการป้องกันAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับปัจจัยแวดล้อมปัจเจกบุคคล ปัจจัยภายในองค์การ และปัจจัยเชิงนโยบายของการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์การป้องกันการโจรกรรมรถยนต์ พื้นที่รับผิดชอบกองบัญชาการตำรวจนครบาล 2) ศึกษาความสัมระหว่างปัจจัยแวดล้อมของปัจเจกบุคคล ปัจจัยภายในองค์การ และปัจจัยเชิงนโยบายในการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์การป้องกันการโจรกรรมรถยนต์ พื้นที่รับผิดชอบกองบัญชาการตำรวจนครบาล 3) ศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการปฏิบัติตามยุทธศาสตร์การป้องกันการโจรกรรมรถยนต์ พื้นที่รับผิดชอบกองบัญชาการตำรวจนครบาล ใช้ระเบียบวิจัยแบบผสานวิธี คือการวิจัยเชิงปริมาณ และวิจัยเชิงคุณภาพ ประชากร ได้แก่ เจ้าหน้าที่ตำรวจจากกองบังคับการตำรวจนครบาล 1-9 รวมทั้งหมด 26,750 คน คำนวนกลุ่มตัวอย่างด้วยวิธีของ Yamane (1997) ได้กลุ่มตัวอย่าง 400 คน และผู้ให้ข้อมูลสำคัญ จำนวน 9 คน ใช้การสัมภาษณ์เชิงลึก และทำการวิเคราะห์เนื้อหา สถิติเชิงพรรณาที่ใช้คือ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และใช้การวิเคราะห์สมการถดถอยเชิงพหุคูณ การหาค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียรสัน
ผลการวิจัย พบว่า
1) ระดับปัจจัยโดยภาพรวมมีค่าในระดับมากทั้ง 3 ปัจจัย คือ ปัจจัยเชิงนโยบาย มีค่าความสำคัญเท่ากับ 3.67 รองลงมาคือ ปัจจัยแวดล้อมของปัจเจกบุคคล มีค่าความสำคัญเท่ากับ 3.55 และปัจจัยภายในองค์การ มีค่าความสำคัญเท่ากับ 3.46
2) ปัจจัยแวดล้อมของปัจเจกบุคคล ตัวแปรมีค่าสัมประสิทธ์สหสัมพันธ์สูงสุด คือ ด้านครอบครัว และสังคม ด้านสิ่งแวดล้อม และด้านเศรษฐกิจ มีค่า (r=0.67, r=0.52 และ r=0.40) ตามลำดับ ปัจจัยภายในองค์การ ตัวแปรมีค่าสัมประสิทธ์สหสัมพันธ์สูงสุด คือ ด้านการให้ความร่วมมือในการปฏิบัติงาน (r=0.90) และตัวแปรค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ต่ำสุด คือ ด้านวัฒนธรรมองค์การ (r=0.019) ปัจจัยเชิงนโยบาย ตัวแปรมีค่าสัมประสิทธ์สหสัมพันธ์สูงสุด คือ ด้านการวางแผนและการควบคุม (r=0.80) และตัวแปรมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ต่ำสุด คือ ด้านระบบการวัดผล (r=0.80)
3) ปัจจัยแวดล้อมของปัจเจกบุคคลตัวแปรที่ส่งผล คือ ด้านครอบครัว และสังคม ปัจจัยภายในองค์การตัวแปรที่ส่งผลคือ ด้านการประชาสัมพันธ์ และเผยแพร่ข้อมูล และปัจจัยเชิงนโยบายมีตัว 5 ตัวแปรที่ส่งผล ได้แก่ ด้านการวางแผนและการควบคุม ด้านการกำหนดภารกิจ และมอบหมายงาน ด้านวัตถุประสงค์ของนโยบาย ด้านมาตรฐานการให้คุณ-โทษ และด้านมาตรฐานการปฏิบัติงานCurricular : MPA/DPA Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28107 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607327 SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-09 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available 32002000607330 SIU THE-T: IPAG-DPA-2020-09 c.2 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available