From this page you can:
Home |
Publisher details
Publisher
located at
Available items(s) from this publisher
Add the result to your basket Make a suggestion Refine your search Apply to external sourcesภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุหล็กในหญิงตั้งครรภ์ที่ฝากครรภ์ครบตามเกณฑ์ / นฤมล ทองวัฒน์ / บัณฑิตวิทยาลัีย มหาวิทยาลัยนเรศวร - 2552
Title : ภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุหล็กในหญิงตั้งครรภ์ที่ฝากครรภ์ครบตามเกณฑ์ : กรณีศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ Original title : Iron deficiency anemia among complete attending and pregnant woman a qualitative study Material Type: printed text Authors: นฤมล ทองวัฒน์, Author Publisher: บัณฑิตวิทยาลัีย มหาวิทยาลัยนเรศวร Publication Date: 2552 Pagination: 121 แผ่น Layout: ตาราง. Size: 30 ซม. Price: บริจาค. General note: วิทยานิพนธ์ [พย. ม [การพยาบาลเวชปฎิบัติชุมชน]] -- มหาวิทยาลัยนเรศวร 2552 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]เลือดจาง -- การพยาบาล
[LCSH]เลือดจาง -- การรักษา
[LCSH]เลือดจางในสตรีมีครรภ์Keywords: โลหิตจาง.
การตั้งครรภ์.
การวิจัยเชิงคุณภาพ.Class number: WH155 น506 2552 Abstract: ศึกษาความหมายภาวะโลหิตจางของหญิงตั้งครรภ์ พฤติกรรมการดูแลตนเองของหญิงตั้งครรภ์ และปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการเกิดภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กในหญิงที่ตั้งครรภ์ที่ฝากครรภ์ครบกำหนดตามเกณฑ์ จำนวน 14 ราย โดยการคัดเลือกแบบเจาะจง เก็บรวบรวมข้อมูลระหว่างเดือนกันยายน - พฤศจิกายน 2551 โดยการสัมภาษณ์เชิงลึก การสังเกตแบบมีส่วนร่วมบางส่วน การจดบันทึกภาคสนาม และจากแฟ้มประวัติผู้รับบริการ วิเคราะห์ข้อมูลโดยวิธีการของโคซี่
ผลการศึกษาพบว่า หญิงตั้งครรภ์ให้ความหมายของภาวะโลหิตจางจากการขดาธาตุเหล็กว่า เป็นโรคเลือดจาง ซีด และเป็นโรคที่รักษาไม่หาย เป็นโรคทางกรรมพันธุ์ซึ่งหญิงตั้งคครภ์รับรู้ภาวะโลหิตจางของตนเองได้ 3 ลักษณะ คือ รับรู้การเป็นโรคจากแพทย์ และจากการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในร่างกาย รับรู้จากเคยตรวจพบเป็นโลหิตจางมาก่อนตั้งคครภ์และมีมารดาเป็นโลหิตจาง และรับรู้ความรุนแรงว่าเป็นอันตรายทำให้ทารกในครรภ์ไม่แข็งแรงจากเจ้าหน้าที่สาธารณสุขและเพื่อนบ้าน ส่วนความรู้สึกต่อการเป็นโรคโลหิตจางของหญิงตั้งครรภ์พบว่า กังวลและกลัวอันตรายต่อตนเอง และทารกในครรภ์ รู้สึกเสียใจที่ไม่ได้ปฎิบัติตามคำแนะนำของแพทย์ พยาบาล และมีความรู้สึกว่าเป็นการเพิ่มภาระให้กับตนเองและครอบครัวในการต้องเสียค่าใช้จ่ายเพื่อบำรุงร่างกายให้ดีขึ้น สำหรัลพฤติกรรมการดูแลตนเองของหญิงตั้งครรภ์พบว่า มีการเลือกบริโภคอาหารที่ไม่ถูกต้อง และไม่เหมาะสม ได้แก่ ไม่รับประทานเนื้อสัตว์ ไข่ ตับ เลือกเวลาดื่มนมไม่เหมาะสม รับประทานผลไม้ที่มีรสหวานมากกว่ารสเปรี้ยว และรับประทานผักในแต่ละมื้อมากเกินไป รวมทั้งรับประทานยาเม็ดธาตุเหล็กไม่ถูกต้อง ได้แก่ ไม่ได้ทานตั้งแต่ระยะแรกของการตั้งครรภ์ และไม่ได้ทานอย่างสม่ำเสมอ และปัจจัยที่ทำให้เกิดภาวะโลหิตจาง คือ มีพฤติกรรมการบริฏฃโภคที่ไม่เหมาะสม ไม่ได้เตรียมพร้อมตั้งครรภ์ ขาดการแสวงหาความรู้เพื่อดูแลตนเอง ไม่กล้าซักถามเรื่องที่ตนเองสงสัยกับแพทย์ พยาบาล รวมถึงมีความไม่สะดวกในการหาซื้อมารับประทาน จึงทำให้เกิดภาวะโลหิตจางแม้ว่าจะมาฝากครรภ์ครบตามกำหนดCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23202 ภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุหล็กในหญิงตั้งครรภ์ที่ฝากครรภ์ครบตามเกณฑ์ = Iron deficiency anemia among complete attending and pregnant woman a qualitative study : กรณีศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ [printed text] / นฤมล ทองวัฒน์, Author . - [S.l.] : บัณฑิตวิทยาลัีย มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2552 . - 121 แผ่น : ตาราง. ; 30 ซม.
