From this page you can:
Home |
Search results
3 result(s) search for keyword(s) 'ความสัมพันธ์ในครอบครัว.สัมพันธภาพ.พฤติกรรมการเป็นพ่อแม่.ภาวะซึมเศร้าของแม่.ภาวะติดสุราของพ่อ.'
Add the result to your basket Refine your search Apply to external sources Make a suggestion
ความสัมพันธ์ระหว่างสภาพแวดล้อมในครอบครัวด้านสัมพันธภาพ พฤติกรรมการเป็นพ่อแม่ ภาวะซึมเศร้าของแม่ และภาวะติดสุราของพ่อกับปัญหาพฤติกรรมในเด็กสมาธิสั้นภาคกลางตอนบน / นันทชา สงวนกุลชัย in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต, Vol.30 No.2 (พ.ค-ส.ค) 2559 ([06/15/2017])
[article]
Title : ความสัมพันธ์ระหว่างสภาพแวดล้อมในครอบครัวด้านสัมพันธภาพ พฤติกรรมการเป็นพ่อแม่ ภาวะซึมเศร้าของแม่ และภาวะติดสุราของพ่อกับปัญหาพฤติกรรมในเด็กสมาธิสั้นภาคกลางตอนบน Original title : Relationships between family environment relationship dimension parenting behavior maternal depression and paternal alcohol dependent and behavioral problems in children with attention-deficit hyperactivity disorder upper central region Material Type: printed text Authors: นันทชา สงวนกุลชัย, Author ; จินตนา ยูนิพันธ์, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.83-96 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.30 No.2 (พ.ค-ส.ค) 2559 [06/15/2017] . - p.83-96Keywords: ความสัมพันธ์ในครอบครัว.สัมพันธภาพ.พฤติกรรมการเป็นพ่อแม่.ภาวะซึมเศร้าของแม่.ภาวะติดสุราของพ่อ. Abstract: เป็นการวิจัยเชิงบรรยาย เพื่อศึกษา
1. ปัญหาพฤติกรรมเด็กสมาธิสั้น
2. สภาพแวดล้อมในครอบครัวด้านสัมพันธภาพพฤติกรรมการเป็นพ่อแม่ภาวะซึมเศร้าของแม่และภาวะติดสุราของพ่อเด็กสมาธิสั้น
3. ความสัมพันธ์ระหว่างสภาพแวดล้อมในครอบครัวด้านสัมพันธภาพ พฤติกรรมการเป็นพ่อแม่ ภาวะซึมเศร้าของแม่ และภาวะติดสุราของพ่อ กับปัญหาพฤติกรรมในเด็กสมาธิสั้น
กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 154 คน เครื่องมือที่ใช้ แบบประเมินสภาพแวดล้อมในครอบครัวด้านสัมพันธภาพ แบบประเมินพฤติกรรมการเป็นพ่อแม่ฉบับบิดามารดา แบบประเมินพฤติกรรมเด็ก แบบประเมินภาวะซึมเศร้า และแบบประเมินปัญหาการดื่มสุรา
ผลการวิจัย สรุปได้ คือ
1 เด็กสมาธิสั้นส่วนใหญ่มีปัญหาพฤติกรรมร้อยละ 69.5 ในด้านการเกเร มากที่สุด รองลงมาคือ ด้านความสัมพันธ์กับเพื่อน พฤิกรรมอยูู่ไม่นิ่ง ปัญหาพฤติกรรมสัมพันธภาพทางสังคม และปัญหาพฤติกรรมทางอารมณ์ (ร้อยละ 80.50 75.3 56.5, 24.7 และ 15.6 ตามลำดับ
2. สภาพแวดล้อมในครอบครัวด้านสัมพันธภาพของเด็กสมาธิสั้นอยู่่ในระดับร้อยละ 79.2 พฤติกรรมการเป็นพ่อแม่ โดยรวมอยู่ในระดับปานกลางร้อยละ 86.4 ภาวะซึมเศร้า ของแม่พบ ร้อยละ 18.8 และภาวะพ่อติดสุรา พบร้อยละ 8.4
3. สภาพแวดล้อมในครอบครัวด้านสัมพันธภาพและพฤติกรรมการเ็นพ่อแม่มีความสัมพันธ์ทางลบกับปัญหาพฤติกรรมอย่างมีนัยสำคัญทางบวกกับปัญหมพฤติกรรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r=.394 และ .165)Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26952 [article] ความสัมพันธ์ระหว่างสภาพแวดล้อมในครอบครัวด้านสัมพันธภาพ พฤติกรรมการเป็นพ่อแม่ ภาวะซึมเศร้าของแม่ และภาวะติดสุราของพ่อกับปัญหาพฤติกรรมในเด็กสมาธิสั้นภาคกลางตอนบน = Relationships between family environment relationship dimension parenting behavior maternal depression and paternal alcohol dependent and behavioral problems in children with attention-deficit hyperactivity disorder upper central region [printed text] / นันทชา สงวนกุลชัย, Author ; จินตนา ยูนิพันธ์, Author . - 2017 . - p.83-96.