From this page you can:
Home |
Search results
11 result(s) search for keyword(s) 'การรับรู้พลังอำนาจ.ความรู้.อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน.พฤติกรรมการเยี่ยมบ้าน.ความดันโลหิตสูง.'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการเยี่ยมบ้านผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ขาดนัด / ประภัสสร เกียรติลือเดช in วารสารพยาบาลสาธารณสุข, Vol.31 No. (พิเศษ) พ.ค-ส.ค 2560 ([10/12/2017])
SIU IS-T. ปัจจัยที่มีผลต่อการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีของเจ้าหน้าที่ตำรวจกองกำกับการ 4 กองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์ กองบัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง สำนักงานตำรวจแห่งชาติ / ปิติทัต กงทอง / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2016
Collection Title: SIU IS-T Title : ปัจจัยที่มีผลต่อการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีของเจ้าหน้าที่ตำรวจกองกำกับการ 4 กองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์ กองบัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง สำนักงานตำรวจแห่งชาติ Original title : Factors that Effected for Preventing and Suppressing of Prostitution of Police Sub-Division 4 ATI-Human Trafficking Division, Central Investigation Bureau, Royal Thai Police Material Type: printed text Authors: ปิติทัต กงทอง, Author ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name ; วรเดช จันทรศร, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2016 Pagination: viii, 88 น. Layout: ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-16
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]กองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์ -- ข้าราชการตำรวจ
[LCSH]การค้ามนุษย์ -- การป้องกันKeywords: การป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณี
ความผูกพันกับองค์การ
ทัศนคติของผู้บังคับบัญชา
ความรู้ความเข้าใจของเจ้าหน้าที่
การสื่อสารAbstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีของเจ้าหน้าที่ตำรวจกองกำกับการ 4 กองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์ กองบัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง สำนักงานตำรวจแห่งชาติ 2) เพื่อศึกษาเปรียบเทียบปัจจัยด้านประชากรศาสตร์กับปัจจัยด้านการปฏิบัติงานการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีของเจ้าหน้าที่ตำรวจกองกำกับการ 4 กองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์ กองบัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง สำนักงานตำรวจแห่งชาติ 3) เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาการปฏิบัติงานการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีของเจ้าหน้าที่ตำรวจ กองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์ กองบัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง สำนักงานตำรวจแห่งชาติ โดยผู้วิจัยใช้วิธีการศึกษาวิจัยเชิงปริมาณ ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยทางด้านประชากรศาสตร์ มีผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชาย ในการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการตำรวจส่วนใหญ่มีอายุระหว่าง 36-45 ปีขึ้นไป ได้มีการสมรสแล้วเป็นส่วนใหญ่และส่วนใหญ่สำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรี และมีรายได้ส่วนใหญ่อยู่ระหว่าง 10,001 – 20,000 บาท โดยส่วนใหญ่มีประสบการณ์การทำงานอยู่ระหว่าง 16-20 ปี และจากการศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีของเจ้าหน้าที่ตำรวจกองกำกับการ 4 กองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์ กองบัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง สำนักงานตำรวจแห่งชาติ สรุปผลการวิจัยแต่ละปัจจัยหลักมีลำดับความสำคัญดังนี้คือ ลำดับแรก ได้แก่ ด้านความผูกพันสัมพันธ์กับองค์การมีความสำคัญ ลำดับที่สอง ได้แก่ ด้านความรู้ความเข้าใจของเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน ลำดับที่สาม ได้แก่ ด้านทัศนคติของผู้บังคับบัญชา ลำดับที่สี่ ด้านการสื่อสาร วัสดุอุปกรณ์และเครื่องมือเครื่องใช้ โดยทั้งสี่ลำดับนี้ เป็นปัจจัยที่ผู้ตอบแบบอบถามให้ความสำคัญอยู่ระดับมาก ลำดับที่สี่ ได้แก่ ด้านอัตรากำลังเจ้าหน้าที่ และลำดับสุดท้าย ได้แก่ ด้านการจัดสรรงบประมาณ เป็นปัจจัยที่ผู้ตอบแบบสอบถามให้ความสำคัญอยู่ในระดับปานกลาง ข้อเสนอแนะในการนำผลการศึกษาค้นคว้าไปใช้ คือ ส่งเสริมและสนับสนุนให้ข้าราชการตำรวจที่ปฏิบัติงานการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีมีความพร้อมในการปฏิบัติงาน โดยการพัฒนาศักยภาพและส่งเสริมให้มีความพร้อมในเรื่องการสร้างประสบการณ์ในการทำงานด้านการป้องกันและการปราบปรามการค้าประเวณี การเสริมรายได้ไปพร้อม ๆ กับการวางแผนการใช้จ่ายต่อเดือน ส่งเสริมให้ลาศึกษาต่อและฝึกอบรมในด้านที่เกี่ยวข้อง สนับสนุนให้ปฏิบัติงานในหน่วยงานที่เหมาะสม และส่งเสริมให้มีความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน รวมทั้งส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการดำเนินงานใน ปัจจัยต่าง ๆ คือ ปัจจัยทางด้านนโยบาย ด้านมาตรการการปฏิบัติ
ด้านกฎหมาย ด้านงบประมาณ ด้านการบริหารจัดการ และด้านบุคลากร ได้แก่ การทบทวนนโยบาย มาตรการ การจัดระบบขั้นตอนที่เกี่ยวข้องให้เอื้อต่อการปฏิบัติงานการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณี การให้รางวัลและการคุ้มครองเป็นพิเศษแก่เจ้าหน้าที่ของภาครัฐและประชาชนที่ให้ความร่วมมือในการปราบปรามการค้าประเวณี การประชาสัมพันธ์ให้ความรู้การป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีและการแสวงหาแนวร่วมภาคประชาชน ในการป้องกันปราบปรามการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีให้มากขึ้น โดยการสร้างความร่วมมือกับองค์การ ภาคีต่าง ๆ ทั้ง ภาครัฐ ประชาชน ชุมชน และภาคเอกชน การเตรียมความพร้อมของบุคลากรทั้งจำนวนที่เหมาะสมและการพัฒนาศักยภาพให้บุคลากรมีความรู้ความสามารถในการดำเนินงาน ตลอดจนมีความพร้อมทั้งทางร่างกาย จิตใจ สังคมCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26537 SIU IS-T. ปัจจัยที่มีผลต่อการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีของเจ้าหน้าที่ตำรวจกองกำกับการ 4 กองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์ กองบัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง สำนักงานตำรวจแห่งชาติ = Factors that Effected for Preventing and Suppressing of Prostitution of Police Sub-Division 4 ATI-Human Trafficking Division, Central Investigation Bureau, Royal Thai Police [printed text] / ปิติทัต กงทอง, Author ; อุมาหฤทัย วรรณศรี, Associated Name ; วรเดช จันทรศร, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016 . - viii, 88 น. : ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-16
