From this page you can:
Home |
Search results
4 result(s) search for keyword(s) 'กระทรวงยุติธรรม, คุณภาพบริการ, ศูนย์บริการร่วม'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
SIU IS-T. คุณภาพการให้บริการประชาชนของศูนย์บริการร่วมกระทรวงยุติธรรม / โสริยา ต่วนจะโปะ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2017
Collection Title: SIU IS-T Title : คุณภาพการให้บริการประชาชนของศูนย์บริการร่วมกระทรวงยุติธรรม Original title : Quality of Services Offered by Justice Service Link Material Type: printed text Authors: โสริยา ต่วนจะโปะ, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2017 Pagination: vii, 66 น. Layout: ภาพประกอบ, ตาราง Size: 30 ซม. Price: 500.00 General note: SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-13
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]กระทรวงยุติธรรม
[LCSH]การบริการ
[LCSH]ความจำเป็นพื้นฐานKeywords: กระทรวงยุติธรรม,
คุณภาพบริการ,
ศูนย์บริการร่วมAbstract: การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณภาพการให้บริการประชาชนและศึกษาปัจจัยส่วนบุคคลที่มีผลต่อคุณภาพการให้บริการประชาชนของศูนย์บริการร่วมกระทรวงยุติธรรม กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ ประชาชนที่มาใช้บริการ ณ ศูนย์บริการร่วมกระทรวงยุติธรรม ในช่วงเวลา เดือนกันยายน 2559 ถึง เดือนพฤศจิกายน 2559 วิธีการวิจัยเป็นเชิงปริมาณ ในระดับบุคคลใช้การสุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ จำนวน 250 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา คือ แบบสอบถาม ใช้สถิติเชิงพรรณนาในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์ข้อความรายข้อ (Item Analysis) โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปและทดสอบความแตกต่างระหว่าง
ค่าเฉลี่ยของตัวแปรที่เป็นอิสระต่อกัน โดยใช้สูตร t-test เพื่อการวิเคราะห์ข้อมูล
ผลการศึกษา พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุ 41 ปีขึ้นไป สถานภาพสมรส ระดับการศึกษาปริญญาตรี อาชีพค้าขาย/ธุรกิจส่วนตัว มีภูมิลำเนาอยู่ต่างจังหวัด ผลการวิจัยยังพบว่า คุณภาพการให้บริการประชาชนของศูนย์บริการร่วมกระทรวงยุติธรรม ในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า คุณภาพการให้บริการประชาชนระดับมากที่สุด คือ การให้ความมั่นใจ รองลงมา คือ การตอบสนอง การเอาใจใส่สิ่งที่สัมผัสได้ และความน่าเชื่อถือ นอกจากนี้ ผลการทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปลพบว่า ผู้มาใช้บริการที่มีอายุ เพศ การศึกษา อาชีพ สถานภาพ และภูมิลำเนาที่แตกต่างกัน มีความคิดเห็นต่อคุณภาพการให้บริการของศูนย์บริการร่วมไม่แตกต่างกันCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26891 SIU IS-T. คุณภาพการให้บริการประชาชนของศูนย์บริการร่วมกระทรวงยุติธรรม = Quality of Services Offered by Justice Service Link [printed text] / โสริยา ต่วนจะโปะ, Author ; ประยุทธ์ สวัสดิ์เรียวกุล, Associated Name ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017 . - vii, 66 น. : ภาพประกอบ, ตาราง ; 30 ซม.
500.00
SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-13
[MPA.[รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2017.
