From this page you can:
Home |
Search results
8 result(s) search for keyword(s) 'ความเครียด.การเผชิญความเครียด.โรคมะเร็งหลังโพรงจมูก.'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
ความเครียด และการเผชิญความเครียดของผู้ป่วยโรคมะเร็งหลังโพรงจมูก / ศุภกาญจน์ โอภาสรัตนากร in รามาธิบดีพยาบาลสาร, Vol.21 No.2 (May-Aug) 2015 ([10/13/2015])
[article]
Title : ความเครียด และการเผชิญความเครียดของผู้ป่วยโรคมะเร็งหลังโพรงจมูก : ที่ได้รับการรักษาด้วยการฉายรังสีร่วมกับยาเคมีบำบัด Original title : Stress and coping of nasophaaryngeal carcinoma patients receiving concurrent chemoradiotherapy treatment Material Type: printed text Authors: ศุภกาญจน์ โอภาสรัตนากร, Author ; มุกดา เ เดชประพนธ์, Author ; บัวหลวง สำแดงฤทธิ์, Author Publication Date: 2015 Article on page: pp.158-170 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.21 No.2 (May-Aug) 2015 [10/13/2015] . - pp.158-170Keywords: ความเครียด.การเผชิญความเครียด.โรคมะเร็งหลังโพรงจมูก. Abstract: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงบรรยาย เพื่อศึกษาความเครียด การเผชิญความเครียดและความสัมพันธ์ระหว่างความเครียดกับการเผชิญความเครียดของผู้ป่วยโรคมะเร็งหลังโพรงจมูกที่ได้รับการรักษาด้วยการฉายรังสีร่วมกัยบาเคมีบำบัด ตามกรอบแนวคิดของลาซารัส และโฟค์แมน กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นมะเร็งโพรงจมูกที่ได้รับการรักษาด้วยการฉายรังสีร่วมกับเคมีบำบัดอย่างน้อย 3 เดือน แต่ไม่เกิน 1 ปี ณ แผนกตรวจโรคผู้ป่วยนอกกลุ่มงานรักงสีรักาา โรงพยาบาลระดับตติยภูมิ จำนวน 51 ราย ดำเนินการเก็บข้อมูลระหว่างเดือนมกราคม ถึงเดือนเมษายน พ.ศ. 2557 โดยใช้แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์เกี่ยวกับความเครียดและการเผชิญความเครียด วิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติบรรยาย และสถิติสหสัมพันธ์เพียรสัน ผลการวิจัยพบว่า ระดับความเครียดของกลุ่มตัวอย่างอยู่ในระดับสูง กลุ่มตัวอย่างใช้วิธีการเผชิญความเครียดด้านการเผชิญหน้ากับปัญหามากที่สุด เมื่อพิจารณาความสัมพันธ์ของตัวแปร พบว่า ระดับความเครียดมีความสัมพันธ์ทางบวกกับการเผชิญความเครียดด้านการจัดการกับอารมณ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ แต่ไม่มีความสัมพันธ์กับการเผชิญความเครียดโดยรวม การเผชิญความเครียดด้านการเผชิญหน้ากับปัญหาและด้านการบรรเทาความเครียด ดังนั้นพบาบาลควรประเมินความเครียดผู้ป่วยเป็นระยะ เมื่อผู้ป่วยมาติดตามผลการรักษา เพื่อที่จะได้ช่วยเหลือให้คำแนะนำที่เหมาะสมตรงกับความต้องการของผู้ป่วย Link for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24985 [article] ความเครียด และการเผชิญความเครียดของผู้ป่วยโรคมะเร็งหลังโพรงจมูก = Stress and coping of nasophaaryngeal carcinoma patients receiving concurrent chemoradiotherapy treatment : ที่ได้รับการรักษาด้วยการฉายรังสีร่วมกับยาเคมีบำบัด [printed text] / ศุภกาญจน์ โอภาสรัตนากร, Author ; มุกดา เ เดชประพนธ์, Author ; บัวหลวง สำแดงฤทธิ์, Author . - 2015 . - pp.158-170.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.21 No.2 (May-Aug) 2015 [10/13/2015] . - pp.158-170Keywords: ความเครียด.การเผชิญความเครียด.โรคมะเร็งหลังโพรงจมูก. Abstract: การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงบรรยาย เพื่อศึกษาความเครียด การเผชิญความเครียดและความสัมพันธ์ระหว่างความเครียดกับการเผชิญความเครียดของผู้ป่วยโรคมะเร็งหลังโพรงจมูกที่ได้รับการรักษาด้วยการฉายรังสีร่วมกัยบาเคมีบำบัด ตามกรอบแนวคิดของลาซารัส และโฟค์แมน กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นมะเร็งโพรงจมูกที่ได้รับการรักษาด้วยการฉายรังสีร่วมกับเคมีบำบัดอย่างน้อย 3 เดือน แต่ไม่เกิน 1 ปี ณ แผนกตรวจโรคผู้ป่วยนอกกลุ่มงานรักงสีรักาา โรงพยาบาลระดับตติยภูมิ จำนวน 51 ราย ดำเนินการเก็บข้อมูลระหว่างเดือนมกราคม ถึงเดือนเมษายน พ.