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2016.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]กองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์ -- ข้าราชการตำรวจ
[LCSH]การค้ามนุษย์ -- การป้องกันKeywords: การป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณี
ความผูกพันกับองค์การ
ทัศนคติของผู้บังคับบัญชา
ความรู้ความเข้าใจของเจ้าหน้าที่
การสื่อสารAbstract: การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีของเจ้าหน้าที่ตำรวจกองกำกับการ 4 กองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์ กองบัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง สำนักงานตำรวจแห่งชาติ 2) เพื่อศึกษาเปรียบเทียบปัจจัยด้านประชากรศาสตร์กับปัจจัยด้านการปฏิบัติงานการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีของเจ้าหน้าที่ตำรวจกองกำกับการ 4 กองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์ กองบัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง สำนักงานตำรวจแห่งชาติ 3) เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาการปฏิบัติงานการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีของเจ้าหน้าที่ตำรวจ กองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์ กองบัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง สำนักงานตำรวจแห่งชาติ โดยผู้วิจัยใช้วิธีการศึกษาวิจัยเชิงปริมาณ ผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยทางด้านประชากรศาสตร์ มีผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชาย ในการปฏิบัติหน้าที่ของข้าราชการตำรวจส่วนใหญ่มีอายุระหว่าง 36-45 ปีขึ้นไป ได้มีการสมรสแล้วเป็นส่วนใหญ่และส่วนใหญ่สำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาตรี และมีรายได้ส่วนใหญ่อยู่ระหว่าง 10,001 – 20,000 บาท โดยส่วนใหญ่มีประสบการณ์การทำงานอยู่ระหว่าง 16-20 ปี และจากการศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีของเจ้าหน้าที่ตำรวจกองกำกับการ 4 กองบังคับการปราบปรามการค้ามนุษย์ กองบัญชาการตำรวจสอบสวนกลาง สำนักงานตำรวจแห่งชาติ สรุปผลการวิจัยแต่ละปัจจัยหลักมีลำดับความสำคัญดังนี้คือ ลำดับแรก ได้แก่ ด้านความผูกพันสัมพันธ์กับองค์การมีความสำคัญ ลำดับที่สอง ได้แก่ ด้านความรู้ความเข้าใจของเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงาน ลำดับที่สาม ได้แก่ ด้านทัศนคติของผู้บังคับบัญชา ลำดับที่สี่ ด้านการสื่อสาร วัสดุอุปกรณ์และเครื่องมือเครื่องใช้ โดยทั้งสี่ลำดับนี้ เป็นปัจจัยที่ผู้ตอบแบบอบถามให้ความสำคัญอยู่ระดับมาก ลำดับที่สี่ ได้แก่ ด้านอัตรากำลังเจ้าหน้าที่ และลำดับสุดท้าย ได้แก่ ด้านการจัดสรรงบประมาณ เป็นปัจจัยที่ผู้ตอบแบบสอบถามให้ความสำคัญอยู่ในระดับปานกลาง ข้อเสนอแนะในการนำผลการศึกษาค้นคว้าไปใช้ คือ ส่งเสริมและสนับสนุนให้ข้าราชการตำรวจที่ปฏิบัติงานการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีมีความพร้อมในการปฏิบัติงาน โดยการพัฒนาศักยภาพและส่งเสริมให้มีความพร้อมในเรื่องการสร้างประสบการณ์ในการทำงานด้านการป้องกันและการปราบปรามการค้าประเวณี การเสริมรายได้ไปพร้อม ๆ กับการวางแผนการใช้จ่ายต่อเดือน ส่งเสริมให้ลาศึกษาต่อและฝึกอบรมในด้านที่เกี่ยวข้อง สนับสนุนให้ปฏิบัติงานในหน่วยงานที่เหมาะสม และส่งเสริมให้มีความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน รวมทั้งส่งเสริมและสนับสนุนให้มีการดำเนินงานใน ปัจจัยต่าง ๆ คือ ปัจจัยทางด้านนโยบาย ด้านมาตรการการปฏิบัติ
ด้านกฎหมาย ด้านงบประมาณ ด้านการบริหารจัดการ และด้านบุคลากร ได้แก่ การทบทวนนโยบาย มาตรการ การจัดระบบขั้นตอนที่เกี่ยวข้องให้เอื้อต่อการปฏิบัติงานการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณี การให้รางวัลและการคุ้มครองเป็นพิเศษแก่เจ้าหน้าที่ของภาครัฐและประชาชนที่ให้ความร่วมมือในการปราบปรามการค้าประเวณี การประชาสัมพันธ์ให้ความรู้การป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีและการแสวงหาแนวร่วมภาคประชาชน ในการป้องกันปราบปรามการป้องกันและปราบปรามการค้าประเวณีให้มากขึ้น โดยการสร้างความร่วมมือกับองค์การ ภาคีต่าง ๆ ทั้ง ภาครัฐ ประชาชน ชุมชน และภาคเอกชน การเตรียมความพร้อมของบุคลากรทั้งจำนวนที่เหมาะสมและการพัฒนาศักยภาพให้บุคลากรมีความรู้ความสามารถในการดำเนินงาน ตลอดจนมีความพร้อมทั้งทางร่างกาย จิตใจ สังคมCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26537 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000591790 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-16 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000591808 SIU IS-T: IPAG-MPA-2016-16 c.1 SIU Independent Study Main Library Thesis Corner Available SIU THE-T. ปัจจัยอธิบายความสำเร็จของการปฏิบัติงานของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) / เฟื่องวิทย์ ชูตินันท์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2019
Collection Title: SIU THE-T Title : ปัจจัยอธิบายความสำเร็จของการปฏิบัติงานของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) Original title : Factors Explaining the Success of the Village Public Health Volunteer Work (VHV.) Material Type: printed text Authors: เฟื่องวิทย์ ชูตินันท์, Author ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2019 Pagination: viii, 237 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-02
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ความสำเร็จ
[LCSH]อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน -- การปฏิบัติงานKeywords: ความสำเร็จ,
การปฏิบัติงาน,
อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ระดับความสำเร็จของการปฏิบัติงานของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน สังกัดสำนักงานเขตสุขภาพที่ 4 2) ปัจจัยอธิบายความสำเร็จของการปฏิบัติงานและ 3) นำเสนอข้อเสนอเชิงนโยบายการบริหารงานการบริการสาธารณสุขมูลฐาน เป็นการวิจัยแบบผสม กลุ่มตัวอย่างเชิงปริมาณได้แก่ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) จำนวน 398 คน และเชิงคุณภาพเก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึกจากผู้ให้ข้อมูลสำคัญคือ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ดีเด่น ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล สาธารณสุขอำเภอ สาธารณสุขจังหวัด นายกองค์การบริหารส่วนตำบล จำนวน 40 คน วิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงพรรณนา ทดสอบความสัมพันธ์ของตัวแปรและทดสอบสมมติฐานด้วยการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัย พบว่า ความสำเร็จของการปฏิบัติงานของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) อยู่ในระดับดี ปัจจัยที่สามารถอธิบายการปฏิบัติงาน ได้แก่ ปัจจัยด้านแรงจูงใจ ภาวะผู้นำ การจัดองค์กรแห่งการเรียนรู้ การสื่อสารและการประสานงาน การนิเทศและประเมินผล การจัดสรรงบประมาณ ด้านกฎหมาย และด้านกลไกทางการเมือง สามารถอธิบายความสำเร็จของการปฏิบัติงานของ อสม. ได้ในระดับมาก โดยปัจจัยด้านกฎหมาย และปัจจัยด้านกลไกทางการเมือง เป็นตัวพยากรณ์ที่ดีที่สุด สามารถพยากรณ์ความสำเร็จของการปฏิบัติงานของ อสม. สังกัดสำนักงานเขตสุขภาพที่ 4 ได้ร้อยละ 55.70 โดยมีข้อเสนอเชิงนโยบาย คือ 1) รัฐควรกำหนดเป็นนโยบายสำคัญสนับสนุน อสม. ในการพัฒนาสุขภาพพลเมือง สร้างและพัฒนาเครือข่ายเชื่อมโยงกับประชาชนในการเสริมสร้างสุขภาวะอย่างทั่วถึงและเท่าเทียม รวมทั้งสร้างสรรค์นวัตกรรมบริการสาธารณสุขเพื่อพัฒนาให้สอดคล้องกับการพัฒนาประเทศยุค 4.0 2) ในการกำหนดนโยบายรัฐควรคำนึงถึงการบูรณาการองค์ความรู้จากทฤษฎี และประสบการณ์จากอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27940 SIU THE-T. ปัจจัยอธิบายความสำเร็จของการปฏิบัติงานของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) = Factors Explaining the Success of the Village Public Health Volunteer Work (VHV.) [printed text] / เฟื่องวิทย์ ชูตินันท์, Author ; ไชยวัฒน์ ค้ำชู, Associated Name ; อติพร เกิดเรือง, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019 . - viii, 237 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-02
Thesis. [DPA [รัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต.ปร.ด]] มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ความสำเร็จ
[LCSH]อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน -- การปฏิบัติงานKeywords: ความสำเร็จ,
การปฏิบัติงาน,
อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านAbstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ระดับความสำเร็จของการปฏิบัติงานของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน สังกัดสำนักงานเขตสุขภาพที่ 4 2) ปัจจัยอธิบายความสำเร็จของการปฏิบัติงานและ 3) นำเสนอข้อเสนอเชิงนโยบายการบริหารงานการบริการสาธารณสุขมูลฐาน เป็นการวิจัยแบบผสม กลุ่มตัวอย่างเชิงปริมาณได้แก่ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) จำนวน 398 คน และเชิงคุณภาพเก็บข้อมูลโดยการสัมภาษณ์เชิงลึกจากผู้ให้ข้อมูลสำคัญคือ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ดีเด่น ผู้อำนวยการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล สาธารณสุขอำเภอ สาธารณสุขจังหวัด นายกองค์การบริหารส่วนตำบล จำนวน 40 คน วิเคราะห์ข้อมูลใช้สถิติเชิงพรรณนา ทดสอบความสัมพันธ์ของตัวแปรและทดสอบสมมติฐานด้วยการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัย พบว่า ความสำเร็จของการปฏิบัติงานของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) อยู่ในระดับดี ปัจจัยที่สามารถอธิบายการปฏิบัติงาน ได้แก่ ปัจจัยด้านแรงจูงใจ ภาวะผู้นำ การจัดองค์กรแห่งการเรียนรู้ การสื่อสารและการประสานงาน การนิเทศและประเมินผล การจัดสรรงบประมาณ ด้านกฎหมาย และด้านกลไกทางการเมือง สามารถอธิบายความสำเร็จของการปฏิบัติงานของ อสม. ได้ในระดับมาก โดยปัจจัยด้านกฎหมาย และปัจจัยด้านกลไกทางการเมือง เป็นตัวพยากรณ์ที่ดีที่สุด สามารถพยากรณ์ความสำเร็จของการปฏิบัติงานของ อสม. สังกัดสำนักงานเขตสุขภาพที่ 4 ได้ร้อยละ 55.70 โดยมีข้อเสนอเชิงนโยบาย คือ 1) รัฐควรกำหนดเป็นนโยบายสำคัญสนับสนุน อสม. ในการพัฒนาสุขภาพพลเมือง สร้างและพัฒนาเครือข่ายเชื่อมโยงกับประชาชนในการเสริมสร้างสุขภาวะอย่างทั่วถึงและเท่าเทียม รวมทั้งสร้างสรรค์นวัตกรรมบริการสาธารณสุขเพื่อพัฒนาให้สอดคล้องกับการพัฒนาประเทศยุค 4.0 2) ในการกำหนดนโยบายรัฐควรคำนึงถึงการบูรณาการองค์ความรู้จากทฤษฎี และประสบการณ์จากอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27940 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607992 SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-02 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available 32002000607989 SIU THE-T: IPAG-DPA-2019-02 c.2 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available การศึกษาติดตาม: ความรู้ ทัศนคติ พฤติกรรมการบริโภคอาหารและ ภาวะโภชนาการของผู้ที่มีน้ำหนักเกินในชุมชนที่เข้าร่วมโปรแกรม / สาคร เหล็กแย้ม in วารสารสภาการพยาบาล, Vol.32 No.2 (Apr-Jun) 2017-2560 ([09/21/2017])
[article]
Title : การศึกษาติดตาม: ความรู้ ทัศนคติ พฤติกรรมการบริโภคอาหารและ ภาวะโภชนาการของผู้ที่มีน้ำหนักเกินในชุมชนที่เข้าร่วมโปรแกรม : การให้คำปรึกษาด้านโภชนาการและชุมชนสัมพันธ Material Type: printed text Authors: สาคร เหล็กแย้ม, Author ; นพวรรณ เปียซื่อ, Author ; สุจินดา จารุพัฒน์ มารุโอ, Author ; ผจงจิต ไกรถาวร, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.126-137 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.32 No.2 (Apr-Jun) 2017-2560 [09/21/2017] . - p.126-137Keywords: ความรู้. ทัศนคติ. พฤติกรรมการบริโภคอาหาร. ภาวะน้ำหนักเกิน. โปรแกรมให้คำปรึกษาด้านโภชนาการและชุมชนสัมพันธ. Abstract: วัตถุประสงค์: ของการวิจัย เพื่อเปรียบเทียบ ความรู้ ทัศนคติ พฤติกรรมการบริโภคอาหาร
ของผู้ที่มีน้ำหนักเกินในชุมชน ก่อนและหลังเข้าร่วมโปรแกรมให้คำปรึกษาด้านโภชนาการและชุมชน
สัมพันธ์ในระยะ 3 เดือน และเปรียบเทียบภาวะโภชนาการ ของผู้ที่มีน้ำหนักเกิน ก่อนและหลัง
เข้าร่วมโปรแกรมในระยะ 3 เดือน 6 เดือน และ1 ปี
การออกแบบวิจัย : การวิจัยเชิงพรรณนาติดตามระยะยาว
การดำเนินการวิจัย : ตัวอย่างจำนวน 79 คน เลือกแบบเฉพาะเจาะจง และได้รับโปรแกรม
ให้คำปรึกษาด้านโภชนาการและชุมชนสัมพันธ์ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามและการ
ประเมินภาวะโภชนาการ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย และสถิติอ้างอิง
ผลการวิจัย: ผลการทดสอบทีคู่พบว่าหลังเข้าร่วมโปรแกรม 3 เดือน ค่าเฉลี่ยของความรู้
ทัศนคติ พฤติกรรมการบริโภคอาหาร ของตัวอย่างดีกว่าก่อนได้รับโปรแกรม (p < .001) ผลสถิติ