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]กระทรวงยุติธรรม
[LCSH]การบริการ
[LCSH]ความจำเป็นพื้นฐานKeywords: กระทรวงยุติธรรม,
คุณภาพบริการ,
ศูนย์บริการร่วมAbstract: การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณภาพการให้บริการประชาชนและศึกษาปัจจัยส่วนบุคคลที่มีผลต่อคุณภาพการให้บริการประชาชนของศูนย์บริการร่วมกระทรวงยุติธรรม กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ ประชาชนที่มาใช้บริการ ณ ศูนย์บริการร่วมกระทรวงยุติธรรม ในช่วงเวลา เดือนกันยายน 2559 ถึง เดือนพฤศจิกายน 2559 วิธีการวิจัยเป็นเชิงปริมาณ ในระดับบุคคลใช้การสุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ จำนวน 250 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษา คือ แบบสอบถาม ใช้สถิติเชิงพรรณนาในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน วิเคราะห์ข้อความรายข้อ (Item Analysis) โดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปและทดสอบความแตกต่างระหว่าง
ค่าเฉลี่ยของตัวแปรที่เป็นอิสระต่อกัน โดยใช้สูตร t-test เพื่อการวิเคราะห์ข้อมูล
ผลการศึกษา พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชาย อายุ 41 ปีขึ้นไป สถานภาพสมรส ระดับการศึกษาปริญญาตรี อาชีพค้าขาย/ธุรกิจส่วนตัว มีภูมิลำเนาอยู่ต่างจังหวัด ผลการวิจัยยังพบว่า คุณภาพการให้บริการประชาชนของศูนย์บริการร่วมกระทรวงยุติธรรม ในภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณารายด้าน พบว่า คุณภาพการให้บริการประชาชนระดับมากที่สุด คือ การให้ความมั่นใจ รองลงมา คือ การตอบสนอง การเอาใจใส่สิ่งที่สัมผัสได้ และความน่าเชื่อถือ นอกจากนี้ ผลการทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปลพบว่า ผู้มาใช้บริการที่มีอายุ เพศ การศึกษา อาชีพ สถานภาพ และภูมิลำเนาที่แตกต่างกัน มีความคิดเห็นต่อคุณภาพการให้บริการของศูนย์บริการร่วมไม่แตกต่างกันCurricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26891 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000593671 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-13 c.1 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available 32002000593689 SIU IS-T: IPAG-MPA-2017-13 c.2 SIU Independent Study Graduate Library Thesis Corner Available SIU THE-T. ผลกระทบของปัญญาประดิษฐ์ต่อผู้ใช้บริการทางด้านการเงินของธนาคารพาณิชย์ไทย กรณีศึกษาเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล / ไตรรัตน์ ธนะประกอบกรณ์ / กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร - 2019
Collection Title: SIU THE-T Title : ผลกระทบของปัญญาประดิษฐ์ต่อผู้ใช้บริการทางด้านการเงินของธนาคารพาณิชย์ไทย กรณีศึกษาเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล Original title : The Influence of Artificial Intelligence on Customers of Thai Commercial Banks: A Case Study of Customers in Bangkok Metropolitan Area Material Type: printed text Authors: ไตรรัตน์ ธนะประกอบกรณ์, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; อุษณีษ์ เสวกวัชรี, Associated Name Publisher: กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร Publication Date: 2019 Pagination: xxvii, 312 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 30 ซม. Price: 500.00 บาท General note: SIU THE-T: SOM-DBA-2019-04
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2562Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ธนาคารพาณิชย์ -- ไทย -- กรุงเทพมหานครและปริมณฑล
[LCSH]ปัญญาประดิษฐ์ -- ผลกระทบ
[LCSH]พฤติกรรมผู้บริโภคKeywords: ทัศนคติ, พฤติกรรมการใช้บริการ, คุณภาพบริการ, ผลิตภัณฑ์/บริการ,