ศ. 2557 โดยใช้แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์เกี่ยวกับความเครียดและการเผชิญความเครียด วิเคราะห์ข้อมูลโดยสถิติบรรยาย และสถิติสหสัมพันธ์เพียรสัน ผลการวิจัยพบว่า ระดับความเครียดของกลุ่มตัวอย่างอยู่ในระดับสูง กลุ่มตัวอย่างใช้วิธีการเผชิญความเครียดด้านการเผชิญหน้ากับปัญหามากที่สุด เมื่อพิจารณาความสัมพันธ์ของตัวแปร พบว่า ระดับความเครียดมีความสัมพันธ์ทางบวกกับการเผชิญความเครียดด้านการจัดการกับอารมณ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ แต่ไม่มีความสัมพันธ์กับการเผชิญความเครียดโดยรวม การเผชิญความเครียดด้านการเผชิญหน้ากับปัญหาและด้านการบรรเทาความเครียด ดังนั้นพบาบาลควรประเมินความเครียดผู้ป่วยเป็นระยะ เมื่อผู้ป่วยมาติดตามผลการรักษา เพื่อที่จะได้ช่วยเหลือให้คำแนะนำที่เหมาะสมตรงกับความต้องการของผู้ป่วย Link for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24985 ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ความเครียด ความฉลาดทางอารมณ์ / กมลรัตน์ ทองสว่าง in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 ([08/21/2017])
[article]
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ความเครียด ความฉลาดทางอารมณ์ : กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎชัยภูมิ Original title : The relationships between the personal factors stress emotional intelligence and academic achievement of the students at faculty of nursing Chiyaphum Rajabhat University Material Type: printed text Authors: กมลรัตน์ ทองสว่าง, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.91-110 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.91-110Keywords: ความเครียด.ความฉลาดทางอารมณ์.ปัจจัยส่วนบุคคล.ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา.นักศึกษาพยาบาล มหาวิทยาลัยราชภัฎชัยภูมิ. Abstract: วัตถุประสงค์เพื่อ 1 ศึกษาระดับความเครัยดและความฉลาดทางอารมณ์ 2ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ระดับความเครียด ความฉลาดทางอารมร์ กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3 สร้างสมการในการพยากรณ์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ
กลุ่มตัวอย่าง คือ น.ศ.ชั้นปีที่ 1 และ 2 คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ ปี 2556 จำนวน 159 คน
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยมี 3 ส่วน คือ แบบสอบถามข้อมูลส่วนตัว แบบประเมินความฉลาดทางอารมณ์ และแบบวัดความเครียด สถิติที่ใช้ ได้แก่ สถิติพื้นฐาน สัมประสิทธิ์ความสัมพันธ์แบบเพียร์สัน การวิเคราะห์สมการถดถอยพหุคูณ และคัดเลือกตัวแปรเข้าสมการแบบหลายขั้นตอน
ผลการวิจัย พบว่า นักศึกษามีคะแนนระดับความเครียดอยู่ในระดับสูง มีคะแนนความฉลาดทางอารมณ์โดยรวมเฉลี่ยอยู่ในเกณฑ์ปกติชั้นปีที่ศึกษา จำนวนพี่น้อง ความเห็นใจผู้อื่น การรับผิดชอบ และความฉลาดทางอารมณ์มีความสัมพันธ์กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ความฉลาดทางอารมณ์ส่วนองค์ประกอบด้านดีในด้านการรู้จักเห็นใจผู้อื่น (X1)ชั้นปีที่ศึกษา (X2) และจำนวนพี่น้อง (X3) สามารถร่วมกันพยากรณ์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎชัยภูมิ และได้สมการคือ Y=0.97+0.06X1-0.217X2+0.132X
