From this page you can:
Home |
Search results
3 result(s) search for keyword(s) 'การเรียนรู้จากการปฏิบัติ.สถาบันการศึกษาพยาบาล.'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
กลยุทธ์การบริหารเพื่อเสริมสร้างความสามารถในการเรียนรู้ / รุจิรา สืบสุข in วารสารเกื้อการุณย์, Vol.24 No.1 (Jan-Jun) 2017/60 ([07/25/2017])
[article]
Title : กลยุทธ์การบริหารเพื่อเสริมสร้างความสามารถในการเรียนรู้ : จากการปฏิบัติของอาจารย์ในสถาบันการศึกษาพยาบาล Original title : Management strategies to enhance action learning abilities of instructors in nursing schools Material Type: printed text Authors: รุจิรา สืบสุข, Author ; วลัยพร ศิริภิรมย์, Author ; พฤทธิ์ ศิริบรรณพิทักษ์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.7-27 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.24 No.1 (Jan-Jun) 2017/60 [07/25/2017] . - p.7-27Keywords: การเรียนรู้จากการปฏิบัติ.สถาบันการศึกษาพยาบาล. Abstract: วัคถุประสงค์เพื่อ
1. ศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ของการบริหาร
2. วิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และภาวะคุกคามของการบริหาร
3. พัฒนากลยุทธ์การบริหารโดยใช้วิธีวิจัยแบบผสมผสาน
กลุ่มตัวอย่าง
สถาบันการศึกษาพยาบาล จำนวน 26 แห่ง มีผู้ให้ข้อมูลจำนวน 366 คน
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ
แบบสอบถาม และแบบประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของกลยุทธ์ โดยได้ผ่านการทดสอบความตรงตามเนื้อหาเท่ากับ .85 และหาความเที่ยงด้วยการหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาคเท่ากับ .94
สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าดัชนี PNI modified
ผลการวิจัย พบว่า
1. สภาพปัจจุบันของการบริหารในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง สภาพที่พึงประสงค์การบริหารในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด
2. จุดแข็งของการบริหาร คือ การวางแผนและการเรียนรู้จากการปฏิบัติและแก้ไขปัญหาจากการทำงาน การเรียนรู้จากการปฎิบัติ การเรียนรู้จากการทำงาน การเรียนรู้จากการปฏืบัติเพื่อเรียนรู้กระบวนการเรียนรู้จากประสบการณ์ทำงาน จุดอ่อน คือ การนำแผนการสู่การปฏิบัติ และการประเมินผลเพื่อการเรีัยนรู้จากการปฏิบัติ การเรัียนรู้จากการปฏิบัติและพัฒนาการเรียนรู้เป็นรายบุคคล และเปลี่ยนแปลงการเรียนรู้ของบุคคลและองค์กร โอกาส คือ สภาพสังคม และเทคโยโลยี ภาวะคุกคาม คือ สภาพการเมืองและนโยบายของรัฐ และสภาพเศรษฐกิจ
3. กลยุทธฺการบริหารเพื่อเสริมสร้างความสามารถในการเรียนรู้้จากการปฏิบัติของอาจารย์ในสถาบันการศึกษาพยาบาล มี 3 กลยุทธ์ คือ (1) ออกแบบและวางแผนการเสริมสร้างความสามารถในการเรียนรู้จากการปฏิบัติของอาจารย์ โดยกำหนดให้อาจารย์ทำแผนการพัฒนาการเรียนรู้เป็นรายบุคคล เพื่อให้อาจารย์มีเป้าหมาย วิธีการ และระยะเวลาในการพัฒนาการเรียนรู้ตนเองอย่างต่อเนื่อง (2) ยกระดับการปฏิบัติการในการเสริมสร้างความสามารถในการเรัียนรู้จากการปฏิบัติของอาจารย์ โดยผู้บริหารและอาจารย์ร่วมกันสร้างระบบกลุ่ม ชุมชนนักปฏิบัติและใช้กระบวนการของการเรียนรู้จากการปฏิบัติเพื่อให้เกิดความเชี่ยวชาญของกลุ่ม (3) ยกระดับการประเมินการเสริมสร้างความสามารถในการเรียนรู้จากการปฏิบัติของอาจารย์ โดยสถาบันมีการกำหนดเกณฑ์ ผลลัพธ์ ตัวชี้วัดที่ชัดเจนในการเรียนรู้จากการปฏิบัติในทุกกิจกรรม/พันธกิจหลักของสถาบันในทุกมิติอย่างสม่ำเสมอLink for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27055 [article] กลยุทธ์การบริหารเพื่อเสริมสร้างความสามารถในการเรียนรู้ = Management strategies to enhance action learning abilities of instructors in nursing schools : จากการปฏิบัติของอาจารย์ในสถาบันการศึกษาพยาบาล [printed text] / รุจิรา สืบสุข, Author ; วลัยพร ศิริภิรมย์, Author ; พฤทธิ์ ศิริบรรณพิทักษ์, Author . - 2017 . - p.7-27.