From this page you can:
Home |
วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต / สมาคมพยาบาลจิตเวชแห่งประเทศไทย . Vol.30 No.2 (พ.ค-ส.ค) 2559Published date : 06/15/2017 |
Available articles
Add the result to your basketทักษะทางสังคมของเด็กออทิสติกวัยเรียน / นาถลดา ตะวันกาญจนโชติ in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, Vol.30 No.2 (พ.ค-ส.ค) 2559 ([06/15/2017])
[article]
Title : ทักษะทางสังคมของเด็กออทิสติกวัยเรียน Original title : Social skill school age children with autismspectrum dioders Material Type: printed text Authors: นาถลดา ตะวันกาญจนโชติ, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.1-21 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.30 No.2 (พ.ค-ส.ค) 2559 [06/15/2017] . - p.1-21Keywords: เด็กออทิสติก. ทักษะทางสังคม.วัยเรียน. Abstract: ความบกพร่องด้านทักษะะทางสังคม เป็นปัญหาหลักที่สำคัญอย่างยิ่งสำหรับเด็กที่ได้รับการวินิจฉัยด้วยโรคออทิสติกสเปคตรัม หรือที่เรียกว่าเด็กออทิสติก แม้ว่าเด็กกลุ่มนี้จะได้รับการส่งเสริมพัฒนาการตั้งแต่ยังเยาว์ จนมีพัฒนาการทางภาษาที่ดีขึ้น แต่เมื่อเด็กออทิสติกเข้าสู่ช่วงวัยเรียน 6-12 ปี ต้องกลับเข้าสู่กระบวนการรักษาอัีกครั้ง ด้วยปัญหาบกพร่องด้านทักษะทางสังคม เช่น เล่นกับเพื่อนไม่เป็น ไมาสามารถสร้างสัมพันธภาพกับครูและเพื่อนได้ มีการสื่อสารทางสังคมที่ไม่เหมาะสม เป็นต้น การบกพร่องด้านทักษะทางสังคมนี้จะส่งผลต่อการใช้ชีวิตและการเรียนรู้ของเด็กกลุ่มนี้ ซึ่งถ้าไม่ได้รับการแก้ไขจะนำไปสู่ปัญหาทางจิตใจและพัฒนาการด้านอื่น ๆ
ดังนั้น บทความนี้จึงนำเสนอเกี่ยวกับความบกพร่องด้านทักษะทางสังคม การฝึกทักษะทางสังคมที่นิยม ใช้ในปัจจุบัน ปัจจัยที่ส่งผลค่อการเสริมสร้างทักษะทางสังคมในเด็กออกทิสติกวันเรียน รวมทั้งบทบาทของพยาบาลจืตเวชในการดูแลเด็กออทิสติกวัยเรียนให้มีทักษะทางสังคมที่ดีขึ้น อันนำไปสู่การอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุขของเด็กออทิสติกต่อไปRecord link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26924 [article] ทักษะทางสังคมของเด็กออทิสติกวัยเรียน = Social skill school age children with autismspectrum dioders [printed text] / นาถลดา ตะวันกาญจนโชติ, Author . - 2017 . - p.1-21.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.30 No.2 (พ.ค-ส.ค) 2559 [06/15/2017] . - p.1-21Keywords: เด็กออทิสติก. ทักษะทางสังคม.วัยเรียน. Abstract: ความบกพร่องด้านทักษะะทางสังคม เป็นปัญหาหลักที่สำคัญอย่างยิ่งสำหรับเด็กที่ได้รับการวินิจฉัยด้วยโรคออทิสติกสเปคตรัม หรือที่เรียกว่าเด็กออทิสติก แม้ว่าเด็กกลุ่มนี้จะได้รับการส่งเสริมพัฒนาการตั้งแต่ยังเยาว์ จนมีพัฒนาการทางภาษาที่ดีขึ้น แต่เมื่อเด็กออทิสติกเข้าสู่ช่วงวัยเรียน 6-12 ปี ต้องกลับเข้าสู่กระบวนการรักษาอัีกครั้ง ด้วยปัญหาบกพร่องด้านทักษะทางสังคม เช่น เล่นกับเพื่อนไม่เป็น ไมาสามารถสร้างสัมพันธภาพกับครูและเพื่อนได้ มีการสื่อสารทางสังคมที่ไม่เหมาะสม เป็นต้น การบกพร่องด้านทักษะทางสังคมนี้จะส่งผลต่อการใช้ชีวิตและการเรียนรู้ของเด็กกลุ่มนี้ ซึ่งถ้าไม่ได้รับการแก้ไขจะนำไปสู่ปัญหาทางจิตใจและพัฒนาการด้านอื่น ๆ
ดังนั้น บทความนี้จึงนำเสนอเกี่ยวกับความบกพร่องด้านทักษะทางสังคม การฝึกทักษะทางสังคมที่นิยม ใช้ในปัจจุบัน ปัจจัยที่ส่งผลค่อการเสริมสร้างทักษะทางสังคมในเด็กออกทิสติกวันเรียน รวมทั้งบทบาทของพยาบาลจืตเวชในการดูแลเด็กออทิสติกวัยเรียนให้มีทักษะทางสังคมที่ดีขึ้น อันนำไปสู่การอยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุขของเด็กออทิสติกต่อไปRecord link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26924 การพัฒนามาตรฐานการปฎิบัติการพยาบาลนิติจิตเวช / เบญจวรรณ สามสาลี in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, Vol.30 No.2 (พ.ค-ส.ค) 2559 ([06/15/2017])
[article]
Title : การพัฒนามาตรฐานการปฎิบัติการพยาบาลนิติจิตเวช Original title : The developnment of forensic psychiatric nursing standard of practice Material Type: printed text Authors: เบญจวรรณ สามสาลี, Author ; อุทยา นาคเจริญ, Author ; เพ็ญพรรณ์ ชิตวร, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.22-37 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.30 No.2 (พ.ค-ส.ค) 2559 [06/15/2017] . - p.22-37Keywords: การพยาบาล.นิติจิตเวช.มาตรฐานการปฏิบัติ. Abstract: วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนามาตรฐานการปฏิบัติการพยาบาลนิติจิตเวช.