ผลกระทบของปัญญาประดิษฐ์Abstract: การวิจัยเชิงสำรวจนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาปัจจัยด้านทัศนคติ ปัจจัยพฤติกรรมการใช้บริการ ปัจจัยคุณภาพบริการ ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์/บริการ และผลกระทบของการใช้ปัญญาประดิษฐ์ในการให้บริการทางด้านการเงินกับผู้ใช้บริการ 2) เพื่อวิเคราะห์ผลกระทบของปัจจัยด้านทัศนคติ ปัจจัยพฤติกรรมการใช้บริการ ปัจจัยคุณภาพบริการ ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์/บริการที่มีต่อการใช้ปัญญาประดิษฐ์ในการให้บริการทางด้านการเงินกับผู้ใช้บริการ โดยใช้เทคนิคการวิจัยเชิงปริมาณ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือแบบสอบถาม มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .93 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือผู้ใช้บริการธนาคารพาณิชย์ไทยเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล จำนวน 405 คน ด้วยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง (Purposive Sampling) สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ ประกอบด้วย สถิติเชิงพรรณนา และสถิติเชิงอนุมาน คือ การวิเคราะห์การถดถอยเชิงเส้นแบบพหุ (Multiple Linear Regression Analysis) เพื่อทดสอบสมมติฐาน
ผลการศึกษาวิจัยพบว่า ผู้ใช้บริการธนาคารพาณิชย์ไทยเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุระหว่าง 31-40 ปี ระดับการศึกษาส่วนใหญ่ปริญญาโท อาชีพส่วนใหญ่เป็นเจ้าของกิจการ/ธุรกิจส่วนตัว ระดับรายได้เฉลี่ยต่อเดือนส่วนใหญ่ 30,001-40,000 บาท ธนาคารพาณิชย์ไทยที่ใช้บริการส่วนใหญ่เป็นธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) และประเภทของบริการทางด้านการเงินที่ใช้บริการ ส่วนใหญ่โอนเงินระหว่างบัญชี นอกเหนือจากการใช้บริการที่เคาน์เตอร์ธนาคาร ช่องทางการให้บริการทางด้านการเงินอื่นที่ท่านใช้บริการ ส่วนใหญ่ผ่านช่องทางเครื่องเอทีเอ็ม รองลงมาโทรศัพท์เคลื่อนที่
ผลการทดสอบสมมติฐานการวิจัย พบว่า 1) ปัจจัยด้านทัศนคติ 2) ปัจจัยพฤติกรรมการใช้บริการ3) ปัจจัยคุณภาพบริการ และ 4) ปัจจัยผลิตภัณฑ์/บริการมีอิทธิพลต่อผลกระทบของปัญญาประดิษฐ์ที่มีต่อผู้ใช้บริการทางด้านการเงินของธนาคารพาณิชย์ไทย กรณีศึกษาเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ดังนั้นสถาบันการเงินสามารถนำผลการศึกษาวิจัยครั้งนี้ไปประยุกต์ใช้ในการพิจารณาวางแผนแก้ไข และพัฒนาการออกแบบกลยุทธ์ทางการตลาดที่เป็นการขยายช่องทางการให้บริการทางการเงินที่สามารถตอบสนองความพึงพอใจให้กับลูกค้าผู้ใช้บริการได้อย่างทั่วถึงและสอดคล้องกับสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมได้อย่างยั่งยืนCurricular : BBA/GE/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27933 SIU THE-T. ผลกระทบของปัญญาประดิษฐ์ต่อผู้ใช้บริการทางด้านการเงินของธนาคารพาณิชย์ไทย กรณีศึกษาเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล = The Influence of Artificial Intelligence on Customers of Thai Commercial Banks: A Case Study of Customers in Bangkok Metropolitan Area [printed text] / ไตรรัตน์ ธนะประกอบกรณ์, Author ; ชาญชัย บัญชาพัฒนศักดา, Associated Name ; อุษณีษ์ เสวกวัชรี, Associated Name . - [S.l.] : กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2019 . - xxvii, 312 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 30 ซม.
500.00 บาท
SIU THE-T: SOM-DBA-2019-04
Thesis. [DฺBA [บริหารธุรกิจดุษฎีบัณฑิต บธ.ด.]] -- มหาวิทยาลัยชินวัตร, 2562
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ธนาคารพาณิชย์ -- ไทย -- กรุงเทพมหานครและปริมณฑล
[LCSH]ปัญญาประดิษฐ์ -- ผลกระทบ
[LCSH]พฤติกรรมผู้บริโภคKeywords: ทัศนคติ, พฤติกรรมการใช้บริการ, คุณภาพบริการ, ผลิตภัณฑ์/บริการ,