บริจาค.
วิทยานิพนธ์ [พย. ม [การพยาบาลเวชปฎิบัติชุมชน]] -- มหาวิทยาลัยนเรศวร 2552
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]เลือดจาง -- การพยาบาล
[LCSH]เลือดจาง -- การรักษา
[LCSH]เลือดจางในสตรีมีครรภ์Keywords: โลหิตจาง.
การตั้งครรภ์.
การวิจัยเชิงคุณภาพ.Class number: WH155 น506 2552 Abstract: ศึกษาความหมายภาวะโลหิตจางของหญิงตั้งครรภ์ พฤติกรรมการดูแลตนเองของหญิงตั้งครรภ์ และปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการเกิดภาวะโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็กในหญิงที่ตั้งครรภ์ที่ฝากครรภ์ครบกำหนดตามเกณฑ์ จำนวน 14 ราย โดยการคัดเลือกแบบเจาะจง เก็บรวบรวมข้อมูลระหว่างเดือนกันยายน - พฤศจิกายน 2551 โดยการสัมภาษณ์เชิงลึก การสังเกตแบบมีส่วนร่วมบางส่วน การจดบันทึกภาคสนาม และจากแฟ้มประวัติผู้รับบริการ วิเคราะห์ข้อมูลโดยวิธีการของโคซี่
ผลการศึกษาพบว่า หญิงตั้งครรภ์ให้ความหมายของภาวะโลหิตจางจากการขดาธาตุเหล็กว่า เป็นโรคเลือดจาง ซีด และเป็นโรคที่รักษาไม่หาย เป็นโรคทางกรรมพันธุ์ซึ่งหญิงตั้งคครภ์รับรู้ภาวะโลหิตจางของตนเองได้ 3 ลักษณะ คือ รับรู้การเป็นโรคจากแพทย์ และจากการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในร่างกาย รับรู้จากเคยตรวจพบเป็นโลหิตจางมาก่อนตั้งคครภ์และมีมารดาเป็นโลหิตจาง และรับรู้ความรุนแรงว่าเป็นอันตรายทำให้ทารกในครรภ์ไม่แข็งแรงจากเจ้าหน้าที่สาธารณสุขและเพื่อนบ้าน ส่วนความรู้สึกต่อการเป็นโรคโลหิตจางของหญิงตั้งครรภ์พบว่า กังวลและกลัวอันตรายต่อตนเอง และทารกในครรภ์ รู้สึกเสียใจที่ไม่ได้ปฎิบัติตามคำแนะนำของแพทย์ พยาบาล และมีความรู้สึกว่าเป็นการเพิ่มภาระให้กับตนเองและครอบครัวในการต้องเสียค่าใช้จ่ายเพื่อบำรุงร่างกายให้ดีขึ้น สำหรัลพฤติกรรมการดูแลตนเองของหญิงตั้งครรภ์พบว่า มีการเลือกบริโภคอาหารที่ไม่ถูกต้อง และไม่เหมาะสม ได้แก่ ไม่รับประทานเนื้อสัตว์ ไข่ ตับ เลือกเวลาดื่มนมไม่เหมาะสม รับประทานผลไม้ที่มีรสหวานมากกว่ารสเปรี้ยว และรับประทานผักในแต่ละมื้อมากเกินไป รวมทั้งรับประทานยาเม็ดธาตุเหล็กไม่ถูกต้อง ได้แก่ ไม่ได้ทานตั้งแต่ระยะแรกของการตั้งครรภ์ และไม่ได้ทานอย่างสม่ำเสมอ และปัจจัยที่ทำให้เกิดภาวะโลหิตจาง คือ มีพฤติกรรมการบริฏฃโภคที่ไม่เหมาะสม ไม่ได้เตรียมพร้อมตั้งครรภ์ ขาดการแสวงหาความรู้เพื่อดูแลตนเอง ไม่กล้าซักถามเรื่องที่ตนเองสงสัยกับแพทย์ พยาบาล รวมถึงมีความไม่สะดวกในการหาซื้อมารับประทาน จึงทำให้เกิดภาวะโลหิตจางแม้ว่าจะมาฝากครรภ์ครบตามกำหนดCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23202 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354702 WH155 น506 2552 Thesis Main Library Thesis Corner Available ประสบการณ์ชีวิตหลังการพยายามฆ่าตัวตายของบุคคลที่อาศัยในจังหวัดกำแพงเพชร / นิภา เครือช้า / บัณฑิตวิทยาลัีย มหาวิทยาลัยนเรศวร - 2555