วิธีการศึกษา อาศันแนวคิดมาตรฐานบริการพยาบาลและผดุงครรภ์ ระดับทุติยภูมิ และระดับตติยภูมิ และ ระดับตติยภูมิของสำนักการพยาบาล พ.ศ. 2548 แนวคิดกระบวนก่ีพยาบาลและการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง โดยการนำเทคนิคเดลฟยมาใช้ในดารรวบรวมความคิดเห็นจากผู้เขี่ยวชาญ จำนวน 13 ท่าน กลุ่มตัวอย่าง คือ พยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลจิตเวช จำนวน คน คัดเลือกกลุ่ตเวช มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง ประกอบด้วย กลุ่มที่ ๅ พยาบาลวิชาชีพพที่กำลังปฏิบัติงานดูแลผู้ป่วยนิติจิตเวช จำนวน 30 คน และกลุ่มที่ 2 พยาบาลวิชาชีพที่กำลังปฏิบัติงานดูแลผู้ป่วยจิตเวช จำนวน 30 คน
ผลการศึกษา มาตรฐานการปฏิบัติการพยาบาลนิติจิตเวช ประกอบด้วย 3 มาตรฐาน ได้แก่ 1) มาตรฐานการปฏิบัติการพยาบาลนิติจิตเวชด้าน การประเมินความสามารถของบุคคลในการดำเนินชีวิตประจำวันตามประมวลกฎ หมายแพ่งและพาณิชย์ จำนวน 8 มาตรฐาน 2) มาตรฐานการปฏิบัติการาบาลจิตเวชด้านการประเมินความสามารถของบคุุคลในการต่อสู้คดีตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 14 จำนวน 9 มาตรฐานย่อย และ 3) มาตรฐานการปฏิบัติการพยาบาลนิติจิตเวชด้านการประเมินภาวะอันตรายและความปลอดภัยต่อสังคม ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 48 จำนวน 9 มาตรฐานย่อย โดย พบว่า กลุ่มตัวอย่างที่กำลังปฏิบัติงานดูแลผู้ป่วยนิติจิตเวชมีคะแนนเฉลี่ยทั้งกิจกรรมการพยาบาลและผลลัพธ์ที่คาดหวังสูงกว่ากลุ่มที่กำลังปฏิบัติการพยาบาลนิติจิตเวชอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ p<.01 มาตรฐานการปฏิบัติการพยาบาลนิติจิตเวชฉบับนี้เป็นมาตรฐานที่มีความตรง สามารถนำไปใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติการพยาบาล เพื่อดูแลผู้ป่วยนิติจิตเวชได้จริงCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26925 [article] การพัฒนามาตรฐานการปฎิบัติการพยาบาลนิติจิตเวช = The developnment of forensic psychiatric nursing standard of practice [printed text] / เบญจวรรณ สามสาลี, Author ; อุทยา นาคเจริญ, Author ; เพ็ญพรรณ์ ชิตวร, Author . - 2017 . - p.22-37.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.30 No.2 (พ.ค-ส.ค) 2559 [06/15/2017] . - p.22-37Keywords: การพยาบาล.นิติจิตเวช.มาตรฐานการปฏิบัติ. Abstract: วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนามาตรฐานการปฏิบัติการพยาบาลนิติจิตเวช.