วิเคราะห์ความแปรปรวนแบบวัดซ้ำภาวะโภชนาการหลังเข้าร่วมโปรแกรม 3 เดือน 6 เดือน และ 1 ปี
ดีกว่า พบว่าค่าเฉลี่ยของดัชนีมวลกาย ( p <.001) ค่าเฉลี่ยของเส้นรอบเอว ( p< .001) ค่าเฉลี่ยของ
ระดับน้ำตาลในเลือด (p<.001) และค่าเฉลี่ยปริมาณไขมันสะสมในร่างกาย ( p< .001) น้อยกว่าก่อน
เข้าร่วมโปรแกรม
ข้อเสนอแนะ : พยาบาลเวชปฏิบัติชุมชนควรปรับใช้โปรแกรมการให้คำปรึกษาด้านโภชนาการ
และชุมชนสัมพันธ์ ในการประเมินและส่งเสริมพฤติกรรมการบริโภคอาหารของประชาชนในชุมชน
ที่มีน้ำหนักเกิน รวมทั้งวางแผน หาแนวทางที่เหมาะสมให้สอดคล้องกับบริบทของแต่ละชุมชน ติดตาม
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารและภาวะโภชนาการอย่างต่อเนื่อง ซึ่งจะส่งผลต่อภาวะ
โภชนาการที่เหมาะสมและยั่งยืน
Link for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27360 [article] การศึกษาติดตาม: ความรู้ ทัศนคติ พฤติกรรมการบริโภคอาหารและ ภาวะโภชนาการของผู้ที่มีน้ำหนักเกินในชุมชนที่เข้าร่วมโปรแกรม : การให้คำปรึกษาด้านโภชนาการและชุมชนสัมพันธ [printed text] / สาคร เหล็กแย้ม, Author ; นพวรรณ เปียซื่อ, Author ; สุจินดา จารุพัฒน์ มารุโอ, Author ; ผจงจิต ไกรถาวร, Author . - 2017 . - p.126-137.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.32 No.2 (Apr-Jun) 2017-2560 [09/21/2017] . - p.126-137Keywords: ความรู้. ทัศนคติ. พฤติกรรมการบริโภคอาหาร. ภาวะน้ำหนักเกิน. โปรแกรมให้คำปรึกษาด้านโภชนาการและชุมชนสัมพันธ. Abstract: วัตถุประสงค์: ของการวิจัย เพื่อเปรียบเทียบ ความรู้ ทัศนคติ พฤติกรรมการบริโภคอาหาร
ของผู้ที่มีน้ำหนักเกินในชุมชน ก่อนและหลังเข้าร่วมโปรแกรมให้คำปรึกษาด้านโภชนาการและชุมชน
สัมพันธ์ในระยะ 3 เดือน และเปรียบเทียบภาวะโภชนาการ ของผู้ที่มีน้ำหนักเกิน ก่อนและหลัง
เข้าร่วมโปรแกรมในระยะ 3 เดือน 6 เดือน และ1 ปี
การออกแบบวิจัย : การวิจัยเชิงพรรณนาติดตามระยะยาว
การดำเนินการวิจัย : ตัวอย่างจำนวน 79 คน เลือกแบบเฉพาะเจาะจง และได้รับโปรแกรม
ให้คำปรึกษาด้านโภชนาการและชุมชนสัมพันธ์ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามและการ
ประเมินภาวะโภชนาการ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย และสถิติอ้างอิง
ผลการวิจัย: ผลการทดสอบทีคู่พบว่าหลังเข้าร่วมโปรแกรม 3 เดือน ค่าเฉลี่ยของความรู้
ทัศนคติ พฤติกรรมการบริโภคอาหาร ของตัวอย่างดีกว่าก่อนได้รับโปรแกรม (p < .001) ผลสถิติ
วิเคราะห์ความแปรปรวนแบบวัดซ้ำภาวะโภชนาการหลังเข้าร่วมโปรแกรม 3 เดือน 6 เดือน และ 1 ปี
ดีกว่า พบว่าค่าเฉลี่ยของดัชนีมวลกาย ( p <.001) ค่าเฉลี่ยของเส้นรอบเอว ( p< .001) ค่าเฉลี่ยของ
ระดับน้ำตาลในเลือด (p<.001) และค่าเฉลี่ยปริมาณไขมันสะสมในร่างกาย ( p< .001) น้อยกว่าก่อน
เข้าร่วมโปรแกรม
ข้อเสนอแนะ : พยาบาลเวชปฏิบัติชุมชนควรปรับใช้โปรแกรมการให้คำปรึกษาด้านโภชนาการ
และชุมชนสัมพันธ์ ในการประเมินและส่งเสริมพฤติกรรมการบริโภคอาหารของประชาชนในชุมชน
ที่มีน้ำหนักเกิน รวมทั้งวางแผน หาแนวทางที่เหมาะสมให้สอดคล้องกับบริบทของแต่ละชุมชน ติดตาม
การปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารและภาวะโภชนาการอย่างต่อเนื่อง ซึ่งจะส่งผลต่อภาวะ
โภชนาการที่เหมาะสมและยั่งยืน
Link for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27360 ความสัมพันธ์ของความแตกฉานทางสุขภาพ ผลจากการได้รับความรู้ เกี่ยวกับสุขภาพ และอิทธิพลทางสังคมกับผลลัพธ์ทางคลินิกของผู้ป่วย / นภาพร วาณิชย์กุล in วารสารสภาการพยาบาล, Vol.32 No.2 (Apr-Jun) 2017-2560 ([09/21/2017])
[article]
Title : ความสัมพันธ์ของความแตกฉานทางสุขภาพ ผลจากการได้รับความรู้ เกี่ยวกับสุขภาพ และอิทธิพลทางสังคมกับผลลัพธ์ทางคลินิกของผู้ป่วย : โรคเบาหวานชนิดที่ 2 และ/หรือความดันโลหิตสูง Original title : Health Literacy, Health Education Outcomes and Social Influence, and Their Relationships with Type-2 Diabetes and/or Hypertension Patients’ Clinical Outcomes* Material Type: printed text Authors: นภาพร วาณิชย์กุล, Author ; สุขมาพร พึ่งผาสุก, Author ; ทิพา ต่อสกุลแก้ว, Author ; เกศรินทร์ อุทริยะประสิทธิ์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.111-115 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.32 No.2 (Apr-Jun) 2017-2560 [09/21/2017] . - p.111-115Keywords: ความแตกฉานทางสุขภาพ. ผลจากการได้รับความรู้เกี่ยวกับสุขภาพ. อิทธิพลทางสังคมผลลัพธ์ทางคลินิก. เบาหวานชนิดที่ 2. ความดันโลหิตสูง. Abstract: วัตถุประสงค์ของการวิจัย: เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของความแตกฉานทางสุขภาพ ผลจาก
การได้รับความรู้เกี่ยวกับสุขภาพ และอิทธิพลทางสังคม กับผลลัพธ์ทางคลินิกในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 และ/ หรือความดันโลหิตสูงการออกแบบวิจัย: การวิจัยเชิงบรรยายวิเคราะห์ความสัมพันธ์
วิธีการดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างจำนวน 205 ราย เป็นผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 และ/ หรือความดันโลหิตสูง ของแผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลระดับทุติยภูมิ 3 แห่ง ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือเครื่องมือในการวิจัยประกอบด้วย แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคลและผลลัพธ์ทางคลินิก แบบสอบถามความแตกฉานทางสุขภาพ ผลจากการได้รับความรู้เกี่ยวกับสุขภาพ และอิทธิพลทางสังคม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงบรรยายและสถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบสเปียร์แมนผลการวิจัย: พบว่ากลุ่มตัวอย่างมีอายุเฉลี่ย 60.8 ปี (SD =12.3)57.1% เป็นเพศหญิง และมีโรคประจำตัวอย่างน้อย 2 โรค (67.8%) สามารถควบคุมโรคได้ดี 38.6% มีความแตกฉานทางสุขภาพอยู่ในระดับปานกลาง (mean ± SD = 2.25 ± 0.65 คะแนน) ผลจากการได้รับความรู้เกี่ยวกับสุขภาพอยู่ในระดับสูง (mean ± SD = 3.57 ± 0.43 คะแนน) อิทธิพลทางสังคมมีระดับปานกลาง(mean ± SD = 2.53 + 0.4 คะแนน) และผลลัพธ์ทางคลินิกอยู่ในระดับต่ำ (mean ± SD = 1.36 ± 1.5)ความแตกฉานทางสุขภาพ อิทธิพลทางสังคม และผลจากการได้รับความรู้เกี่ยวกับสุขภาพ มีความสัมพันธ์ทางลบกับผลลัพธ์ทางคลินิกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติข้อเสนอแนะ: บุคลากรทางการแพทย์ควรประเมินความแตกฉานทางสุขภาพ ผลจากการได้รับความรู้เกี่ยวกับสุขภาพ อิทธิพลทางสังคม ของผู้ป่วยเพื่อใช้ในการวางแผนการพยาบาลในการพัฒนาผลลัพธ์ทางคลินิกของผู้ป่วยต่อไปLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27359 [article] ความสัมพันธ์ของความแตกฉานทางสุขภาพ ผลจากการได้รับความรู้ เกี่ยวกับสุขภาพ และอิทธิพลทางสังคมกับผลลัพธ์ทางคลินิกของผู้ป่วย = Health Literacy, Health Education Outcomes and Social Influence, and Their Relationships with Type-2 Diabetes and/or Hypertension Patients’ Clinical Outcomes* : โรคเบาหวานชนิดที่ 2 และ/หรือความดันโลหิตสูง [printed text] / นภาพร วาณิชย์กุล, Author ; สุขมาพร พึ่งผาสุก, Author ; ทิพา ต่อสกุลแก้ว, Author ; เกศรินทร์ อุทริยะประสิทธิ์, Author . - 2017 . - p.111-115.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.32 No.2 (Apr-Jun) 2017-2560 [09/21/2017] . - p.111-115Keywords: ความแตกฉานทางสุขภาพ. ผลจากการได้รับความรู้เกี่ยวกับสุขภาพ. อิทธิพลทางสังคมผลลัพธ์ทางคลินิก. เบาหวานชนิดที่ 2. ความดันโลหิตสูง. Abstract: วัตถุประสงค์ของการวิจัย: เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของความแตกฉานทางสุขภาพ ผลจาก