Title : ประสบการณ์ชีวิตหลังการพยายามฆ่าตัวตายของบุคคลที่อาศัยในจังหวัดกำแพงเพชร Original title : Lived experience after atten\mpted suicide among persons living in Kamphaeng Phet province Material Type: printed text Authors: นิภา เครือช้า, Author Publisher: บัณฑิตวิทยาลัีย มหาวิทยาลัยนเรศวร Publication Date: 2555 General note: วิทยานิพนธ์ [พย. ม [การพยาบาลเวชปฎิบัติชุมชน]] -- มหาวิทยาลัยนเรศวร 2555 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]การฆ่าตัวตาย
[LCSH]การฆ่าตัวตาย -- การป้องกันKeywords: การฆ่าตัวตาย.
ประสบการณ์.
วิทยานิพนธ์.Class number: WM460.7 น536 2555 Abstract: งานวิจัยนี้ มุ่งศึกษาประสบการณ์ชีวิตหลังการพยายามฆ่าตัวตายของบุคคลที่อาศัยในจังหวัดกำแพงเพชร และศึกษาปัจจัยเชิงบวกที่มีผู้พยายามฆ่ามตัวตายไม่กลับไปฆ่าตัวตายซ้ำ จำนวน 14 ราย โดยผู้ให้ข้อมูลเป็นผู้ที่เคยมีประวัติการพยายามฆ่าตัวตายที่เข้ารัีบการบำบัดรักษาที่โรงพยาบาลกำแพงเพชร ปี 2553-2554 เป็นการเก็บข้อมูลระหว่างเดือน กันยายน 54-มินาคม 55 ใช้การสัมภาษณ์เชิงลึก การสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม การบันทึกภาคสนาม และการบันทึกเสียง วิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหา
ผลการศึกษาพบว่า ประสบการณ์ชีวิตหลังการพยายามฆ่ามตัวตายประกอบด้วย 1. เรียนรู้ประสบการณ์ที่ผ่านมาเพื่อไม่ทำซ้ำ ได้แก่ รู้ว่าการกระทครั้งนี้เป็นการกระทำที่ขาดความยั้งคิดทำให้คนอื่นวุ่นวาย รับรู้ถึงความทรมานด้านร่างกายที่ได้่รับ รู้สึกอับอาย 2 ปรัีบวิธีการเผชิญความเครียด ได้แก่้ การปรับวิธีคิดใหม่ ปฎิบัติตามความเชื่อทางศาสนา การปลง การเบี่ยงเบนความสนใจ ส่วนปัจจัยเชิงบวกที่ผู้พยายามฆ่าตัวตายไม่กลับไปทำซ้ำประกอบด้วย 1. การมีความหวัง 2 เสริมสร้างกำลังใจให้กับตนเอง 3 การมองเห็นคุณค่าของตนเอง 4 แรงสนับสนุนทางสังคม
จากผลการวิจัยครั้งนี้แสดงให้เห็นว่า ผู้พยายามฆ่าตัวตายใช้ประสบการณืที่เคยกระทำในอดีตมาปรับใช้ในการไม่กลับไปฆ่าตัวตายซ้ำอีก โดยการเรียนรู้ประสบการณ์ที่ผ่านมาร่วมกับการปรับวิธีการเผชิญความเครียดและแรงาสนับสนุนทางสังคม จึงควรนำผลการวิจัยที่ได้วางแผนในการป้องกันการพยายามฆ่าตัวตายในระบบบริการสุขภาพและชุมชน
Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23210 ประสบการณ์ชีวิตหลังการพยายามฆ่าตัวตายของบุคคลที่อาศัยในจังหวัดกำแพงเพชร = Lived experience after atten\mpted suicide among persons living in Kamphaeng Phet province [printed text] / นิภา เครือช้า, Author . - [S.l.] : บัณฑิตวิทยาลัีย มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2555.