วิธีการศึกษา อาศันแนวคิดมาตรฐานบริการพยาบาลและผดุงครรภ์ ระดับทุติยภูมิ และระดับตติยภูมิ และ ระดับตติยภูมิของสำนักการพยาบาล พ.ศ. 2548 แนวคิดกระบวนก่ีพยาบาลและการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้อง โดยการนำเทคนิคเดลฟยมาใช้ในดารรวบรวมความคิดเห็นจากผู้เขี่ยวชาญ จำนวน 13 ท่าน กลุ่มตัวอย่าง คือ พยาบาลวิชาชีพที่ปฏิบัติงานในโรงพยาบาลจิตเวช จำนวน คน คัดเลือกกลุ่ตเวช มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง ประกอบด้วย กลุ่มที่ ๅ พยาบาลวิชาชีพพที่กำลังปฏิบัติงานดูแลผู้ป่วยนิติจิตเวช จำนวน 30 คน และกลุ่มที่ 2 พยาบาลวิชาชีพที่กำลังปฏิบัติงานดูแลผู้ป่วยจิตเวช จำนวน 30 คน
ผลการศึกษา มาตรฐานการปฏิบัติการพยาบาลนิติจิตเวช ประกอบด้วย 3 มาตรฐาน ได้แก่ 1) มาตรฐานการปฏิบัติการพยาบาลนิติจิตเวชด้าน การประเมินความสามารถของบุคคลในการดำเนินชีวิตประจำวันตามประมวลกฎ หมายแพ่งและพาณิชย์ จำนวน 8 มาตรฐาน 2) มาตรฐานการปฏิบัติการาบาลจิตเวชด้านการประเมินความสามารถของบคุุคลในการต่อสู้คดีตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญามาตรา 14 จำนวน 9 มาตรฐานย่อย และ 3) มาตรฐานการปฏิบัติการพยาบาลนิติจิตเวชด้านการประเมินภาวะอันตรายและความปลอดภัยต่อสังคม ตามประมวลกฎหมายอาญามาตรา 48 จำนวน 9 มาตรฐานย่อย โดย พบว่า กลุ่มตัวอย่างที่กำลังปฏิบัติงานดูแลผู้ป่วยนิติจิตเวชมีคะแนนเฉลี่ยทั้งกิจกรรมการพยาบาลและผลลัพธ์ที่คาดหวังสูงกว่ากลุ่มที่กำลังปฏิบัติการพยาบาลนิติจิตเวชอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ p<.01 มาตรฐานการปฏิบัติการพยาบาลนิติจิตเวชฉบับนี้เป็นมาตรฐานที่มีความตรง สามารถนำไปใช้เป็นแนวทางในการปฏิบัติการพยาบาล เพื่อดูแลผู้ป่วยนิติจิตเวชได้จริงCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26925 การพัฒนาโปรแกรมการให้การปรึกษาโดยการปรับความคิดและพฤติกรรม / สมบัติ สกุลพรรณ์ in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, Vol.30 No.2 (พ.ค-ส.ค) 2559 ([06/15/2017])
[article]
Title : การพัฒนาโปรแกรมการให้การปรึกษาโดยการปรับความคิดและพฤติกรรม : สำหรับผู้ติดสุราที่เป็นโรคซึมเศร้า ที่มารับบริการในโรงพยาบาลชุมชน Original title : Development of cognitive behavior counseling program for persons with alcoholism and major depressive disorders receiving services at community hospitals Material Type: printed text Authors: สมบัติ สกุลพรรณ์, Author ; ดาราวรรณ ต๊ะปินตา, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.38-49 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.30 No.2 (พ.ค-ส.ค) 2559 [06/15/2017] . - p.38-49Keywords: การพัฒนาโปรแกรม.การปรึกษาโดยการปรับความคิด.การปรึกษาโดยการปรับพฤติกรรม.ผู้ติดสุราที่เป็นโรคซึมเศร้า.โรคซึมเศร้า. Abstract: วัตถุประสงค์เพื่อ พัฒนาโปรแกรมการให้การปรึกษา โดยการปรับความคิดและพฤติกรรมำหรับผู้ติดสุราที่เป็นโรคซึมเศร้าที่มารับบริการในโรงพยาบาลชุมชน
วิธีการศึกษา แนวคิดในการสร้างกิจกรรมในโปรแกรมจากทฤษฎีทางปัญญาของ เบค โดยมีขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมตามแนวคิดของเบรพแมน 4 ขั้นตอน คือ 1) การประเมินความต้องการ 2) การวางแผนโปรแกรม 3) การนำโปรแกรมไปทดลองใช้ และ 4) การประเมินโปรแกรม
ผลการศึกษา
1 โปรแกรมการให้การปรึกษาโดยการปรับความคิดและพฤติกรรมสำหรับผู้ติดสุราที่เป็นโรคซึมเศร้าที่มารับบริการในโรงพยาบาลชุมชน มีการให้การปรึกษาจำนวน 6 ครั้ง ครั้งละ 45-90 นาที ในช่วงเวลา 3 สัปดาหฺ์
2 เนื้อหาหลักของโปรแกรม คือ การค้นหาความคิดอคโนมัติหรือการแก้ปัญหา
3 โปรแกรมมีความตรงตามเนื้อหา จากการตรวจสอบของผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 คน
4 ผู้ให้การปรึกษาและผู้ป่วยรายงานว่ากิจกรรม และงานในฏปรแกรมสามารถทำได้จริงและมีประโยชน์
5 ผู้ให้การปรึกษาจำเป็นต้องได้รับการฝึกก่อนการฝชเโปรแกรม