การได้รับความรู้เกี่ยวกับสุขภาพ และอิทธิพลทางสังคม กับผลลัพธ์ทางคลินิกในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 และ/ หรือความดันโลหิตสูงการออกแบบวิจัย: การวิจัยเชิงบรรยายวิเคราะห์ความสัมพันธ์
วิธีการดำเนินการวิจัย: กลุ่มตัวอย่างจำนวน 205 ราย เป็นผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 และ/ หรือความดันโลหิตสูง ของแผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลระดับทุติยภูมิ 3 แห่ง ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือเครื่องมือในการวิจัยประกอบด้วย แบบบันทึกข้อมูลส่วนบุคคลและผลลัพธ์ทางคลินิก แบบสอบถามความแตกฉานทางสุขภาพ ผลจากการได้รับความรู้เกี่ยวกับสุขภาพ และอิทธิพลทางสังคม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงบรรยายและสถิติสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบสเปียร์แมนผลการวิจัย: พบว่ากลุ่มตัวอย่างมีอายุเฉลี่ย 60.8 ปี (SD =12.3)57.1% เป็นเพศหญิง และมีโรคประจำตัวอย่างน้อย 2 โรค (67.8%) สามารถควบคุมโรคได้ดี 38.6% มีความแตกฉานทางสุขภาพอยู่ในระดับปานกลาง (mean ± SD = 2.25 ± 0.65 คะแนน) ผลจากการได้รับความรู้เกี่ยวกับสุขภาพอยู่ในระดับสูง (mean ± SD = 3.57 ± 0.43 คะแนน) อิทธิพลทางสังคมมีระดับปานกลาง(mean ± SD = 2.53 + 0.4 คะแนน) และผลลัพธ์ทางคลินิกอยู่ในระดับต่ำ (mean ± SD = 1.36 ± 1.5)ความแตกฉานทางสุขภาพ อิทธิพลทางสังคม และผลจากการได้รับความรู้เกี่ยวกับสุขภาพ มีความสัมพันธ์ทางลบกับผลลัพธ์ทางคลินิกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติข้อเสนอแนะ: บุคลากรทางการแพทย์ควรประเมินความแตกฉานทางสุขภาพ ผลจากการได้รับความรู้เกี่ยวกับสุขภาพ อิทธิพลทางสังคม ของผู้ป่วยเพื่อใช้ในการวางแผนการพยาบาลในการพัฒนาผลลัพธ์ทางคลินิกของผู้ป่วยต่อไปLink for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27359 ปัจจัยทีีมีผลต่อการปฏิบัติงานของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) / ปรางค์ จักรไชย in วารสารพยาบาลสาธารณสุข, Vol.31 No.1 (Jan-Apr)2017 ([05/24/2017])
[article]
Title : ปัจจัยทีีมีผลต่อการปฏิบัติงานของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) : ในทีมหมอครอบครัว จังหวัดปทุมธานี Original title : Factors affecting the performance of village health volunteers (VHVs) of family care teams Pathum Thani province Material Type: printed text Authors: ปรางค์ จักรไชย, Author ; อภิชัย คุณีพงษ์, Author ; วรเดช ช้างแก้ว, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.16-28 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสาธารณสุข > Vol.31 No.1 (Jan-Apr)2017 [05/24/2017] . - p.16-28Keywords: อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.).ทีมหมอครอบครัว.การปฎิบัติงานของอสม. Link for e-copy: http://phpn.ph.mahidol.ac.th/Journal/index.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26760 [article] ปัจจัยทีีมีผลต่อการปฏิบัติงานของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) = Factors affecting the performance of village health volunteers (VHVs) of family care teams Pathum Thani province : ในทีมหมอครอบครัว จังหวัดปทุมธานี [printed text] / ปรางค์ จักรไชย, Author ; อภิชัย คุณีพงษ์, Author ; วรเดช ช้างแก้ว, Author . - 2017 . - p.16-28.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลสาธารณสุข > Vol.31 No.1 (Jan-Apr)2017 [05/24/2017] . - p.16-28Keywords: อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.).ทีมหมอครอบครัว.การปฎิบัติงานของอสม. Link for e-copy: http://phpn.ph.mahidol.ac.th/Journal/index.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26760 ผลของการจัดการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์จำลองเสมือนจริงต่อความรู้ / สมจิตต์ สินธุชัย in รามาธิบดีพยาบาลสาร, Vol.23 No.1 (Jan-Apr) 2017/60 ([07/24/2017])
[article]
Title : ผลของการจัดการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์จำลองเสมือนจริงต่อความรู้ : ความพึงพอใจและความมั่นใจในตนเองของนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 4 ในการฝึกปฏิบัติรายวิชาฝึกทักษะทางวิชาชีพก่อนสำเร็จการศึกษา Material Type: printed text Authors: สมจิตต์ สินธุชัย, Author ; กันยารัตน์ อุบลวรรณ, Author ; สุนีย์รัตน์ บุญศิลป์, (2520-), Author Publication Date: 2017 Article on page: p.113-127 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.23 No.1 (Jan-Apr) 2017/60 [07/24/2017] . - p.113-127Keywords: การจัดการเรียนรู้.สถานการณ์จำลองเสมือนจริง.ความรู้ของนักศึกษาพยาบาล ปีที่ 4ความพึงพอใจในตนเองนักศึกษาพยาบาล ปีที่ 4.ความมั่นใจในตนเองของนักศึกษาพยาบาล ปีที่ 4.ทักษะทางวิชาชีพ. Abstract: เพื่อศึกษาผลของการจัดการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์จำลองเสมือนจริงต่อความรู้ ความพึงพอใจในตนเองของนักศึกษาพยาบาลวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สระบุรี จำนวน 69 ราย สุ่มตัวอย่างแบบง่าย ได้กลุ่มทดลองจำนวน 34 ราย และกลุ่มควบคุม 35 ราย ดำเนินการสอนกลุ่มทดลองโดยใช้สถานการณ์จำลองเสมือนจริง จำนวน 4 สถานการณ์ครั้งละ 60 นาที ส่วนกลุ่มควบคุมสอนปกติตามหลักสูตร
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย แบบวัดความรู้ ความพึงพอใจ ความมั่นใจในตนเอง
สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ สถิติบรรยายและการทดสอบค่าที
ผลการวิจัย พบว่า
1. นศ.พยาบาลที่ได้รับการสอนโดยใช้สถานการณ์จำลองเสมือนจริงมีค่าเฉลี่ยคะแนนความรู้ และความมั่นใจในตนเองหลังทดลองสูงกว่าก่อนทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และ