ผลการศึกษาครั้งนี้สามารถนำไปเป็นข้อมูลพื้นฐานในการวางแผนการให้คำปรึกษาสำหรับนักศึกษาที่มีปัญหาเกี่ยวกับเรื่องสุขภาพจิตของคณะพยาบาลศาสตร์ เพื่อส่งผลต่อสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ดีของนักศึกษาLink for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27217 [article] ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ความเครียด ความฉลาดทางอารมณ์ = The relationships between the personal factors stress emotional intelligence and academic achievement of the students at faculty of nursing Chiyaphum Rajabhat University : กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎชัยภูมิ [printed text] / กมลรัตน์ ทองสว่าง, Author . - 2017 . - p.91-110.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.91-110Keywords: ความเครียด.ความฉลาดทางอารมณ์.ปัจจัยส่วนบุคคล.ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา.นักศึกษาพยาบาล มหาวิทยาลัยราชภัฎชัยภูมิ. Abstract: วัตถุประสงค์เพื่อ 1 ศึกษาระดับความเครัยดและความฉลาดทางอารมณ์ 2ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ระดับความเครียด ความฉลาดทางอารมร์ กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 3 สร้างสมการในการพยากรณ์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ
กลุ่มตัวอย่าง คือ น.ศ.ชั้นปีที่ 1 และ 2 คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ ปี 2556 จำนวน 159 คน
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยมี 3 ส่วน คือ แบบสอบถามข้อมูลส่วนตัว แบบประเมินความฉลาดทางอารมณ์ และแบบวัดความเครียด สถิติที่ใช้ ได้แก่ สถิติพื้นฐาน สัมประสิทธิ์ความสัมพันธ์แบบเพียร์สัน การวิเคราะห์สมการถดถอยพหุคูณ และคัดเลือกตัวแปรเข้าสมการแบบหลายขั้นตอน
ผลการวิจัย พบว่า นักศึกษามีคะแนนระดับความเครียดอยู่ในระดับสูง มีคะแนนความฉลาดทางอารมณ์โดยรวมเฉลี่ยอยู่ในเกณฑ์ปกติชั้นปีที่ศึกษา จำนวนพี่น้อง ความเห็นใจผู้อื่น การรับผิดชอบ และความฉลาดทางอารมณ์มีความสัมพันธ์กับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ความฉลาดทางอารมณ์ส่วนองค์ประกอบด้านดีในด้านการรู้จักเห็นใจผู้อื่น (X1)ชั้นปีที่ศึกษา (X2) และจำนวนพี่น้อง (X3) สามารถร่วมกันพยากรณ์ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎชัยภูมิ และได้สมการคือ Y=0.97+0.06X1-0.217X2+0.132X
ผลการศึกษาครั้งนี้สามารถนำไปเป็นข้อมูลพื้นฐานในการวางแผนการให้คำปรึกษาสำหรับนักศึกษาที่มีปัญหาเกี่ยวกับเรื่องสุขภาพจิตของคณะพยาบาลศาสตร์ เพื่อส่งผลต่อสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่ดีของนักศึกษาLink for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27217 ประสบการณ์การจัดการความเครียดจากการทำงานของหัวหน้าหอผู้ป่วย / ผการัตน์ สุภากรรณ์, / กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2548
Title : ประสบการณ์การจัดการความเครียดจากการทำงานของหัวหน้าหอผู้ป่วย Original title : Experience of work stress management of head nurses Material Type: printed text Authors: ผการัตน์ สุภากรรณ์, (2520-), Author Publisher: กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2548 Pagination: ก-ญ, 119 แผ่น Layout: ตาราง Size: 30 ซม. ISBN (or other code): 978-974-143-260-7 Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย.ม. [การบริหารการพยาบาล]] - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2548 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ความเครียดจากการทำงาน
[LCSH]บุคลากรทางการแพทย์ -- ไทย -- ความเครียดจากการทำงาน
[LCSH]พยาบาล -- ไทย -- ความเครียดจากการทำงาน :
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วยKeywords: ความเครียด.
พยาบาล.