วิทยานิพนธ์ [พย. ม [การพยาบาลเวชปฎิบัติชุมชน]] -- มหาวิทยาลัยนเรศวร 2555
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]การฆ่าตัวตาย
[LCSH]การฆ่าตัวตาย -- การป้องกันKeywords: การฆ่าตัวตาย.
ประสบการณ์.
วิทยานิพนธ์.Class number: WM460.7 น536 2555 Abstract: งานวิจัยนี้ มุ่งศึกษาประสบการณ์ชีวิตหลังการพยายามฆ่าตัวตายของบุคคลที่อาศัยในจังหวัดกำแพงเพชร และศึกษาปัจจัยเชิงบวกที่มีผู้พยายามฆ่ามตัวตายไม่กลับไปฆ่าตัวตายซ้ำ จำนวน 14 ราย โดยผู้ให้ข้อมูลเป็นผู้ที่เคยมีประวัติการพยายามฆ่าตัวตายที่เข้ารัีบการบำบัดรักษาที่โรงพยาบาลกำแพงเพชร ปี 2553-2554 เป็นการเก็บข้อมูลระหว่างเดือน กันยายน 54-มินาคม 55 ใช้การสัมภาษณ์เชิงลึก การสังเกตแบบไม่มีส่วนร่วม การบันทึกภาคสนาม และการบันทึกเสียง วิเคราะห์ข้อมูลเชิงเนื้อหา
ผลการศึกษาพบว่า ประสบการณ์ชีวิตหลังการพยายามฆ่ามตัวตายประกอบด้วย 1. เรียนรู้ประสบการณ์ที่ผ่านมาเพื่อไม่ทำซ้ำ ได้แก่ รู้ว่าการกระทครั้งนี้เป็นการกระทำที่ขาดความยั้งคิดทำให้คนอื่นวุ่นวาย รับรู้ถึงความทรมานด้านร่างกายที่ได้่รับ รู้สึกอับอาย 2 ปรัีบวิธีการเผชิญความเครียด ได้แก่้ การปรับวิธีคิดใหม่ ปฎิบัติตามความเชื่อทางศาสนา การปลง การเบี่ยงเบนความสนใจ ส่วนปัจจัยเชิงบวกที่ผู้พยายามฆ่าตัวตายไม่กลับไปทำซ้ำประกอบด้วย 1. การมีความหวัง 2 เสริมสร้างกำลังใจให้กับตนเอง 3 การมองเห็นคุณค่าของตนเอง 4 แรงสนับสนุนทางสังคม
จากผลการวิจัยครั้งนี้แสดงให้เห็นว่า ผู้พยายามฆ่าตัวตายใช้ประสบการณืที่เคยกระทำในอดีตมาปรับใช้ในการไม่กลับไปฆ่าตัวตายซ้ำอีก โดยการเรียนรู้ประสบการณ์ที่ผ่านมาร่วมกับการปรับวิธีการเผชิญความเครียดและแรงาสนับสนุนทางสังคม จึงควรนำผลการวิจัยที่ได้วางแผนในการป้องกันการพยายามฆ่าตัวตายในระบบบริการสุขภาพและชุมชน
Curricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23210 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354777 WM460.7 น536 2555 Thesis Main Library Thesis Corner Available ประสบการณ์การดูแลตนเองของผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ / อารีย์ รัตนพันธ์ / บัณฑิตวิทยาลัีย มหาวิทยาลัยนเรศวร - 2552
Title : ประสบการณ์การดูแลตนเองของผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ Original title : Sale-care experiecne on glycemic controlled in diabetes mellitus patients Material Type: printed text Authors: อารีย์ รัตนพันธ์, Author Publisher: บัณฑิตวิทยาลัีย มหาวิทยาลัยนเรศวร Publication Date: 2552 Pagination: 155 แผ่น Layout: ตารางประกอบ Size: 30 ซม. Price: บริจาค General note: วิทยานิพนธ์ [พย. ม [การพยาบาลเวชปฎิบัติชุมชน]] -- มหาวิทยาลัยนเรศวร 2552 Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]Diabetics -- Care
[LCSH]การดูแลตนเอง
[LCSH]ผู้ป่วย -- การดูแล
[LCSH]ผู้ป่วย -- เบาหวานKeywords: เบาหวาน.