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.24 No.1 (Jan-Jun) 2017/60 [07/25/2017] . - p.7-27Keywords: การเรียนรู้จากการปฏิบัติ.สถาบันการศึกษาพยาบาล. Abstract: วัคถุประสงค์เพื่อ
1. ศึกษาสภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ของการบริหาร
2. วิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส และภาวะคุกคามของการบริหาร
3. พัฒนากลยุทธ์การบริหารโดยใช้วิธีวิจัยแบบผสมผสาน
กลุ่มตัวอย่าง
สถาบันการศึกษาพยาบาล จำนวน 26 แห่ง มีผู้ให้ข้อมูลจำนวน 366 คน
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ
แบบสอบถาม และแบบประเมินความเหมาะสมและความเป็นไปได้ของกลยุทธ์ โดยได้ผ่านการทดสอบความตรงตามเนื้อหาเท่ากับ .85 และหาความเที่ยงด้วยการหาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟาของครอนบาคเท่ากับ .94
สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าดัชนี PNI modified
ผลการวิจัย พบว่า
1. สภาพปัจจุบันของการบริหารในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง สภาพที่พึงประสงค์การบริหารในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด
2. จุดแข็งของการบริหาร คือ การวางแผนและการเรียนรู้จากการปฏิบัติและแก้ไขปัญหาจากการทำงาน การเรียนรู้จากการปฎิบัติ การเรียนรู้จากการทำงาน การเรียนรู้จากการปฏืบัติเพื่อเรียนรู้กระบวนการเรียนรู้จากประสบการณ์ทำงาน จุดอ่อน คือ การนำแผนการสู่การปฏิบัติ และการประเมินผลเพื่อการเรีัยนรู้จากการปฏิบัติ การเรัียนรู้จากการปฏิบัติและพัฒนาการเรียนรู้เป็นรายบุคคล และเปลี่ยนแปลงการเรียนรู้ของบุคคลและองค์กร โอกาส คือ สภาพสังคม และเทคโยโลยี ภาวะคุกคาม คือ สภาพการเมืองและนโยบายของรัฐ และสภาพเศรษฐกิจ
3. กลยุทธฺการบริหารเพื่อเสริมสร้างความสามารถในการเรียนรู้้จากการปฏิบัติของอาจารย์ในสถาบันการศึกษาพยาบาล มี 3 กลยุทธ์ คือ (1) ออกแบบและวางแผนการเสริมสร้างความสามารถในการเรียนรู้จากการปฏิบัติของอาจารย์ โดยกำหนดให้อาจารย์ทำแผนการพัฒนาการเรียนรู้เป็นรายบุคคล เพื่อให้อาจารย์มีเป้าหมาย วิธีการ และระยะเวลาในการพัฒนาการเรียนรู้ตนเองอย่างต่อเนื่อง (2) ยกระดับการปฏิบัติการในการเสริมสร้างความสามารถในการเรัียนรู้จากการปฏิบัติของอาจารย์ โดยผู้บริหารและอาจารย์ร่วมกันสร้างระบบกลุ่ม ชุมชนนักปฏิบัติและใช้กระบวนการของการเรียนรู้จากการปฏิบัติเพื่อให้เกิดความเชี่ยวชาญของกลุ่ม (3) ยกระดับการประเมินการเสริมสร้างความสามารถในการเรียนรู้จากการปฏิบัติของอาจารย์ โดยสถาบันมีการกำหนดเกณฑ์ ผลลัพธ์ ตัวชี้วัดที่ชัดเจนในการเรียนรู้จากการปฏิบัติในทุกกิจกรรม/พันธกิจหลักของสถาบันในทุกมิติอย่างสม่ำเสมอLink for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27055 SIU THE-T. รูปแบบการบริหารจัดการที่ส่งผลต่อความสำเร็จของสถาบันการศึกษาพยาบาล / รุ่งนภา กุลภักดี / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU THE-T Title : รูปแบบการบริหารจัดการที่ส่งผลต่อความสำเร็จของสถาบันการศึกษาพยาบาล Original title : Management Model Affecting the Success in Nursing Education Institutions Material Type: printed text Authors: รุ่งนภา กุลภักดี, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; อุษณีย์ เสวกวัชรี, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: xii, 255 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU THE-T: SOM-DBA-2017-10