สรุป โปรแกรมการให้การปรึกษา โดยการปรับความคิด และพฤติกรรมสำหรับผุ้ติสุราที่เป็นโรคซึมเศร้าที่ได้พัฒนาขึ้น สามารถใช้ได้จริงและผู้ให้การปรึกษา และผู้ป่วยรับรู้ในประโยชน์ของโปรแกรมCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26928 [article] การพัฒนาโปรแกรมการให้การปรึกษาโดยการปรับความคิดและพฤติกรรม = Development of cognitive behavior counseling program for persons with alcoholism and major depressive disorders receiving services at community hospitals : สำหรับผู้ติดสุราที่เป็นโรคซึมเศร้า ที่มารับบริการในโรงพยาบาลชุมชน [printed text] / สมบัติ สกุลพรรณ์, Author ; ดาราวรรณ ต๊ะปินตา, Author . - 2017 . - p.38-49.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.30 No.2 (พ.ค-ส.ค) 2559 [06/15/2017] . - p.38-49Keywords: การพัฒนาโปรแกรม.การปรึกษาโดยการปรับความคิด.การปรึกษาโดยการปรับพฤติกรรม.ผู้ติดสุราที่เป็นโรคซึมเศร้า.โรคซึมเศร้า. Abstract: วัตถุประสงค์เพื่อ พัฒนาโปรแกรมการให้การปรึกษา โดยการปรับความคิดและพฤติกรรมำหรับผู้ติดสุราที่เป็นโรคซึมเศร้าที่มารับบริการในโรงพยาบาลชุมชน
วิธีการศึกษา แนวคิดในการสร้างกิจกรรมในโปรแกรมจากทฤษฎีทางปัญญาของ เบค โดยมีขั้นตอนการพัฒนาโปรแกรมตามแนวคิดของเบรพแมน 4 ขั้นตอน คือ 1) การประเมินความต้องการ 2) การวางแผนโปรแกรม 3) การนำโปรแกรมไปทดลองใช้ และ 4) การประเมินโปรแกรม
ผลการศึกษา
1 โปรแกรมการให้การปรึกษาโดยการปรับความคิดและพฤติกรรมสำหรับผู้ติดสุราที่เป็นโรคซึมเศร้าที่มารับบริการในโรงพยาบาลชุมชน มีการให้การปรึกษาจำนวน 6 ครั้ง ครั้งละ 45-90 นาที ในช่วงเวลา 3 สัปดาหฺ์
2 เนื้อหาหลักของโปรแกรม คือ การค้นหาความคิดอคโนมัติหรือการแก้ปัญหา
3 โปรแกรมมีความตรงตามเนื้อหา จากการตรวจสอบของผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 5 คน
4 ผู้ให้การปรึกษาและผู้ป่วยรายงานว่ากิจกรรม และงานในฏปรแกรมสามารถทำได้จริงและมีประโยชน์
5 ผู้ให้การปรึกษาจำเป็นต้องได้รับการฝึกก่อนการฝชเโปรแกรม
สรุป โปรแกรมการให้การปรึกษา โดยการปรับความคิด และพฤติกรรมสำหรับผุ้ติสุราที่เป็นโรคซึมเศร้าที่ได้พัฒนาขึ้น สามารถใช้ได้จริงและผู้ให้การปรึกษา และผู้ป่วยรับรู้ในประโยชน์ของโปรแกรมCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26928 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความว้าเหว่ในผู้สูงอาย / สมหมาย กุมผัน in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, Vol.30 No.2 (พ.ค-ส.ค) 2559 ([06/15/2017])
[article]
Title : ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความว้าเหว่ในผู้สูงอาย Original title : Factor influence loneliness in order adults Material Type: printed text Authors: สมหมาย กุมผัน, Author ; โสภิน แสงอ่อน, Author ; พัชรินทร์ นินทจันทร์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.50-68 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.30 No.2 (พ.ค-ส.ค) 2559 [06/15/2017] . - p.50-68Keywords: ผู้สูงอายุ.ความว้าเหว่. ปัจจัยที่มีอิทธิพล. Abstract: เป็นการวิจัยเชิงทำนาย เพื่อศึกษาปััจัยที่มีอิทธิพลต่อความว้าเหว่ในผู้สูงอายุ ปัจจัยที่ศึกษาได้แก่ อายุ สถานภาพสมรส ภาวะสุขภาพ สัมพันธภาพในครอบครัว ความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งจองกลุ่ม หรือสังคมและการสนับสนุนทางสังคม
วิธีการศึกษา กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้สูงอายุที่อาศัยในชุมชนแห่งหนึ่งในจังหวัดเพชรบุรี จำนวน 116 คน สุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เก็บข้อมูลระหว่างเดือนเมษายน-พฤษภาคม 2558 เครื่องมือที่ใช้ แบบสอบถาม แบบประเมิน เแบบทดสอบ แบบวัดสัมพันธภาพ
ผลการศึกษา พบว่า อายุ สถานภาพสมรส ภาวะสุขภาพ สัมพันธภาพในครอบครัว ความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มหรือสังคม ร่วมกนอธิบายความแปรปรวนของความว้าเหว่ในผู้สูงอายุ ผลการวจิจัยให้ข้ข้อมูลที่สามารถนำไปใช้ในการวางแผนป้องกันและลดความว้าเหว่ในผู้สูงอายุโดยให้ความสำคัญในการส่งเสริมการสนับสนุนทางสังคมและความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่ม หรือสังคม ลดปัญหาสุขภาพในผู้สูงอายุCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26929 [article] ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความว้าเหว่ในผู้สูงอาย = Factor influence loneliness in order adults [printed text] / สมหมาย กุมผัน, Author ; โสภิน แสงอ่อน, Author ; พัชรินทร์ นินทจันทร์, Author . - 2017 . - p.50-68.