บุคลากรทางการแพทย์.Class number: WM172 ผ512 2548 Abstract: การศึกษาเิชิงปรากฎการณ์วิทยานี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสบการณ์การจัดการความเครียดจาการทำงานของหัวหน้าหอผู้ป่วย ผู้ให้ข้อมูลเป็นหัวหน้าหอผู้ป่วยที่ปฎิบัติงานในหน่วยงานอายุรกรรมและหน่วยงานวิกฤต ดำรงตำแหน่งหัวหน้าหอผู้ป่วยอย่างน้อย 3 ปีีขึ้นไป ในโรงพยาบาลระดับตติยภูมิแห่งเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 16 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก และการบันทึกเทป นำข้อมูลที่ได้มาถอดความแบบคำต่อคำ วิเคราะห์ข้อมูลตามวิธีการของ Colaizzi
ผลการศึกษาพบว่า หัวหน้าผู้ฝ่ายให้ความหมายการจัดการความเครีัยดจากการทำงาน คือ การควบคุมความเครียดที่เกิดขึ้นได้ และการทำใจ ส่วนประสบการณ์การจัดการความเครียดจาการทำงานของหัวหน้าหอผู้ป่วยพบ 6 ประเด็น คือ ประเด็นแรก การปรับตัวเข้ากับงานที่ทำ โดยการวางแผนการทำงานแต่ละวัน การพยายามศึกษาเรียนรู้งาน การทำงานด้วยใจรักและสนุกับงาน ประเด็นที่ 2 การปรึกษากับครอบครัว และผู้ร่วมมงาน ประเด็นที่ 3 การใช้หลักธรรมะลดความเครียด เพื่อให้มีการทำงานอย่างมีสติ และช่วยให้รู้จักปล่อยวาง ประเด็นที่ 4 การทำงานอดิเรกเพื่อผ่อนคลายความเครียด ประเด็นที่ 5 การแก้ไขปัญหาจากประสบการณ์ที่สั่งสมมา โดยการเรียนรู้จากประสบการณ์ที่ผ่านมา ประเด็นสุดท้าย ต้องการแรงสนับสนุนเชิงบวก นอกจากนี้การศึกษายังค้นพบสาเหตุที่ก่อให้เกิดความเครียด ได้แก่ การได้ตำแหน่งหัวหน้าหอผู้ป่วย โดยการย้ายมาจากหน่วยงานอื่น และการขึ้นมาจากหน่วยงานที่ปฎิบัติอยู่เดิม ลักษณะงานที่ทำให้หัวหน้าหอผู้ป่วยเกิดความเครียดประกอบไปด้วย ภาระงานมากทำไม่ทันตามเวลา งานที่ต้องดำเนินการด่วน
Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23138 ประสบการณ์การจัดการความเครียดจากการทำงานของหัวหน้าหอผู้ป่วย = Experience of work stress management of head nurses [printed text] / ผการัตน์ สุภากรรณ์, (2520-), Author . - กรุงเทพฯ : คณะพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548 . - ก-ญ, 119 แผ่น : ตาราง ; 30 ซม.
ISSN : 978-974-143-260-7 : บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย.ม. [การบริหารการพยาบาล]] - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2548
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ความเครียดจากการทำงาน
[LCSH]บุคลากรทางการแพทย์ -- ไทย -- ความเครียดจากการทำงาน
[LCSH]พยาบาล -- ไทย -- ความเครียดจากการทำงาน :
[LCSH]พยาบาลหัวหน้าหอผู้ป่วยKeywords: ความเครียด.
พยาบาล.
บุคลากรทางการแพทย์.Class number: WM172 ผ512 2548 Abstract: การศึกษาเิชิงปรากฎการณ์วิทยานี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสบการณ์การจัดการความเครียดจาการทำงานของหัวหน้าหอผู้ป่วย ผู้ให้ข้อมูลเป็นหัวหน้าหอผู้ป่วยที่ปฎิบัติงานในหน่วยงานอายุรกรรมและหน่วยงานวิกฤต ดำรงตำแหน่งหัวหน้าหอผู้ป่วยอย่างน้อย 3 ปีีขึ้นไป ในโรงพยาบาลระดับตติยภูมิแห่งเขตกรุงเทพมหานคร จำนวน 16 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึก และการบันทึกเทป นำข้อมูลที่ได้มาถอดความแบบคำต่อคำ วิเคราะห์ข้อมูลตามวิธีการของ Colaizzi
ผลการศึกษาพบว่า หัวหน้าผู้ฝ่ายให้ความหมายการจัดการความเครีัยดจากการทำงาน คือ การควบคุมความเครียดที่เกิดขึ้นได้ และการทำใจ ส่วนประสบการณ์การจัดการความเครียดจาการทำงานของหัวหน้าหอผู้ป่วยพบ 6 ประเด็น คือ ประเด็นแรก การปรับตัวเข้ากับงานที่ทำ โดยการวางแผนการทำงานแต่ละวัน การพยายามศึกษาเรียนรู้งาน การทำงานด้วยใจรักและสนุกับงาน ประเด็นที่ 2 การปรึกษากับครอบครัว และผู้ร่วมมงาน ประเด็นที่ 3 การใช้หลักธรรมะลดความเครียด เพื่อให้มีการทำงานอย่างมีสติ และช่วยให้รู้จักปล่อยวาง ประเด็นที่ 4 การทำงานอดิเรกเพื่อผ่อนคลายความเครียด ประเด็นที่ 5 การแก้ไขปัญหาจากประสบการณ์ที่สั่งสมมา โดยการเรียนรู้จากประสบการณ์ที่ผ่านมา ประเด็นสุดท้าย ต้องการแรงสนับสนุนเชิงบวก นอกจากนี้การศึกษายังค้นพบสาเหตุที่ก่อให้เกิดความเครียด ได้แก่ การได้ตำแหน่งหัวหน้าหอผู้ป่วย โดยการย้ายมาจากหน่วยงานอื่น และการขึ้นมาจากหน่วยงานที่ปฎิบัติอยู่เดิม ลักษณะงานที่ทำให้หัวหน้าหอผู้ป่วยเกิดความเครียดประกอบไปด้วย ภาระงานมากทำไม่ทันตามเวลา งานที่ต้องดำเนินการด่วน
Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23138 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354447 WM172 ผ512 2548 Thesis Main Library Thesis Corner Available ปัจจัยทำนายการเผชิญความเครียดของผู้ดูแลผู้ได้รับบาดเจ็บไขสันหลัง / สุภาพ เหมือนชู in วารสารสภาการพยาบาล, Vol.31 No.1 (Jan-Mar) 2016/59 ([03/29/2016])
[article]
Title : ปัจจัยทำนายการเผชิญความเครียดของผู้ดูแลผู้ได้รับบาดเจ็บไขสันหลัง Original title : Predictive factors in stress-coping ability of caregivers of cord injury patients Material Type: printed text Authors: สุภาพ เหมือนชู, Author ; ภาวนา กีรติยุตวงศ์, Author ; วริยา วชิราวัธน์, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.124 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.1 (Jan-Mar) 2016/59 [03/29/2016] . - p.124Keywords: การเผชิญความเครียด.ผู้บาดเจ็บไขสันหลัง.ปัจจัยทำนาย. Link for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25654 [article] ปัจจัยทำนายการเผชิญความเครียดของผู้ดูแลผู้ได้รับบาดเจ็บไขสันหลัง = Predictive factors in stress-coping ability of caregivers of cord injury patients [printed text] / สุภาพ เหมือนชู, Author ; ภาวนา กีรติยุตวงศ์, Author ; วริยา วชิราวัธน์, Author . - 2016 . - p.124.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)ปัจจัยทำนายความแข็งแกร่งในชีวิตในวัยรุ่นกลุ่มด้อยโอกาส / พัชรินทร์ นินทจันทร์ in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, Vol.31 No.1 (Jan-Apr) 2017/2560 ([11/08/2017])
[article]
Title : ปัจจัยทำนายความแข็งแกร่งในชีวิตในวัยรุ่นกลุ่มด้อยโอกาส Original title : Factors predicting resilience in underprivieleged adolescents Material Type: printed text Authors: พัชรินทร์ นินทจันทร์, Author ; วารีรัตน์ ถาน้อย, Author ; โสภิณ แสงอ่อน, Author ; มาณวิภา พัฒนมาศ, Author ; ช่อทิพย์ อินทรักษา, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.13-28. Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.31 No.1 (Jan-Apr) 2017/2560 [11/08/2017] . - p.13-28.Keywords: ความแข็งแกร่งในชีวิต. ความเครียด. เหตุการณ์ที่สร้างความยุ่งยากใจ. วัยรุ่นกลุ่มด้อยโอกาส.Resilience. Stress. Negative events. Underprivileged adolescents. Abstract:
วัตถุประสงค์: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยทำนายความแข็งแกร่งในชีวิตในวัยรุ่นกลุ่มด้อยโอกาส
วิธีการศึกษา: กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนที่กำลังศึกษาในระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึง 6 โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์แห่งหนึ่งในประเทศไทย จำนวน 224 คน เลือกตัวอย่างโดยใช้วิธีสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบวัดความเครียด แบบประเมินความแข็งแกร่งในชีวิตและแบบวัดเหตุการณ์ที่สร้างความยุ่งยากใจวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบเป็นขั้นตอน
ผลการศึกษา: ผลการศึกษาพบว่า อายุ สถานะทางการเงิน ความเครียด และเหตุการณ์ ที่สร้างความยุ่งยากใจ (ปัญหากับเพื่อน ปัญหากับแฟน ปัญหากับครู/ อาจารย์ ปัญหากับบิดา/ มารดา ปัญหากับนักศึกษาอื่น ปัญหากับญาติ/พี่น้องปัญหาการเงิน ปัญหาเกี่ยวกับกระบวนการเรียน ปัญหาด้านสุขภาพ และปัญหาด้านข้อจำกัดในการเรียนและความสนใจในวิชาเรียน) มีความสัมพันธ์กับความแข็งแกร่งในชีวิตอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติเหตุการณ์ที่สร้างความยุ่งยากใจ และอายุสามารถร่วมกันทำนายความแข็งแกร่งในชีวิตได้ร้อยละ 17.30 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
สรุป: ผลที่ได้จากการศึกษาครั้งนี้สามารถนำไปใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาการปฏิบัติการพยาบาลในการเสริมสร้างความแข็งแกร่งในชีวิตให้แก่วัยรุ่น เพื่อป้องกันการเกิดปัญหาสุขภาพจิตในวัยรุ่นด้อยโอกาสต่อไป
Objective: The purpose of this study was to investigate factors predicting resilience in underprivileged adolescents.