ผู้ป่วย.
การดูแลตนเอง.Class number: WK815 อ927 2552 Abstract: การวิจัยเชิงคุณภาพชนิดปรากฎการณ์วิทยา เพื่อศึกษาประสบการณ์การดูแลตนเองของผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ ราย ซึ่งเป็นผู้ป่วยเบาหวานที่มีระดับน้ำตาลในเลือดหลังอดอาหารอยู่ระหว่าง 80-120 mg/dl เป็นเวลาติดต่อกันอย่างน้อย 1 ปี และมีรดับ A1C น้อยกว่าร้อยละ 7 จำนวน 15 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ระดับลึกร่วมกับการสังเกต การจดบันทึกภาคสนามและการบันทึกเทป วิเคราะห์ข้อมูลโดยวิธีการของโคไลซี่
ผลการศึกษา พบว่า ผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ ให้ความหมายของการดูแลตนเองใน 3 ลักษณะ คือ การทำให้ร่างกายดีและแข็งแรง การควบคุมตนเองไม่ให้น่ำตาลในเลือดสูง และการป้องกันตนเองไม่ให้เกิดความเจ็บป่วย ความรู้ที่มีต่อการเป็นโรเบาหวาน แบ่งได้เป็น 2 ลักษณะคือ การยอมรับกับการเป็นโรคเบาหวาน และการใส่ใจดูแลตนเอง โดยมีวิธีการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด 5 วิธี คือ
1. การปฎิบัติตามคำแนะนำของทีมสุขภาพ 2. การรู้จักควบคุมตนเอง 3 การจัดการกับความเครียด 4. การทำกิจกรรมสม่ำเสมอ 5 การใช้สมุนไพรมารักษาเสริมCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23212 ประสบการณ์การดูแลตนเองของผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ = Sale-care experiecne on glycemic controlled in diabetes mellitus patients [printed text] / อารีย์ รัตนพันธ์, Author . - [S.l.] : บัณฑิตวิทยาลัีย มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2552 . - 155 แผ่น : ตารางประกอบ ; 30 ซม.
บริจาค
วิทยานิพนธ์ [พย. ม [การพยาบาลเวชปฎิบัติชุมชน]] -- มหาวิทยาลัยนเรศวร 2552
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]Diabetics -- Care
[LCSH]การดูแลตนเอง
[LCSH]ผู้ป่วย -- การดูแล
[LCSH]ผู้ป่วย -- เบาหวานKeywords: เบาหวาน.
ผู้ป่วย.
การดูแลตนเอง.Class number: WK815 อ927 2552 Abstract: การวิจัยเชิงคุณภาพชนิดปรากฎการณ์วิทยา เพื่อศึกษาประสบการณ์การดูแลตนเองของผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ ราย ซึ่งเป็นผู้ป่วยเบาหวานที่มีระดับน้ำตาลในเลือดหลังอดอาหารอยู่ระหว่าง 80-120 mg/dl เป็นเวลาติดต่อกันอย่างน้อย 1 ปี และมีรดับ A1C น้อยกว่าร้อยละ 7 จำนวน 15 ราย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์ระดับลึกร่วมกับการสังเกต การจดบันทึกภาคสนามและการบันทึกเทป วิเคราะห์ข้อมูลโดยวิธีการของโคไลซี่
ผลการศึกษา พบว่า ผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้ ให้ความหมายของการดูแลตนเองใน 3 ลักษณะ คือ การทำให้ร่างกายดีและแข็งแรง การควบคุมตนเองไม่ให้น่ำตาลในเลือดสูง และการป้องกันตนเองไม่ให้เกิดความเจ็บป่วย ความรู้ที่มีต่อการเป็นโรเบาหวาน แบ่งได้เป็น 2 ลักษณะคือ การยอมรับกับการเป็นโรคเบาหวาน และการใส่ใจดูแลตนเอง โดยมีวิธีการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด 5 วิธี คือ
1. การปฎิบัติตามคำแนะนำของทีมสุขภาพ 2. การรู้จักควบคุมตนเอง 3 การจัดการกับความเครียด 4. การทำกิจกรรมสม่ำเสมอ 5 การใช้สมุนไพรมารักษาเสริมCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=23212 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000354983 WK815 อ927 2552 Thesis Main Library Thesis Corner Available