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.30 No.2 (พ.ค-ส.ค) 2559 [06/15/2017] . - p.50-68Keywords: ผู้สูงอายุ.ความว้าเหว่. ปัจจัยที่มีอิทธิพล. Abstract: เป็นการวิจัยเชิงทำนาย เพื่อศึกษาปััจัยที่มีอิทธิพลต่อความว้าเหว่ในผู้สูงอายุ ปัจจัยที่ศึกษาได้แก่ อายุ สถานภาพสมรส ภาวะสุขภาพ สัมพันธภาพในครอบครัว ความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งจองกลุ่ม หรือสังคมและการสนับสนุนทางสังคม
วิธีการศึกษา กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้สูงอายุที่อาศัยในชุมชนแห่งหนึ่งในจังหวัดเพชรบุรี จำนวน 116 คน สุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เก็บข้อมูลระหว่างเดือนเมษายน-พฤษภาคม 2558 เครื่องมือที่ใช้ แบบสอบถาม แบบประเมิน เแบบทดสอบ แบบวัดสัมพันธภาพ
ผลการศึกษา พบว่า อายุ สถานภาพสมรส ภาวะสุขภาพ สัมพันธภาพในครอบครัว ความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่มหรือสังคม ร่วมกนอธิบายความแปรปรวนของความว้าเหว่ในผู้สูงอายุ ผลการวจิจัยให้ข้ข้อมูลที่สามารถนำไปใช้ในการวางแผนป้องกันและลดความว้าเหว่ในผู้สูงอายุโดยให้ความสำคัญในการส่งเสริมการสนับสนุนทางสังคมและความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของกลุ่ม หรือสังคม ลดปัญหาสุขภาพในผู้สูงอายุCurricular : BNS Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26929 ปัจจัยคัดสรรที่มีความสัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุโรคซึมเศร้าในเขตภาคกลาง / มุจรินทร์ พุทธเมตตา in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, Vol.30 No.2 (พ.ค-ส.ค) 2559 ([06/15/2017])
[article]
Title : ปัจจัยคัดสรรที่มีความสัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุโรคซึมเศร้าในเขตภาคกลาง Original title : Selected factors related to depression of the elder persons with depressive disorder in the central region Material Type: printed text Authors: มุจรินทร์ พุทธเมตตา, Author ; รังสิมันต์ สุนทรไชยา, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.69-82 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.30 No.2 (พ.ค-ส.ค) 2559 [06/15/2017] . - p.69-82Keywords: ภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุ.ผู้สุงอายุ.โรคเรื้อรัง.ปัจจัยคัดสรรที่สัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้า. Abstract: ัเพื่อศึกษาระดับภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุโรคซึมเศร้า และศึกษาึวามสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยคัดสรร ได้แก้ เพศ การเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง ความสามารถในการรู้คิด การดื้มแอลกอฮอล์ เหตุการณ์ความเครียดในชีวิต ความรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง ความเข้มแข็งทางจิตใจ การสนับสนุนทางสังคม ความสามารถในการทำหน้าที่ ความเชื่อทางศาสานากับภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุโรคซึมเศร้า
วิธีการศึกษา คือ ผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคซึมเศร้าที่มีอายุตั้งแต่ 60 ขึ้นไป ที่มารับการรักษาในแผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลระดับตติยภูมิ จำนวน 176 ราย โดยการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ แบบสอบถาม แบบทดสอบสมรรถภาพสมอง แบบประเมินเหตุการณ์ความเครียด แบบประเมินความรู้สึกที่มีคุณค่า แบบประเมินความเข้มอข็ง แบบประเมินการสนับสนุนทางสังคม แบบประเมินความสามารถในหน้าที และแบบประเมินภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุุ
ผลการศึกษา มีดังนี้
1. ภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุโรคซึมเศร้า ส่วนใหญ่พบ อยู่ในระดับน้อย คิดเป็นร้อยละ 30.7 และระดับรุนแแรง ร้อยละ 3.4
2. เพศ มีความสัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุโรคซึมเศร้า (rpb = .242, p<-01)