ผลกระทบของปัญญาประดิษฐ์Abstract: การวิจัยเชิงสำรวจนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาปัจจัยด้านทัศนคติ ปัจจัยพฤติกรรมการใช้บริการ ปัจจัยคุณภาพบริการ ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์/บริการ และผลกระทบของการใช้ปัญญาประดิษฐ์ในการให้บริการทางด้านการเงินกับผู้ใช้บริการ 2) เพื่อวิเคราะห์ผลกระทบของปัจจัยด้านทัศนคติ ปัจจัยพฤติกรรมการใช้บริการ ปัจจัยคุณภาพบริการ ปัจจัยด้านผลิตภัณฑ์/บริการที่มีต่อการใช้ปัญญาประดิษฐ์ในการให้บริการทางด้านการเงินกับผู้ใช้บริการ โดยใช้เทคนิคการวิจัยเชิงปริมาณ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือแบบสอบถาม มีค่าความเชื่อมั่นเท่ากับ .93 กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือผู้ใช้บริการธนาคารพาณิชย์ไทยเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล จำนวน 405 คน ด้วยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง (Purposive Sampling) สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ ประกอบด้วย สถิติเชิงพรรณนา และสถิติเชิงอนุมาน คือ การวิเคราะห์การถดถอยเชิงเส้นแบบพหุ (Multiple Linear Regression Analysis) เพื่อทดสอบสมมติฐาน
ผลการศึกษาวิจัยพบว่า ผู้ใช้บริการธนาคารพาณิชย์ไทยเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ส่วนใหญ่เป็นเพศชาย มีอายุระหว่าง 31-40 ปี ระดับการศึกษาส่วนใหญ่ปริญญาโท อาชีพส่วนใหญ่เป็นเจ้าของกิจการ/ธุรกิจส่วนตัว ระดับรายได้เฉลี่ยต่อเดือนส่วนใหญ่ 30,001-40,000 บาท ธนาคารพาณิชย์ไทยที่ใช้บริการส่วนใหญ่เป็นธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน) และประเภทของบริการทางด้านการเงินที่ใช้บริการ ส่วนใหญ่โอนเงินระหว่างบัญชี นอกเหนือจากการใช้บริการที่เคาน์เตอร์ธนาคาร ช่องทางการให้บริการทางด้านการเงินอื่นที่ท่านใช้บริการ ส่วนใหญ่ผ่านช่องทางเครื่องเอทีเอ็ม รองลงมาโทรศัพท์เคลื่อนที่
ผลการทดสอบสมมติฐานการวิจัย พบว่า 1) ปัจจัยด้านทัศนคติ 2) ปัจจัยพฤติกรรมการใช้บริการ3) ปัจจัยคุณภาพบริการ และ 4) ปัจจัยผลิตภัณฑ์/บริการมีอิทธิพลต่อผลกระทบของปัญญาประดิษฐ์ที่มีต่อผู้ใช้บริการทางด้านการเงินของธนาคารพาณิชย์ไทย กรณีศึกษาเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ดังนั้นสถาบันการเงินสามารถนำผลการศึกษาวิจัยครั้งนี้ไปประยุกต์ใช้ในการพิจารณาวางแผนแก้ไข และพัฒนาการออกแบบกลยุทธ์ทางการตลาดที่เป็นการขยายช่องทางการให้บริการทางการเงินที่สามารถตอบสนองความพึงพอใจให้กับลูกค้าผู้ใช้บริการได้อย่างทั่วถึงและสอดคล้องกับสถานการณ์การเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมได้อย่างยั่งยืนCurricular : BBA/GE/MBA/PhDM Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=27933 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607978 SIU THE-T: SOM-DBA-2019-04 c.2 SIU Thesis and Dissertation Graduate Library Thesis Corner Available 32002000607977 SIU THE-T: SOM-DBA-2019-04 c.1 SIU Thesis and Dissertation Main Library Thesis Corner Available คุณภาพการบริหารการพยาบาล / พวงทิพย์ ชัยพิบาลสฤษดิ์ / กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย - 2551
Title : คุณภาพการบริหารการพยาบาล Material Type: printed text Authors: พวงทิพย์ ชัยพิบาลสฤษดิ์, Author Edition statement: พิมพ์ครั้งที่ 1 Publisher: กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย Publication Date: 2551 Pagination: 413 หน้า Layout: ภาพประกอบ, ตาราง แผนภูมิ Size: 26 ซม. ISBN (or other code): 978-974-03-2130-9 Price: 300.00 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การพยาบาล -- การบริหาร
[LCSH]บริการการพยาบาล -- การควบคุมคุณภาพKeywords: การพยาบาล.
การบริหาร.
คุณภาพบริการ.Class number: RT89 พ672 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=22960 คุณภาพการบริหารการพยาบาล [printed text] / พวงทิพย์ ชัยพิบาลสฤษดิ์, Author . - พิมพ์ครั้งที่ 1 . - กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551 . - 413 หน้า : ภาพประกอบ, ตาราง แผนภูมิ ; 26 ซม.
ISBN : 978-974-03-2130-9 : 300.00
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การพยาบาล -- การบริหาร
[LCSH]บริการการพยาบาล -- การควบคุมคุณภาพKeywords: การพยาบาล.
การบริหาร.