2. นศ.พยาบาลที่ได้รับการสอนโดยใช้สถานการณ์จำลองเสมือนจริงมีคะแนนเฉลียความรู้ ความพึงพอใจ และความมั่นใจในตนเองหลังทดลองสูงกว่านักศึกษาที่เรียนโดยวิธีปกติตามหลักสูตรอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
ผลการสนทนากลุ่ม พบว่า นศ.ที่เรียนรู้โดยสถานการณ์จำลองเสมือนจริงได้รับความรู้จากการเรียนเรื่องหลักการประเเมินสภาพผู้ป่วย การรักษา และการพยาบาล ซึ่งความรู้เหล่านี้สามารถจดจำได้นาน ประสบการณ์จากการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์จำลองเสมือนจริงทำให้ผู้เรียนพึงพอใจในเรื่องการคิด และการตัดสินใจที่เร็วขึ้น และนักศึกษาส่วนใหญ่มีึความมั่นใจในการปฏิบัติการพยาบาลมากขึ้น โดยเฉพาะในเรื่องการประเมินสภาพผู้ป่วย และการลำดับความสำคับของการพยาบาล
ผลการวิจัยนี้ เป็นข้อมูลสนับสนุนในการส่งเสริมการจัดการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์จำลองชนิดเสมือนจริงสำหรับนักศึกษาพยาบาลLink for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27069 [article] ผลของการจัดการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์จำลองเสมือนจริงต่อความรู้ : ความพึงพอใจและความมั่นใจในตนเองของนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 4 ในการฝึกปฏิบัติรายวิชาฝึกทักษะทางวิชาชีพก่อนสำเร็จการศึกษา [printed text] / สมจิตต์ สินธุชัย, Author ; กันยารัตน์ อุบลวรรณ, Author ; สุนีย์รัตน์ บุญศิลป์, (2520-), Author . - 2017 . - p.113-127.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in รามาธิบดีพยาบาลสาร > Vol.23 No.1 (Jan-Apr) 2017/60 [07/24/2017] . - p.113-127Keywords: การจัดการเรียนรู้.สถานการณ์จำลองเสมือนจริง.ความรู้ของนักศึกษาพยาบาล ปีที่ 4ความพึงพอใจในตนเองนักศึกษาพยาบาล ปีที่ 4.ความมั่นใจในตนเองของนักศึกษาพยาบาล ปีที่ 4.ทักษะทางวิชาชีพ. Abstract: เพื่อศึกษาผลของการจัดการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์จำลองเสมือนจริงต่อความรู้ ความพึงพอใจในตนเองของนักศึกษาพยาบาลวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สระบุรี จำนวน 69 ราย สุ่มตัวอย่างแบบง่าย ได้กลุ่มทดลองจำนวน 34 ราย และกลุ่มควบคุม 35 ราย ดำเนินการสอนกลุ่มทดลองโดยใช้สถานการณ์จำลองเสมือนจริง จำนวน 4 สถานการณ์ครั้งละ 60 นาที ส่วนกลุ่มควบคุมสอนปกติตามหลักสูตร
เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย แบบวัดความรู้ ความพึงพอใจ ความมั่นใจในตนเอง
สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ สถิติบรรยายและการทดสอบค่าที
ผลการวิจัย พบว่า
1. นศ.พยาบาลที่ได้รับการสอนโดยใช้สถานการณ์จำลองเสมือนจริงมีค่าเฉลี่ยคะแนนความรู้ และความมั่นใจในตนเองหลังทดลองสูงกว่าก่อนทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และ
2. นศ.พยาบาลที่ได้รับการสอนโดยใช้สถานการณ์จำลองเสมือนจริงมีคะแนนเฉลียความรู้ ความพึงพอใจ และความมั่นใจในตนเองหลังทดลองสูงกว่านักศึกษาที่เรียนโดยวิธีปกติตามหลักสูตรอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ
ผลการสนทนากลุ่ม พบว่า นศ.ที่เรียนรู้โดยสถานการณ์จำลองเสมือนจริงได้รับความรู้จากการเรียนเรื่องหลักการประเเมินสภาพผู้ป่วย การรักษา และการพยาบาล ซึ่งความรู้เหล่านี้สามารถจดจำได้นาน ประสบการณ์จากการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์จำลองเสมือนจริงทำให้ผู้เรียนพึงพอใจในเรื่องการคิด และการตัดสินใจที่เร็วขึ้น และนักศึกษาส่วนใหญ่มีึความมั่นใจในการปฏิบัติการพยาบาลมากขึ้น โดยเฉพาะในเรื่องการประเมินสภาพผู้ป่วย และการลำดับความสำคับของการพยาบาล
ผลการวิจัยนี้ เป็นข้อมูลสนับสนุนในการส่งเสริมการจัดการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์จำลองชนิดเสมือนจริงสำหรับนักศึกษาพยาบาลLink for e-copy: http://med.mahidol.ac.th/nursing/journal/rama_journal_19 Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27069 ผลของกิจกรรมเสริมทักษะต่อความรู้ และความมั่นใจ / ศรินรัตน์ วัฒนธรนันท์ in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 ([05/23/2017])
[article]
Title : ผลของกิจกรรมเสริมทักษะต่อความรู้ และความมั่นใจ : ของนักศึกษาพยาบาลในการขึ้นฝึกปฏิบัติการพยาบาลในรายวิชาปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ 2 Material Type: printed text Authors: ศรินรัตน์ วัฒนธรนันท์, Author ; นันทิยา แสงทรงฤทธิ์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.157-166 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 [05/23/2017] . - p.157-166Keywords: กิจกรรมเสริมทักษะ.ความรู้ในการฝึกปฏิบัติ.ความมั่นใจในการฝึกปฏิบัติ.นักศึกษาพยาบาล. Abstract: เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง เพื่อเปรียบเทียบความรู้ ความมั่นใจของนักศึกษาพยาบาลก่อนและหลังเข้าร่วมกิจกรรมเสริมทักษะการปฏิบัติการพยาบาลตามปกติ จำนวน 184 คน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติทดสอบ pair t-test และศึกษาเปรียบเทียบความรู้ ความมั่นใจของนักศึกษาพยาบาลในการขึ้นฝึกปฏิบัติวิชาการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ 2 ระหว่างกลุ่มนักศึกษาพยาบาลที่เข้าร่วมกิจกรรมเสริมทักษะการปฏิบัติการพยาบาลร่วมกับการทำแผนผังความคิดและกลุ่มนักศึกษาพยาบาลที่เข้าร่วมกิจกรรมเสริมทักษะการปฏิบัติการพยาบาลตามปกติ โดยจัดกิจกรรมเสริมทักษะการปฏิบัติการพยาบาลให้่แก่นักศึกษาพยาบาลทั้งสองกลุ่มพร้อมกันก่อนการขึ้นฝึกปฏิบัติงานในรายวิชาปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ 2 ซึ่งกลุ่มทดลอง เป็นนักศึกษาพยาบาลที่ขึ้นฝึกปฏิบัติการพยาบาลในช่วง 8 สัปดาห์แรกของรายวิชา ให้นักศึกษาทำแผนผังความคิดสรุปความรู้ที่ได้จากการเสริมทักษะการปฏิบัติการพยาบาลในแต่ละหัวข้อ จำนวน 92 คน ส่วนกลุ่มควบคุม เป็นนักศึกษาพยาบาลที่ขึ้นฝึกปฏิบัติการพยาบาลในช่วง 8 สัปดาห์หลังของรายวิชา จำนวน 92 คน และเมื่อเสร็จสิ้นการฝึกให้นักศึกษาจัดทำแนผังความคิดสรุปความรู้ของแต่ละแหล่งฝึกก่อนการสอบ (OSCE Objective structured clinical examination) วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ independent t-test
ผลการวิจัย พบว่า
คะแนนความรู้และความมั่นใจในการปฏิบัติการพยาบาลของนักศึกษาพยาบาล ก่อนและหลังการร่วมกิจกรรมเสริมทักษะการปฏิบัติการพยาบาลตามปกติ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ p=.000) และ (p=.000) ตามลำดับ
คะแนนความรู้และคะแนนความมั่นใจในการปฏิบัติการพยาบาลของนักศึกษาพยาบาล ภายหลังเสร็จสิ้่นการเรียนวิชาการปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่และผูเ้สูงอายุ 2 ระหว่างกลุ่มทดลอง และกลุ่มควบคุม แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ p=.000) และ (p=.003) ตามลำดับ