3. การดื่มแอลกอฮอล์ และเหตุการณ์ความเครียดในชีวิต มีความสัมพันธ์ทางบวกกับภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุโรคซึมเศร้า (rpb = .238,<.01 และ r=.435, p,.01)
4. ความสามารถในการรู้คิด ความรู้สึิกมีคุณค่าในตนเอง ความเข้มแข็งทางใจ การสนับสนุนทางสังคม ความสามารถในการทำหน้าที่ และความเชื่อทางศาสนา มีความสัมพันธ์ทางลบกับภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุโรคซึมเศร้าในผู้สูงอายุโรคซึมเศร้า (rpb=.181,p<.05,r=.318,p< .01,r=.320,p<.01 r=331,p<.01, r=.362, p,.01 และ rpb=.179, p,.05 ตามลำดับ)
5. การเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง ไม่มีความสัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุโรคซึมเศร้าRecord link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26951 [article] ปัจจัยคัดสรรที่มีความสัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุโรคซึมเศร้าในเขตภาคกลาง = Selected factors related to depression of the elder persons with depressive disorder in the central region [printed text] / มุจรินทร์ พุทธเมตตา, Author ; รังสิมันต์ สุนทรไชยา, Author . - 2017 . - p.69-82.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.30 No.2 (พ.ค-ส.ค) 2559 [06/15/2017] . - p.69-82Keywords: ภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุ.ผู้สุงอายุ.โรคเรื้อรัง.ปัจจัยคัดสรรที่สัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้า. Abstract: ัเพื่อศึกษาระดับภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุโรคซึมเศร้า และศึกษาึวามสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยคัดสรร ได้แก้ เพศ การเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง ความสามารถในการรู้คิด การดื้มแอลกอฮอล์ เหตุการณ์ความเครียดในชีวิต ความรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง ความเข้มแข็งทางจิตใจ การสนับสนุนทางสังคม ความสามารถในการทำหน้าที่ ความเชื่อทางศาสานากับภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุโรคซึมเศร้า
วิธีการศึกษา คือ ผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นโรคซึมเศร้าที่มีอายุตั้งแต่ 60 ขึ้นไป ที่มารับการรักษาในแผนกผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลระดับตติยภูมิ จำนวน 176 ราย โดยการสุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ แบบสอบถาม แบบทดสอบสมรรถภาพสมอง แบบประเมินเหตุการณ์ความเครียด แบบประเมินความรู้สึกที่มีคุณค่า แบบประเมินความเข้มอข็ง แบบประเมินการสนับสนุนทางสังคม แบบประเมินความสามารถในหน้าที และแบบประเมินภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุุ
ผลการศึกษา มีดังนี้
1. ภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุโรคซึมเศร้า ส่วนใหญ่พบ อยู่ในระดับน้อย คิดเป็นร้อยละ 30.7 และระดับรุนแแรง ร้อยละ 3.4
2. เพศ มีความสัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุโรคซึมเศร้า (rpb = .242, p<-01)
3. การดื่มแอลกอฮอล์ และเหตุการณ์ความเครียดในชีวิต มีความสัมพันธ์ทางบวกกับภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุโรคซึมเศร้า (rpb = .238,<.01 และ r=.435, p,.01)
4. ความสามารถในการรู้คิด ความรู้สึิกมีคุณค่าในตนเอง ความเข้มแข็งทางใจ การสนับสนุนทางสังคม ความสามารถในการทำหน้าที่ และความเชื่อทางศาสนา มีความสัมพันธ์ทางลบกับภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุโรคซึมเศร้าในผู้สูงอายุโรคซึมเศร้า (rpb=.181,p<.05,r=.318,p< .01,r=.320,p<.01 r=331,p<.01, r=.362, p,.01 และ rpb=.179, p,.05 ตามลำดับ)
5. การเจ็บป่วยด้วยโรคเรื้อรัง ไม่มีความสัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุโรคซึมเศร้าRecord link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26951 ความสัมพันธ์ระหว่างสภาพแวดล้อมในครอบครัวด้านสัมพันธภาพ พฤติกรรมการเป็นพ่อแม่ ภาวะซึมเศร้าของแม่ และภาวะติดสุราของพ่อกับปัญหาพฤติกรรมในเด็กสมาธิสั้นภาคกลางตอนบน / นันทชา สงวนกุลชัย in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, Vol.30 No.2 (พ.ค-ส.ค) 2559 ([06/15/2017])