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2560Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การบริหารจัดการ
[LCSH]ผู้นำ -- คุณลักษณะKeywords: ความสำเร็จของสถาบัน,
การบริหารจัดการ,
คุณลักษณะผู้นำ,
สถาบันการศึกษาพยาบาลAbstract: การวิจัยเชิงพรรณนานี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณและคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์หาความสัมพันธ์เชิงสาเหตุที่เกี่ยวข้องระหว่างคุณลักษณะผู้นำและการบริหารจัดการสถาบันที่ส่งผลต่อความสำเร็จของสถาบันการศึกษาพยาบาล และกำหนดรูปแบบการบริหารจัดการที่ส่งผลต่อความสำเร็จของสถาบันการศึกษาพยาบาล กลุ่มตัวอย่างคณบดี/ผู้อำนวยการและอาจารย์พยาบาลปฏิบัติหน้าที่บริหารงานของสถาบันการศึกษาพยาบาลในการวิจัยเชิงปริมาณ จำนวน 365 คน และการวิจัยเชิงคุณภาพ จำนวน 15 คน เครื่องมือที่ใช้คือแบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ ใช้สถิติเชิงพรรณนาได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบสมมติฐาน ได้แก่ สถิติวิเคราะห์เส้นทางอิทธิพล (path analysis) สถิติการวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้าง (structural equation modeling : SEM) และการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา (content analysis)
ผลการวิจัยพบว่า คุณลักษณะผู้นำของผู้บริหารมีอิทธิพลทางตรงกับการบริหารจัดการ (DE=1.18) และคุณลักษณะผู้นำของผู้บริหารมีอิทธิพลทางตรงและทางอ้อมกับความสำเร็จของสถาบันการศึกษาพยาบาล (DE=-.52, IE=1.67) ส่วนการบริหารจัดการมีอิทธิพลทางตรงกับความสำเร็จของสถาบันการศึกษาพยาบาล (DE=1.42) และโมเดลสมการโครงสร้างความสัมพันธ์เชิงสาเหตุที่เกี่ยวข้องระหว่างคุณลักษณะผู้นำของผู้บริหารและการบริหารจัดการที่ส่งผลต่อความสำเร็จของสถาบันการศึกษาพยาบาลที่พัฒนาขึ้นมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ (χ2=5.909, df=6, P=.433, CMIN/df=.985, GFI=.996, AGFI=.976, RMSEA=.000) ซึ่งสามารถอธิบายผลสำเร็จของสถาบันการศึกษาพยาบาลได้ร้อยละ 54.10 ผลการวิจัยเชิงคุณภาพสอดคล้องกับเชิงปริมาณในทุกมิติ และเสนอแนะให้พัฒนาคุณลักษณะผู้นำของผู้บริหารที่เอื้อต่อความสำเร็จของสถาบันการศึกษาพยาบาล รวมทั้งการรวมกลุ่มกันเป็นเครือข่ายเพื่อพัฒนาศักยภาพและกำหนดทิศทางการพัฒนาร่วมกันในการเสริมสร้างความแข็งแกร่งและความได้เปรียบในการแข่งขันให้กับสถาบันการศึกษาพยาบาลCurricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27547 SIU THE-T. รูปแบบการบริหารจัดการที่ส่งผลต่อความสำเร็จของสถาบันการศึกษาพยาบาล = Management Model Affecting the Success in Nursing Education Institutions [printed text] / รุ่งนภา กุลภักดี, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; อุษณีย์ เสวกวัชรี, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - xii, 255 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00
SIU THE-T: SOM-DBA-2017-10
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2560
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การบริหารจัดการ
[LCSH]ผู้นำ -- คุณลักษณะKeywords: ความสำเร็จของสถาบัน,
การบริหารจัดการ,
คุณลักษณะผู้นำ,