ผลการวิจัยนี้แสดงให้เห็นว่า การจัดกิจกรรมเสริมทักษะการปฏิบัติการพยาบาลร่วมกับการจัดทำแผรผังสรุปความคิดให้แก่นักศึกษาพยาบาลก่อนการขึ้นฝึกปฏิบัติการพยาบาลในรายวิชาปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ 2 มีส่วนช่วยให้นักศึกษามีึความรู้ และความมั่นใจในการฝึกปฏิบัติมากยิ่งขึ้น
Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26751 [article] ผลของกิจกรรมเสริมทักษะต่อความรู้ และความมั่นใจ : ของนักศึกษาพยาบาลในการขึ้นฝึกปฏิบัติการพยาบาลในรายวิชาปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ 2 [printed text] / ศรินรัตน์ วัฒนธรนันท์, Author ; นันทิยา แสงทรงฤทธิ์, Author . - 2017 . - p.157-166.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol.18 No.1 (๋Jan-Apr) 2017 [05/23/2017] . - p.157-166Keywords: กิจกรรมเสริมทักษะ.ความรู้ในการฝึกปฏิบัติ.ความมั่นใจในการฝึกปฏิบัติ.นักศึกษาพยาบาล. Abstract: เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง เพื่อเปรียบเทียบความรู้ ความมั่นใจของนักศึกษาพยาบาลก่อนและหลังเข้าร่วมกิจกรรมเสริมทักษะการปฏิบัติการพยาบาลตามปกติ จำนวน 184 คน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติทดสอบ pair t-test และศึกษาเปรียบเทียบความรู้ ความมั่นใจของนักศึกษาพยาบาลในการขึ้นฝึกปฏิบัติวิชาการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ 2 ระหว่างกลุ่มนักศึกษาพยาบาลที่เข้าร่วมกิจกรรมเสริมทักษะการปฏิบัติการพยาบาลร่วมกับการทำแผนผังความคิดและกลุ่มนักศึกษาพยาบาลที่เข้าร่วมกิจกรรมเสริมทักษะการปฏิบัติการพยาบาลตามปกติ โดยจัดกิจกรรมเสริมทักษะการปฏิบัติการพยาบาลให้่แก่นักศึกษาพยาบาลทั้งสองกลุ่มพร้อมกันก่อนการขึ้นฝึกปฏิบัติงานในรายวิชาปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ 2 ซึ่งกลุ่มทดลอง เป็นนักศึกษาพยาบาลที่ขึ้นฝึกปฏิบัติการพยาบาลในช่วง 8 สัปดาห์แรกของรายวิชา ให้นักศึกษาทำแผนผังความคิดสรุปความรู้ที่ได้จากการเสริมทักษะการปฏิบัติการพยาบาลในแต่ละหัวข้อ จำนวน 92 คน ส่วนกลุ่มควบคุม เป็นนักศึกษาพยาบาลที่ขึ้นฝึกปฏิบัติการพยาบาลในช่วง 8 สัปดาห์หลังของรายวิชา จำนวน 92 คน และเมื่อเสร็จสิ้นการฝึกให้นักศึกษาจัดทำแนผังความคิดสรุปความรู้ของแต่ละแหล่งฝึกก่อนการสอบ (OSCE Objective structured clinical examination) วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติ independent t-test
ผลการวิจัย พบว่า
คะแนนความรู้และความมั่นใจในการปฏิบัติการพยาบาลของนักศึกษาพยาบาล ก่อนและหลังการร่วมกิจกรรมเสริมทักษะการปฏิบัติการพยาบาลตามปกติ แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ p=.000) และ (p=.000) ตามลำดับ
คะแนนความรู้และคะแนนความมั่นใจในการปฏิบัติการพยาบาลของนักศึกษาพยาบาล ภายหลังเสร็จสิ้่นการเรียนวิชาการปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่และผูเ้สูงอายุ 2 ระหว่างกลุ่มทดลอง และกลุ่มควบคุม แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ p=.000) และ (p=.003) ตามลำดับ
ผลการวิจัยนี้แสดงให้เห็นว่า การจัดกิจกรรมเสริมทักษะการปฏิบัติการพยาบาลร่วมกับการจัดทำแผรผังสรุปความคิดให้แก่นักศึกษาพยาบาลก่อนการขึ้นฝึกปฏิบัติการพยาบาลในรายวิชาปฏิบัติการพยาบาลผู้ใหญ่และผู้สูงอายุ 2 มีส่วนช่วยให้นักศึกษามีึความรู้ และความมั่นใจในการฝึกปฏิบัติมากยิ่งขึ้น
Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26751 ผลของโปรปกรมการพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก, Vol.26 No.1 (Jan-Jun) 2015 ([10/14/2015])
[article]
Title : ผลของโปรปกรมการพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน : ต่อความรู้และทักษะในการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจ และกลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด Material Type: printed text Publication Date: 2015 Article on page: pp.119-132 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก > Vol.26 No.1 (Jan-Jun) 2015 [10/14/2015] . - pp.119-132Keywords: โปรแกรมการพัฒนาศักยภาพ.การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม.อาสาสมัครสาธารณสุข.ความรู้ทักษะการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและกลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลิือด. Abstract: การวิจัยกึ่งทดลองแบบกลุ่มเดียว มีวัตถุประสงค์เพื่อ ผลของโปรแกรมการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.)ในการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและกลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือดด้วยการจัดการเรียนรู้แบบมัีส่วนร่วม คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง เป็น อสม. ที่ขึ้นทะเบียน ตำบลบางคูหลวง จ. ปทุมธานีท จำนวน 50 คน เข้าร่วมโปรแกรมอบรมเชิงปฏิบัติการมีส่วนร่วมจำนวน 3 วัน ประกอบด้วย 1. ความรู้เรื่องการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด 2. การทำกระบวนกลุ่มการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมโรคหัวใจและกลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจ 3. การฝึกทักษะการประเมินระบบหัวใจและหลอดเลือด 4. ฝึกทักษะการกู้ชีวิตเบื้องต้น เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบประเมินความรู้การดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจ แบบประเมินการรับรู้ในการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและกลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจ แบบสังเกตและประเมินผลการฝึกทักษะการประเมินระบบหัวใจและหลอดเลือด และแบบประเมินการกู้ชีวิตเบื้องต้น วิเคราะห์ข้อมูลความรู้ในการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจก่อนและหลังเข้าร่วมการอบรมเชิงปฏิบัติแบบมีส่วนร่วมโดยใช้ Paired t-test ประเมินผลการรับรู้ในการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและกลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจ ทักษะการประเมินระบบหัวใจและหลอดเลือด และการกู้ชีวิตเบื้องต้นโดยใช้สถิติเชิงพรรณา ผลการวิจัย พบว่า ภายหลังเข้ารับโปรแกรมการพัฒนาศักยภาพแบบมีส่วนร่วม อสม. มีความรู้โรคหัวใจและหลอดเลือดเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสิถิติ p Link for e-copy: http://www.thaicvtnurse.org/index.php?option=com Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25005 [article] ผลของโปรปกรมการพัฒนาศักยภาพการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน : ต่อความรู้และทักษะในการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจ และกลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือด [printed text] . - 2015 . - pp.119-132.