Methods: A simple random sampling technique was used to select 224 secondary school students from a school for underprivileged adolescents in Thailand. Data were collected by a set of self-report questionnaires including a demographic questionnaire, the Thai Stress Test, the Resilience Inventory, and the Negative Events Scale. Descriptive statistics, correlation coefficient, and stepwise multiple regression were employed for data analyses.
Results: The results revealed that age, economic status, stress, and negative events (problems with friends, problems with boy/ girlfriend, problems with teachers, problems with parents, problems with other students, problems with relatives, financial problems, problems with academic courses, health problems and problems with academic limitations and course interest) had significant relationship with resilience. The negative events and age could collectively explain variance of resilience at 17.30 percentages.
Conclusion: The findings of this study can be used as basic information to develop a nursing intervention to prevent psychological problems and also enhance resilience of the underprivileged adolescents.
Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27469 [article] ปัจจัยทำนายความแข็งแกร่งในชีวิตในวัยรุ่นกลุ่มด้อยโอกาส = Factors predicting resilience in underprivieleged adolescents [printed text] / พัชรินทร์ นินทจันทร์, Author ; วารีรัตน์ ถาน้อย, Author ; โสภิณ แสงอ่อน, Author ; มาณวิภา พัฒนมาศ, Author ; ช่อทิพย์ อินทรักษา, Author . - 2017 . - p.13-28.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.31 No.1 (Jan-Apr) 2017/2560 [11/08/2017] . - p.13-28.Keywords: ความแข็งแกร่งในชีวิต. ความเครียด. เหตุการณ์ที่สร้างความยุ่งยากใจ. วัยรุ่นกลุ่มด้อยโอกาส.Resilience. Stress. Negative events. Underprivileged adolescents. Abstract:
วัตถุประสงค์: การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยทำนายความแข็งแกร่งในชีวิตในวัยรุ่นกลุ่มด้อยโอกาส
วิธีการศึกษา: กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนที่กำลังศึกษาในระดับมัธยมศึกษาปีที่ 1 ถึง 6 โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์แห่งหนึ่งในประเทศไทย จำนวน 224 คน เลือกตัวอย่างโดยใช้วิธีสุ่มอย่างง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลประกอบด้วย แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล แบบวัดความเครียด แบบประเมินความแข็งแกร่งในชีวิตและแบบวัดเหตุการณ์ที่สร้างความยุ่งยากใจวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณแบบเป็นขั้นตอน
ผลการศึกษา: ผลการศึกษาพบว่า อายุ สถานะทางการเงิน ความเครียด และเหตุการณ์ ที่สร้างความยุ่งยากใจ (ปัญหากับเพื่อน ปัญหากับแฟน ปัญหากับครู/ อาจารย์ ปัญหากับบิดา/ มารดา ปัญหากับนักศึกษาอื่น ปัญหากับญาติ/พี่น้องปัญหาการเงิน ปัญหาเกี่ยวกับกระบวนการเรียน ปัญหาด้านสุขภาพ และปัญหาด้านข้อจำกัดในการเรียนและความสนใจในวิชาเรียน) มีความสัมพันธ์กับความแข็งแกร่งในชีวิตอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติเหตุการณ์ที่สร้างความยุ่งยากใจ และอายุสามารถร่วมกันทำนายความแข็งแกร่งในชีวิตได้ร้อยละ 17.30 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
สรุป: ผลที่ได้จากการศึกษาครั้งนี้สามารถนำไปใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานในการพัฒนาการปฏิบัติการพยาบาลในการเสริมสร้างความแข็งแกร่งในชีวิตให้แก่วัยรุ่น เพื่อป้องกันการเกิดปัญหาสุขภาพจิตในวัยรุ่นด้อยโอกาสต่อไป
Objective: The purpose of this study was to investigate factors predicting resilience in underprivileged adolescents.
Methods: A simple random sampling technique was used to select 224 secondary school students from a school for underprivileged adolescents in Thailand. Data were collected by a set of self-report questionnaires including a demographic questionnaire, the Thai Stress Test, the Resilience Inventory, and the Negative Events Scale. Descriptive statistics, correlation coefficient, and stepwise multiple regression were employed for data analyses.
Results: The results revealed that age, economic status, stress, and negative events (problems with friends, problems with boy/ girlfriend, problems with teachers, problems with parents, problems with other students, problems with relatives, financial problems, problems with academic courses, health problems and problems with academic limitations and course interest) had significant relationship with resilience. The negative events and age could collectively explain variance of resilience at 17.30 percentages.
Conclusion: The findings of this study can be used as basic information to develop a nursing intervention to prevent psychological problems and also enhance resilience of the underprivileged adolescents.
Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27469 ผลของรูปแบบการให้ข้อมูลทางสุขภาพร่วมกับการฝึกอานาปานสติ ต่อความเครียดในการดูแลเด็ก / ธิดารัตน์ ทองหนุน in วารสารเกื้อการุณย์, Vol.23 No.2 (Jul-Dec) 2016/59 ([05/17/2017])
[article]
Title : ผลของรูปแบบการให้ข้อมูลทางสุขภาพร่วมกับการฝึกอานาปานสติ ต่อความเครียดในการดูแลเด็ก : โรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวของผู้ดูแลในครอบครัว Material Type: printed text Authors: ธิดารัตน์ ทองหนุน, Author ; ว๊ณา จีระแพทย์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.86-103 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.23 No.2 (Jul-Dec) 2016/59 [05/17/2017] . - p.86-103Keywords: การฝึกอานาปานสติ.การดูแลเด็ก.มะเร็งเม็ดเลือดขาว.ความเครียดในการดูแลเด็ก.ผู้ดูแลในครอบครัว. Abstract: เป็นการวิจัยกึ่งทดลงองแบบ 2 กลุ่ม คือ วัดก่อน และหวังการทดลอง เพื่อศึกษารูปแบบการให่ข้มูลทางสุขภาพกับการฝึกอานาปานสติต่อความเครียดในการ...กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ดูแลในครอบครัวของเด็กอายุต่ำกว่า 6 ปี ที่แพทย์วินิจฉัยว่าเป็นโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเฉียบพลันที่เข้ารับการรักษาและได้รับเคมีบำบัดระยะเข้มขันในโรงพยาบาลตติยภูมิ จำนวน 50 คน โดยจับคู่ให้มีระดับการศึกษาและรายได้ที่ระดับใกล้เคียงกัน เป็นกลุ่มละ 25 คน วิจัยโดยกลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติ ตามด้วยกลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมรูปแบบการให้ข้อมูลทางสุขภาพร่วมกับการฝึกอานาปานสติ เครื่องมือวิจัย คือ แผนกิจกรรมการให้ข้อมูลทางสุขภาพร่วมกับการฝึกอานาปานสติ แบบบันทึกรายงานตนเองหลังการฝึกอานาปานสติ และแบบสอบถามความเครียด... ผลการวิจัยพบว่า 1) ความเครียดในการดูแลเด็กโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวของผู้ดูแลในครอบครัวได้รับโปรแกรมรูปแบบการให้ข้อมูลทางสุขภาพร่วมกับการฝึกอานาปานสติน้อยกว่าก่อนได้รับโปรแกรม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05 2) ความเครียดในการดูแลเด็กโรค ฯ กลุ่มที่ได้รับโปรแกรมรูปแบบการให้ข้อมูลทางสุขภาพร่วมกับการฝึกอานาปานสติน้อยกว่ากลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
ข้อเสนอแนะ จากการวิจัยในครั้งรี้ คือ พยาบาลผู้ให้การดูแลผู้ป่วยเด็กและผู้ดูแลในครอบครัว ควรมีบทบาทสำคัญในการประเมินปัญหาให้ความช่วยเหลือดูแลอย่างครอบคลุมเป็นองค์รวม โดยเฉพาะจิตใจและอารมณ์ ทั้งนี้ในการนำโปรแกรมไปประยุกต์ใช้ ผู้ใช้ควรมีพื้นฐานในการฝึกสมาธิแบบอานาปานสติ เพื่อให้เกิดทักษะและสามารถให้คำแนะนำแก่ผู้ดูแลในครอบครัวได้Link for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26732 [article] ผลของรูปแบบการให้ข้อมูลทางสุขภาพร่วมกับการฝึกอานาปานสติ ต่อความเครียดในการดูแลเด็ก : โรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวของผู้ดูแลในครอบครัว [printed text] / ธิดารัตน์ ทองหนุน, Author ; ว๊ณา จีระแพทย์, Author . - 2017 . - p.86-103.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.23 No.2 (Jul-Dec) 2016/59 [05/17/2017] . - p.86-103Keywords: การฝึกอานาปานสติ.การดูแลเด็ก.มะเร็งเม็ดเลือดขาว.ความเครียดในการดูแลเด็ก.ผู้ดูแลในครอบครัว. Abstract: เป็นการวิจัยกึ่งทดลงองแบบ 2 กลุ่ม คือ วัดก่อน และหวังการทดลอง เพื่อศึกษารูปแบบการให่ข้มูลทางสุขภาพกับการฝึกอานาปานสติต่อความเครียดในการ...กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ดูแลในครอบครัวของเด็กอายุต่ำกว่า 6 ปี ที่แพทย์วินิจฉัยว่าเป็นโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเฉียบพลันที่เข้ารับการรักษาและได้รับเคมีบำบัดระยะเข้มขันในโรงพยาบาลตติยภูมิ จำนวน 50 คน โดยจับคู่ให้มีระดับการศึกษาและรายได้ที่ระดับใกล้เคียงกัน เป็นกลุ่มละ 25 คน วิจัยโดยกลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติ ตามด้วยกลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมรูปแบบการให้ข้อมูลทางสุขภาพร่วมกับการฝึกอานาปานสติ เครื่องมือวิจัย คือ แผนกิจกรรมการให้ข้อมูลทางสุขภาพร่วมกับการฝึกอานาปานสติ แบบบันทึกรายงานตนเองหลังการฝึกอานาปานสติ และแบบสอบถามความเครียด... ผลการวิจัยพบว่า 1) ความเครียดในการดูแลเด็กโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวของผู้ดูแลในครอบครัวได้รับโปรแกรมรูปแบบการให้ข้อมูลทางสุขภาพร่วมกับการฝึกอานาปานสติน้อยกว่าก่อนได้รับโปรแกรม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.05 2) ความเครียดในการดูแลเด็กโรค ฯ กลุ่มที่ได้รับโปรแกรมรูปแบบการให้ข้อมูลทางสุขภาพร่วมกับการฝึกอานาปานสติน้อยกว่ากลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
ข้อเสนอแนะ จากการวิจัยในครั้งรี้ คือ พยาบาลผู้ให้การดูแลผู้ป่วยเด็กและผู้ดูแลในครอบครัว ควรมีบทบาทสำคัญในการประเมินปัญหาให้ความช่วยเหลือดูแลอย่างครอบคลุมเป็นองค์รวม โดยเฉพาะจิตใจและอารมณ์ ทั้งนี้ในการนำโปรแกรมไปประยุกต์ใช้ ผู้ใช้ควรมีพื้นฐานในการฝึกสมาธิแบบอานาปานสติ เพื่อให้เกิดทักษะและสามารถให้คำแนะนำแก่ผู้ดูแลในครอบครัวได้Link for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26732 ผลของโปรแกรมการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง และญาติผู้ดูแลในระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้านต่อความพร้อมในการดูแล / นันทกาญจน์ ปักษี in รามาธิบดีพยาบาลสาร, Vol.22 No.1 (Jan-Apr) 2016 ([06/14/2016])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง และญาติผู้ดูแลในระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้านต่อความพร้อมในการดูแล : ความเครียด การปรับตัว และความพึงพอใจต่อบริการที่ได้รับของญาติผู้ดูแล Material Type: printed text Authors: นันทกาญจน์ ปักษี, Author ; ยุพาพิน ศิรโพธิ์งาม, Author ; สุปรีดา มั่นคง, Author ; สิริรัตน์ ลีลาจรัส, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.65-79 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.22 No.1 (Jan-Apr) 2016 [06/14/2016] . - p.65-79Keywords: การดูแลผู้ป่วย.โรคหลอดเลือดสมอง.ความเครียด.การปรับตัว.ความพึงพอใจต่อบริการที่ได้รับ.ญาติผู้ป่วย.ผู้ดูแล. Link for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25545 [article] ผลของโปรแกรมการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง และญาติผู้ดูแลในระยะเปลี่ยนผ่านจากโรงพยาบาลสู่บ้านต่อความพร้อมในการดูแล : ความเครียด การปรับตัว และความพึงพอใจต่อบริการที่ได้รับของญาติผู้ดูแล [printed text] / นันทกาญจน์ ปักษี, Author ; ยุพาพิน ศิรโพธิ์งาม, Author ; สุปรีดา มั่นคง, Author ; สิริรัตน์ ลีลาจรัส, Author . - 2016 . - p.65-79.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)ผลของโปรแกรมการให้ความรู้และแรงสนับสนุนทางสังคมต่อความเครียดของมารดาหลังคลอด / กมลวรรณ ลีนะธรรม in วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยการจัดการ, Vol. 11 No. 1 (ม.ค-มิ.ย) 2557 ([09/30/2014])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมการให้ความรู้และแรงสนับสนุนทางสังคมต่อความเครียดของมารดาหลังคลอด Original title : The effect of health education program and social support stress of puerperium Material Type: printed text Authors: กมลวรรณ ลีนะธรรม, Author ; ธนิดา จุลย์วนิชพงษ์, Author Publication Date: 2014 Article on page: 1-11 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยการจัดการ > Vol. 11 No. 1 (ม.ค-มิ.ย) 2557 [09/30/2014] . - 1-11Keywords: ความเครียดมารดาหลังคลอด.โปรแกรมการให้ความรู้.แรงสนับสนุนทางสังคม. Link for e-copy: www.umt.ac.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23983 [article] ผลของโปรแกรมการให้ความรู้และแรงสนับสนุนทางสังคมต่อความเครียดของมารดาหลังคลอด = The effect of health education program and social support stress of puerperium [printed text] / กมลวรรณ ลีนะธรรม, Author ; ธนิดา จุลย์วนิชพงษ์, Author . - 2014 . - 1-11.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)