สถาบันการศึกษาพยาบาลAbstract: การวิจัยเชิงพรรณนานี้เป็นการวิจัยเชิงปริมาณและคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์หาความสัมพันธ์เชิงสาเหตุที่เกี่ยวข้องระหว่างคุณลักษณะผู้นำและการบริหารจัดการสถาบันที่ส่งผลต่อความสำเร็จของสถาบันการศึกษาพยาบาล และกำหนดรูปแบบการบริหารจัดการที่ส่งผลต่อความสำเร็จของสถาบันการศึกษาพยาบาล กลุ่มตัวอย่างคณบดี/ผู้อำนวยการและอาจารย์พยาบาลปฏิบัติหน้าที่บริหารงานของสถาบันการศึกษาพยาบาลในการวิจัยเชิงปริมาณ จำนวน 365 คน และการวิจัยเชิงคุณภาพ จำนวน 15 คน เครื่องมือที่ใช้คือแบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ ใช้สถิติเชิงพรรณนาได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบสมมติฐาน ได้แก่ สถิติวิเคราะห์เส้นทางอิทธิพล (path analysis) สถิติการวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้าง (structural equation modeling : SEM) และการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา (content analysis)
ผลการวิจัยพบว่า คุณลักษณะผู้นำของผู้บริหารมีอิทธิพลทางตรงกับการบริหารจัดการ (DE=1.18) และคุณลักษณะผู้นำของผู้บริหารมีอิทธิพลทางตรงและทางอ้อมกับความสำเร็จของสถาบันการศึกษาพยาบาล (DE=-.52, IE=1.67) ส่วนการบริหารจัดการมีอิทธิพลทางตรงกับความสำเร็จของสถาบันการศึกษาพยาบาล (DE=1.42) และโมเดลสมการโครงสร้างความสัมพันธ์เชิงสาเหตุที่เกี่ยวข้องระหว่างคุณลักษณะผู้นำของผู้บริหารและการบริหารจัดการที่ส่งผลต่อความสำเร็จของสถาบันการศึกษาพยาบาลที่พัฒนาขึ้นมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ (χ2=5.909, df=6, P=.433, CMIN/df=.985, GFI=.996, AGFI=.976, RMSEA=.000) ซึ่งสามารถอธิบายผลสำเร็จของสถาบันการศึกษาพยาบาลได้ร้อยละ 54.10 ผลการวิจัยเชิงคุณภาพสอดคล้องกับเชิงปริมาณในทุกมิติ และเสนอแนะให้พัฒนาคุณลักษณะผู้นำของผู้บริหารที่เอื้อต่อความสำเร็จของสถาบันการศึกษาพยาบาล รวมทั้งการรวมกลุ่มกันเป็นเครือข่ายเพื่อพัฒนาศักยภาพและกำหนดทิศทางการพัฒนาร่วมกันในการเสริมสร้างความแข็งแกร่งและความได้เปรียบในการแข่งขันให้กับสถาบันการศึกษาพยาบาลCurricular : BBA/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27547 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000596674 SIU THE-T: SOM-DBA-2017-10 c.1 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000596682 SIU THE-T: SOM-DBA-2017-10 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available รูปแบบการบริหารจัดการที่ส่งผลต่อความสำเร็จของ / รุ่งนภา กุลภักดี in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 ([08/21/2017])
[article]
Title : รูปแบบการบริหารจัดการที่ส่งผลต่อความสำเร็จของ : สถาบันการศึกษาพยาบาล Original title : Model of management that affect the success in the institute of nursing eduction Material Type: printed text Authors: รุ่งนภา กุลภักดี, Author ; ฃาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.129-148 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.129-148Keywords: สถาบันการศึกษาพยาบาล.รูปแบบการบริหารจัดการ.คุณลักษณะของผู้นำ.ความสำเร็จของสถาบันการศึกษาพยาบาล. Abstract:
Summary: การวิจัยเชิงพรรณานี้ เป็นการวิจัยเชิงปริมณและคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1.วิเคราะห์หาความสัมพันธ์เชิงสาหเหตุที่เกี่ยวข้องระหว่างคุณลักษณะผู้นำ และการบริหารจัดการสถาบันที่ส่งผลต่อความสำเร็จของสถาบันการศึกษาพยาบาล กลุ่มตัวอย่างคณบดี ผู้อำนวยการ และอาจารย์พยาบาลปฏืบัติหน้าที่บริหารงานของสถาบันการศึกษาพยาบาลในการวิจัยเชิงปริมาณ จำนวน 365 คน และการวิจัยเชิงคุณภาพ จำนวน 15 คน เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบสมมติฐาน ได้แก่ สถิติวิเคราะห์เส้นทางอิทธิพล (path analysis) สถิติการวิเเคราะห์โมดเสลสมการโครงสร้าง (SEM1) และการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา
ผลการวิจัย พบว่า คุณลักษณะผู้นำของผู้บริหารมีอิทธิพลทางตรงกับการบริหารจัดการ (DE=1.18) และคุณลักษณะผู้นำของผู้บริหารมีอิทธิพลทางตรงและทางอ้อมกับความสำเร็จของสถาบันการศึกษาพยาบาล (DE=1.42) และโมเดลสมการโครงสร้างความสัมพันธ์เชิงสาเหตุที่เกี่ยวข้องระหว่างคุณลักษณะผู้นำของผู้บริหารและการบริหารจัดการที่ส่งผลต่อความสำเร็จของสถาบันการศึกษาพยาบาลที่พัฒนาขึ้นมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ (X2 =5.909, df=6, P=.433, CMIN/df =.985, GFI=.996, AGFI =.976, RMSEA =.000) ซึ่งสามารถอธืบายผลสำเร็จของสถาบันการศึกษาพยาบาลได้ร้อยละ 54.10
ผลการวิจัยเชิงคุณภาพ สอดคล้องกับเชิงปริมาณในทุกมิติ และเสนอแนะให้พัฒนาคุณลักษณะผู้นำของผู้บริหารที่เอื้อต่อความสำเร็จของสถาบันการศึกษาพยาบาล รวมทั้งการรวมกลุ่มกันเป็นเครือข่ายเพื่อพัฒนาศักยภาพ และกำหนดทิศทางการพัฒนาร่วมกันในการเสริมสร้างความแข็งแกร่งและความได้เปรียบในการแข่งขันให้กับสถาบันการศึกษาพยาบาล
Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27237 [article] รูปแบบการบริหารจัดการที่ส่งผลต่อความสำเร็จของ = Model of management that affect the success in the institute of nursing eduction : สถาบันการศึกษาพยาบาล [printed text] / รุ่งนภา กุลภักดี, Author ; ฃาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Author . - 2017 . - p.129-148.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.2 (May-Aug) 2560 [08/21/2017] . - p.129-148Keywords: สถาบันการศึกษาพยาบาล.รูปแบบการบริหารจัดการ.คุณลักษณะของผู้นำ.ความสำเร็จของสถาบันการศึกษาพยาบาล. Abstract:
Summary: การวิจัยเชิงพรรณานี้ เป็นการวิจัยเชิงปริมณและคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1.วิเคราะห์หาความสัมพันธ์เชิงสาหเหตุที่เกี่ยวข้องระหว่างคุณลักษณะผู้นำ และการบริหารจัดการสถาบันที่ส่งผลต่อความสำเร็จของสถาบันการศึกษาพยาบาล กลุ่มตัวอย่างคณบดี ผู้อำนวยการ และอาจารย์พยาบาลปฏืบัติหน้าที่บริหารงานของสถาบันการศึกษาพยาบาลในการวิจัยเชิงปริมาณ จำนวน 365 คน และการวิจัยเชิงคุณภาพ จำนวน 15 คน เครื่องมือที่ใช้ คือ แบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบสมมติฐาน ได้แก่ สถิติวิเคราะห์เส้นทางอิทธิพล (path analysis) สถิติการวิเเคราะห์โมดเสลสมการโครงสร้าง (SEM1) และการวิเคราะห์เชิงเนื้อหา
ผลการวิจัย พบว่า คุณลักษณะผู้นำของผู้บริหารมีอิทธิพลทางตรงกับการบริหารจัดการ (DE=1.18) และคุณลักษณะผู้นำของผู้บริหารมีอิทธิพลทางตรงและทางอ้อมกับความสำเร็จของสถาบันการศึกษาพยาบาล (DE=1.42) และโมเดลสมการโครงสร้างความสัมพันธ์เชิงสาเหตุที่เกี่ยวข้องระหว่างคุณลักษณะผู้นำของผู้บริหารและการบริหารจัดการที่ส่งผลต่อความสำเร็จของสถาบันการศึกษาพยาบาลที่พัฒนาขึ้นมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ (X2 =5.909, df=6, P=.433, CMIN/df =.985, GFI=.996, AGFI =.976, RMSEA =.000) ซึ่งสามารถอธืบายผลสำเร็จของสถาบันการศึกษาพยาบาลได้ร้อยละ 54.10
ผลการวิจัยเชิงคุณภาพ สอดคล้องกับเชิงปริมาณในทุกมิติ และเสนอแนะให้พัฒนาคุณลักษณะผู้นำของผู้บริหารที่เอื้อต่อความสำเร็จของสถาบันการศึกษาพยาบาล รวมทั้งการรวมกลุ่มกันเป็นเครือข่ายเพื่อพัฒนาศักยภาพ และกำหนดทิศทางการพัฒนาร่วมกันในการเสริมสร้างความแข็งแกร่งและความได้เปรียบในการแข่งขันให้กับสถาบันการศึกษาพยาบาล
Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27237