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก > Vol.26 No.1 (Jan-Jun) 2015 [10/14/2015] . - pp.119-132Keywords: โปรแกรมการพัฒนาศักยภาพ.การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม.อาสาสมัครสาธารณสุข.ความรู้ทักษะการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและกลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลิือด. Abstract: การวิจัยกึ่งทดลองแบบกลุ่มเดียว มีวัตถุประสงค์เพื่อ ผลของโปรแกรมการพัฒนาศักยภาพอาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.)ในการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและกลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจและหลอดเลือดด้วยการจัดการเรียนรู้แบบมัีส่วนร่วม คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง เป็น อสม. ที่ขึ้นทะเบียน ตำบลบางคูหลวง จ. ปทุมธานีท จำนวน 50 คน เข้าร่วมโปรแกรมอบรมเชิงปฏิบัติการมีส่วนร่วมจำนวน 3 วัน ประกอบด้วย 1. ความรู้เรื่องการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด 2. การทำกระบวนกลุ่มการเรียนรู้แบบมีส่วนร่วมโรคหัวใจและกลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจ 3. การฝึกทักษะการประเมินระบบหัวใจและหลอดเลือด 4. ฝึกทักษะการกู้ชีวิตเบื้องต้น เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบประเมินความรู้การดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจ แบบประเมินการรับรู้ในการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและกลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจ แบบสังเกตและประเมินผลการฝึกทักษะการประเมินระบบหัวใจและหลอดเลือด และแบบประเมินการกู้ชีวิตเบื้องต้น วิเคราะห์ข้อมูลความรู้ในการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจก่อนและหลังเข้าร่วมการอบรมเชิงปฏิบัติแบบมีส่วนร่วมโดยใช้ Paired t-test ประเมินผลการรับรู้ในการดูแลผู้ป่วยโรคหัวใจและกลุ่มเสี่ยงโรคหัวใจ ทักษะการประเมินระบบหัวใจและหลอดเลือด และการกู้ชีวิตเบื้องต้นโดยใช้สถิติเชิงพรรณา ผลการวิจัย พบว่า ภายหลังเข้ารับโปรแกรมการพัฒนาศักยภาพแบบมีส่วนร่วม อสม. มีความรู้โรคหัวใจและหลอดเลือดเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสิถิติ p Link for e-copy: http://www.thaicvtnurse.org/index.php?option=com Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25005 ผลของโปรแกรมสร้างเสริมการจัดการตนเองต่อความรู้พฤติกรรมการจัดการตนเองและระดับฮีโมโกลบินเอวันซีในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ที่ได้รับการรักษาด้วยยาฉีดอินซูลิน / กิติยาภรณ์ ฉายะพันธ์ in วารสารสภาการพยาบาล, Vol.31 No.1 (Jan-Mar) 2016/59 ([03/29/2016])
[article]
Title : ผลของโปรแกรมสร้างเสริมการจัดการตนเองต่อความรู้พฤติกรรมการจัดการตนเองและระดับฮีโมโกลบินเอวันซีในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ที่ได้รับการรักษาด้วยยาฉีดอินซูลิน Original title : Impact of self-management practice programme on knowledge self-management behavior and HbA1c level in Insulin-dependent type-2 diabetes patients Material Type: printed text Authors: กิติยาภรณ์ ฉายะพันธ์, Author ; วริยา วชิราภรณ์, Author ; ภาวนา กีรติยุตวงศ์, Author Publication Date: 2016 Article on page: p.70-82 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.1 (Jan-Mar) 2016/59 [03/29/2016] . - p.70-82Keywords: ผลของโปรแกรม.การเสริมสร้างการจัดการตนเอง.ความรู้ต่อพฤติกรรมการจัดการตนเอง.ระดับฮีโมโกลบินเอวันซี.ผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2.การรักษาด้วยยาฉีดอินซูลิน. Curricular : BNS Link for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25652 [article] ผลของโปรแกรมสร้างเสริมการจัดการตนเองต่อความรู้พฤติกรรมการจัดการตนเองและระดับฮีโมโกลบินเอวันซีในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 ที่ได้รับการรักษาด้วยยาฉีดอินซูลิน = Impact of self-management practice programme on knowledge self-management behavior and HbA1c level in Insulin-dependent type-2 diabetes patients [printed text] / กิติยาภรณ์ ฉายะพันธ์, Author ; วริยา วชิราภรณ์, Author ; ภาวนา กีรติยุตวงศ์, Author . - 2016 . - p.70-82.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารสภาการพยาบาล > Vol.31 No.1 (Jan-Mar) 2016/59 [03/29/2016] . - p.70-82Keywords: ผลของโปรแกรม.การเสริมสร้างการจัดการตนเอง.ความรู้ต่อพฤติกรรมการจัดการตนเอง.ระดับฮีโมโกลบินเอวันซี.ผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2.การรักษาด้วยยาฉีดอินซูลิน. Curricular : BNS Link for e-copy: http://www.tci-thaijo.org/index.php/TJONC Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=25652 สิ่งละอันพันละน้อย / วรากรณ์ สามโกเศศ / กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ - 2557
Title : สิ่งละอันพันละน้อย : สวัสดีปีใหม่ 2557 Material Type: printed text Authors: วรากรณ์ สามโกเศศ, Author Publisher: กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ Publication Date: 2557 Pagination: 48 หน้า. Layout: ภาพประกอบ Size: 21 ซม. Price: บริจาค. Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การเรียนรู้ (จิตวิทยา)
[LCSH]ความรู้ทั่วไป -- รวมเรื่อง
[LCSH]จิตวิทยา -- รวมเรื่อง
[LCSH]รวมเรื่องKeywords: ความรู้.
การเรียนรู้.
จิตวิทยา.Class number: AC159 ว296 2557 Curricular : BALA/BBA/BNS/BSCS/BSMT/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23350 สิ่งละอันพันละน้อย : สวัสดีปีใหม่ 2557 [printed text] / วรากรณ์ สามโกเศศ, Author . - กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์, 2557 . - 48 หน้า. : ภาพประกอบ ; 21 ซม.
บริจาค.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การเรียนรู้ (จิตวิทยา)
[LCSH]ความรู้ทั่วไป -- รวมเรื่อง
[LCSH]จิตวิทยา -- รวมเรื่อง
[LCSH]รวมเรื่องKeywords: ความรู้.
การเรียนรู้.
จิตวิทยา.Class number: AC159 ว296 2557 Curricular : BALA/BBA/BNS/BSCS/BSMT/GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23350 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000383966 AC159 ว296 2557 Book Main Library General Shelf Available