[article]
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างสภาพแวดล้อมในครอบครัวด้านสัมพันธภาพ พฤติกรรมการเป็นพ่อแม่ ภาวะซึมเศร้าของแม่ และภาวะติดสุราของพ่อกับปัญหาพฤติกรรมในเด็กสมาธิสั้นภาคกลางตอนบน Original title : Relationships between family environment relationship dimension parenting behavior maternal depression and paternal alcohol dependent and behavioral problems in children with attention-deficit hyperactivity disorder upper central region Material Type: printed text Authors: นันทชา สงวนกุลชัย, Author ; จินตนา ยูนิพันธ์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.83-96 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.30 No.2 (พ.ค-ส.ค) 2559 [06/15/2017] . - p.83-96Keywords: ความสัมพันธ์ในครอบครัว.สัมพันธภาพ.พฤติกรรมการเป็นพ่อแม่.ภาวะซึมเศร้าของแม่.ภาวะติดสุราของพ่อ. Abstract: เป็นการวิจัยเชิงบรรยาย เพื่อศึกษา
1. ปัญหาพฤติกรรมเด็กสมาธิสั้น
2. สภาพแวดล้อมในครอบครัวด้านสัมพันธภาพพฤติกรรมการเป็นพ่อแม่ภาวะซึมเศร้าของแม่และภาวะติดสุราของพ่อเด็กสมาธิสั้น
3. ความสัมพันธ์ระหว่างสภาพแวดล้อมในครอบครัวด้านสัมพันธภาพ พฤติกรรมการเป็นพ่อแม่ ภาวะซึมเศร้าของแม่ และภาวะติดสุราของพ่อ กับปัญหาพฤติกรรมในเด็กสมาธิสั้น
กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 154 คน เครื่องมือที่ใช้ แบบประเมินสภาพแวดล้อมในครอบครัวด้านสัมพันธภาพ แบบประเมินพฤติกรรมการเป็นพ่อแม่ฉบับบิดามารดา แบบประเมินพฤติกรรมเด็ก แบบประเมินภาวะซึมเศร้า และแบบประเมินปัญหาการดื่มสุรา
ผลการวิจัย สรุปได้ คือ
1 เด็กสมาธิสั้นส่วนใหญ่มีปัญหาพฤติกรรมร้อยละ 69.5 ในด้านการเกเร มากที่สุด รองลงมาคือ ด้านความสัมพันธ์กับเพื่อน พฤิกรรมอยูู่ไม่นิ่ง ปัญหาพฤติกรรมสัมพันธภาพทางสังคม และปัญหาพฤติกรรมทางอารมณ์ (ร้อยละ 80.50 75.3 56.5, 24.7 และ 15.6 ตามลำดับ
2. สภาพแวดล้อมในครอบครัวด้านสัมพันธภาพของเด็กสมาธิสั้นอยู่่ในระดับร้อยละ 79.2 พฤติกรรมการเป็นพ่อแม่ โดยรวมอยู่ในระดับปานกลางร้อยละ 86.4 ภาวะซึมเศร้า ของแม่พบ ร้อยละ 18.8 และภาวะพ่อติดสุรา พบร้อยละ 8.4
3. สภาพแวดล้อมในครอบครัวด้านสัมพันธภาพและพฤติกรรมการเ็นพ่อแม่มีความสัมพันธ์ทางลบกับปัญหาพฤติกรรมอย่างมีนัยสำคัญทางบวกกับปัญหมพฤติกรรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r=.394 และ .165)Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26952 [article] ความสัมพันธ์ระหว่างสภาพแวดล้อมในครอบครัวด้านสัมพันธภาพ พฤติกรรมการเป็นพ่อแม่ ภาวะซึมเศร้าของแม่ และภาวะติดสุราของพ่อกับปัญหาพฤติกรรมในเด็กสมาธิสั้นภาคกลางตอนบน = Relationships between family environment relationship dimension parenting behavior maternal depression and paternal alcohol dependent and behavioral problems in children with attention-deficit hyperactivity disorder upper central region [printed text] / นันทชา สงวนกุลชัย, Author ; จินตนา ยูนิพันธ์, Author . - 2017 . - p.83-96.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.30 No.2 (พ.ค-ส.ค) 2559 [06/15/2017] . - p.83-96Keywords: ความสัมพันธ์ในครอบครัว.สัมพันธภาพ.พฤติกรรมการเป็นพ่อแม่.ภาวะซึมเศร้าของแม่.ภาวะติดสุราของพ่อ. Abstract: เป็นการวิจัยเชิงบรรยาย เพื่อศึกษา
1. ปัญหาพฤติกรรมเด็กสมาธิสั้น
2. สภาพแวดล้อมในครอบครัวด้านสัมพันธภาพพฤติกรรมการเป็นพ่อแม่ภาวะซึมเศร้าของแม่และภาวะติดสุราของพ่อเด็กสมาธิสั้น
3. ความสัมพันธ์ระหว่างสภาพแวดล้อมในครอบครัวด้านสัมพันธภาพ พฤติกรรมการเป็นพ่อแม่ ภาวะซึมเศร้าของแม่ และภาวะติดสุราของพ่อ กับปัญหาพฤติกรรมในเด็กสมาธิสั้น
กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 154 คน เครื่องมือที่ใช้ แบบประเมินสภาพแวดล้อมในครอบครัวด้านสัมพันธภาพ แบบประเมินพฤติกรรมการเป็นพ่อแม่ฉบับบิดามารดา แบบประเมินพฤติกรรมเด็ก แบบประเมินภาวะซึมเศร้า และแบบประเมินปัญหาการดื่มสุรา
ผลการวิจัย สรุปได้ คือ