คุณภาพบริการ.Class number: RT89 พ672 Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=22960 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000352334 RT89 พ672 2551 Book Main Library General Shelf Available Readers who borrowed this document also borrowed:
Human resource management Mathis,, Robert L. (1944-) คุณภาพบริการพยาบาลแผนกผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลเอกชนกรุงเทพมหานคร / วาปี ครองวิริยะภาพ in วารสารพยาบาลทหารบก, Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 ([09/07/2015])
[article]
Title : คุณภาพบริการพยาบาลแผนกผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลเอกชนกรุงเทพมหานคร Original title : Nursing service quality at out-patient units private hospitals bangkok metropolis Material Type: printed text Authors: วาปี ครองวิริยะภาพ, Author ; สุชาดา รัชชุกูล, Author Publication Date: 2015 Article on page: p.97-113 Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 [09/07/2015] . - p.97-113Keywords: คุณภาพบริการ.พยาบาลแผนกผู้ป่วยนอก.ผู้บ่วยนอก.โรงพยาบาลเอกชน. Abstract: การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณภาพบริการพยาบาลแผนกผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลเอกชน กรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างเป็นกลุ่มผู้มารับริการที่แผนกผู้ัป่วยนอก และกลุ่มพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในแผนกผู้ป่วยนอกโรงพยายาลเอกชนกรุงเทพมหานคร จำนวนอย่างละ 200 รวมทั้งหมด 400 คน กลุ่มผู้มารับบริการได้จากการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ กลุ่มพยาบาลวิชาชีพ ได้จากกลุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็๋นแบบสอบถามคุณภาพบริการพยาบาลตามการรับรู้ของผู้รับบริการและแบบสอบถามคุณภาพบริการพยาบาลตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพ เครื่องมือทั้งหมดผ่านการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ และทดสอบหาค่าความเที่ยงตรงด้วยค่าสัมประสิทธิแอลฟ่าครอนบาคได้เท่ากับ 097 เท่ากัน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบด้วยสถถิติค่าที (t-independent) ผลการวิจัย พบว่า คุณภาพการบริการพยาบาลแผนกผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลเอกชน กทม. ตามการรับรู้ของผู้รับบริการอยู่ในระด้บมาก (ค่าเฉลี่ย 4.00) คุณภาพบริการพยาบาลแผนกผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลเอกชน กทม. ตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพอยู่ในระดับมาก (ค่าเฉลี่ย 4.11) และคุณภาพบริการพยาบาลแผนกผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลเอกชน กทม. ตามการรับรู้บริการโดยรวมมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05
Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24957 [article] คุณภาพบริการพยาบาลแผนกผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลเอกชนกรุงเทพมหานคร = Nursing service quality at out-patient units private hospitals bangkok metropolis [printed text] / วาปี ครองวิริยะภาพ, Author ; สุชาดา รัชชุกูล, Author . - 2015 . - p.97-113.
Languages : Thai (tha)
in วารสารพยาบาลทหารบก > Vol. 16 No..2 (May-Aug) 2015/2558 [09/07/2015] . - p.97-113Keywords: คุณภาพบริการ.พยาบาลแผนกผู้ป่วยนอก.ผู้บ่วยนอก.โรงพยาบาลเอกชน. Abstract: การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาคุณภาพบริการพยาบาลแผนกผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลเอกชน กรุงเทพมหานคร กลุ่มตัวอย่างเป็นกลุ่มผู้มารับริการที่แผนกผู้ัป่วยนอก และกลุ่มพยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในแผนกผู้ป่วยนอกโรงพยายาลเอกชนกรุงเทพมหานคร จำนวนอย่างละ 200 รวมทั้งหมด 400 คน กลุ่มผู้มารับบริการได้จากการเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ กลุ่มพยาบาลวิชาชีพ ได้จากกลุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็๋นแบบสอบถามคุณภาพบริการพยาบาลตามการรับรู้ของผู้รับบริการและแบบสอบถามคุณภาพบริการพยาบาลตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพ เครื่องมือทั้งหมดผ่านการตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ และทดสอบหาค่าความเที่ยงตรงด้วยค่าสัมประสิทธิแอลฟ่าครอนบาคได้เท่ากับ 097 เท่ากัน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบด้วยสถถิติค่าที (t-independent) ผลการวิจัย พบว่า คุณภาพการบริการพยาบาลแผนกผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลเอกชน กทม. ตามการรับรู้ของผู้รับบริการอยู่ในระด้บมาก (ค่าเฉลี่ย 4.00) คุณภาพบริการพยาบาลแผนกผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลเอกชน กทม. ตามการรับรู้ของพยาบาลวิชาชีพอยู่ในระดับมาก (ค่าเฉลี่ย 4.11) และคุณภาพบริการพยาบาลแผนกผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลเอกชน กทม. ตามการรับรู้บริการโดยรวมมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05
Link for e-copy: www.nurseasct.or.th Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=24957