1 เด็กสมาธิสั้นส่วนใหญ่มีปัญหาพฤติกรรมร้อยละ 69.5 ในด้านการเกเร มากที่สุด รองลงมาคือ ด้านความสัมพันธ์กับเพื่อน พฤิกรรมอยูู่ไม่นิ่ง ปัญหาพฤติกรรมสัมพันธภาพทางสังคม และปัญหาพฤติกรรมทางอารมณ์ (ร้อยละ 80.50 75.3 56.5, 24.7 และ 15.6 ตามลำดับ
2. สภาพแวดล้อมในครอบครัวด้านสัมพันธภาพของเด็กสมาธิสั้นอยู่่ในระดับร้อยละ 79.2 พฤติกรรมการเป็นพ่อแม่ โดยรวมอยู่ในระดับปานกลางร้อยละ 86.4 ภาวะซึมเศร้า ของแม่พบ ร้อยละ 18.8 และภาวะพ่อติดสุรา พบร้อยละ 8.4
3. สภาพแวดล้อมในครอบครัวด้านสัมพันธภาพและพฤติกรรมการเ็นพ่อแม่มีความสัมพันธ์ทางลบกับปัญหาพฤติกรรมอย่างมีนัยสำคัญทางบวกกับปัญหมพฤติกรรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r=.394 และ .165)Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26952 ความสัมพันธ์ระหว่างความแข็งแกร่งในชีวิตกับภาวะซึมเศร้าและพฤติกรรมก้าวร้าวในวัยรุ่นที่เผชิญเหตุการณ์รุนแรง / อริศรา สุขศรี in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, Vol.30 No.2 (พ.ค-ส.ค) 2559 ([06/15/2017])
[article]
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างความแข็งแกร่งในชีวิตกับภาวะซึมเศร้าและพฤติกรรมก้าวร้าวในวัยรุ่นที่เผชิญเหตุการณ์รุนแรง Original title : Relationships between resilience and depression and aggressive behaviors in adolescents exposed to violence Material Type: printed text Authors: อริศรา สุขศรี, Author ; พัชรินทร์ นินทจันทร์, Author ; ทัศนา ทวีคูณ, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.97-112 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.30 No.2 (พ.ค-ส.ค) 2559 [06/15/2017] . - p.97-112Keywords: ความแข็งแกร่งในชีวิต. ภาวะซึมเศร้า. พฤติกรรมก้าวร้าว. วัยรุ่นที่เผชิญเหตุการณ์รุนแรง. Abstract: ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความแข็งแกร่งในชีวิตกับภาวะซึมเศร้า และพฤติกรรมก้าวร้าวในวัยรุ่นที่เผชิญเหตุการณ์รุนแรง
การวิจัยนี้ เป็นการวิจัยแบบบรรยายความสัมพันธ์ กลุ้มตัวอย่าง จำนวน 283 คน ระดับมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 1-6 เครื่องมือที่ใช้คือ แบบสอบถาม แบบประเมิน แบบคัดกรอง แบบวัดพฤติกรรม
ผลการศึกษา พบว่า ความแข็งแกร่งในชีวิตในวัยรุ่นที่เผชิญเหตุการณ์รุนแรงมีความสัมพันธฺทางลบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติกับภาวะซึมเศร้า (rs= -.358, p<.001) และพฤติกรรมก้าวร้าว (rs= -.291, p.001) ผลการวิจัยครั้งนี้เป็นข้อมูลพื้นฐานที่สามารถนำไปใช้ในแผนการเสริมสร้างความแข็งแกร่งในชีวิตที่เผชิญเหตุการณ์รุนแรงต่อไปRecord link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26953 [article] ความสัมพันธ์ระหว่างความแข็งแกร่งในชีวิตกับภาวะซึมเศร้าและพฤติกรรมก้าวร้าวในวัยรุ่นที่เผชิญเหตุการณ์รุนแรง = Relationships between resilience and depression and aggressive behaviors in adolescents exposed to violence [printed text] / อริศรา สุขศรี, Author ; พัชรินทร์ นินทจันทร์, Author ; ทัศนา ทวีคูณ, Author . - 2017 . - p.97-112.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.30 No.2 (พ.ค-ส.ค) 2559 [06/15/2017] . - p.97-112Keywords: ความแข็งแกร่งในชีวิต. ภาวะซึมเศร้า. พฤติกรรมก้าวร้าว. วัยรุ่นที่เผชิญเหตุการณ์รุนแรง. Abstract: ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความแข็งแกร่งในชีวิตกับภาวะซึมเศร้า และพฤติกรรมก้าวร้าวในวัยรุ่นที่เผชิญเหตุการณ์รุนแรง
การวิจัยนี้ เป็นการวิจัยแบบบรรยายความสัมพันธ์ กลุ้มตัวอย่าง จำนวน 283 คน ระดับมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 1-6 เครื่องมือที่ใช้คือ แบบสอบถาม แบบประเมิน แบบคัดกรอง แบบวัดพฤติกรรม
ผลการศึกษา พบว่า ความแข็งแกร่งในชีวิตในวัยรุ่นที่เผชิญเหตุการณ์รุนแรงมีความสัมพันธฺทางลบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติกับภาวะซึมเศร้า (rs= -.358, p<.001) และพฤติกรรมก้าวร้าว (rs= -.291, p.001) ผลการวิจัยครั้งนี้เป็นข้อมูลพื้นฐานที่สามารถนำไปใช้ในแผนการเสริมสร้างความแข็งแกร่งในชีวิตที่เผชิญเหตุการณ์รุนแรงต่อไปRecord link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26953