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต > Vol.30 No.2 (พ.ค-ส.ค) 2559 [06/15/2017] . - p.83-96Keywords: ความสัมพันธ์ในครอบครัว.สัมพันธภาพ.พฤติกรรมการเป็นพ่อแม่.ภาวะซึมเศร้าของแม่.ภาวะติดสุราของพ่อ. Abstract: เป็นการวิจัยเชิงบรรยาย เพื่อศึกษา
1. ปัญหาพฤติกรรมเด็กสมาธิสั้น
2. สภาพแวดล้อมในครอบครัวด้านสัมพันธภาพพฤติกรรมการเป็นพ่อแม่ภาวะซึมเศร้าของแม่และภาวะติดสุราของพ่อเด็กสมาธิสั้น
3. ความสัมพันธ์ระหว่างสภาพแวดล้อมในครอบครัวด้านสัมพันธภาพ พฤติกรรมการเป็นพ่อแม่ ภาวะซึมเศร้าของแม่ และภาวะติดสุราของพ่อ กับปัญหาพฤติกรรมในเด็กสมาธิสั้น
กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 154 คน เครื่องมือที่ใช้ แบบประเมินสภาพแวดล้อมในครอบครัวด้านสัมพันธภาพ แบบประเมินพฤติกรรมการเป็นพ่อแม่ฉบับบิดามารดา แบบประเมินพฤติกรรมเด็ก แบบประเมินภาวะซึมเศร้า และแบบประเมินปัญหาการดื่มสุรา
ผลการวิจัย สรุปได้ คือ
1 เด็กสมาธิสั้นส่วนใหญ่มีปัญหาพฤติกรรมร้อยละ 69.5 ในด้านการเกเร มากที่สุด รองลงมาคือ ด้านความสัมพันธ์กับเพื่อน พฤิกรรมอยูู่ไม่นิ่ง ปัญหาพฤติกรรมสัมพันธภาพทางสังคม และปัญหาพฤติกรรมทางอารมณ์ (ร้อยละ 80.50 75.3 56.5, 24.7 และ 15.6 ตามลำดับ
2. สภาพแวดล้อมในครอบครัวด้านสัมพันธภาพของเด็กสมาธิสั้นอยู่่ในระดับร้อยละ 79.2 พฤติกรรมการเป็นพ่อแม่ โดยรวมอยู่ในระดับปานกลางร้อยละ 86.4 ภาวะซึมเศร้า ของแม่พบ ร้อยละ 18.8 และภาวะพ่อติดสุรา พบร้อยละ 8.4
3. สภาพแวดล้อมในครอบครัวด้านสัมพันธภาพและพฤติกรรมการเ็นพ่อแม่มีความสัมพันธ์ทางลบกับปัญหาพฤติกรรมอย่างมีนัยสำคัญทางบวกกับปัญหมพฤติกรรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 (r=.394 และ .165)Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26952 ศิลปกรรมภาพฉลุสะท้อนสัมพันธภาพระหว่างบุคคล / อรัญญา บูรณะศิลป์ / ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล - 2564
Title : ศิลปกรรมภาพฉลุสะท้อนสัมพันธภาพระหว่างบุคคล Original title : Openwork Art Reflects the Relationship between People Material Type: printed text Authors: อรัญญา บูรณะศิลป์, Author Publisher: ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล Publication Date: 2564 Pagination: 116 น. Layout: ตาราง, ภาพประกอบ Size: 29.7 ซม. General note: การวิจัยสร้างสรรค์ศิลปกรรมภาพฉลุสะท้อนสัมพันธภาพระหว่างบุคคลเป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลวดลาย เทคนิค ขั้นตอน วิธีการสร้างสรรค์ ฉลุลวดลาย เพื่อสร้างองค์ความรู้ในการสร้างสรรค์และผลงานศิลปกรรมภาพฉลุสะท้อนสัมพันธภาพระหว่างบุคคล โดยเก็บรวมรวมข้อมูลจากหนังสือ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ งานวิจัยและงานสร้างสรรค์ที่เกี่ยวข้องมาวิเคราะห์เป็นองค์ความรู้เพื่อนำไปใช้ เป็นผลงานทดลอง 4 ชุด Languages : Thai (tha) Descriptors: [LCSH]ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
[LCSH]ลายฉลุ
[LCSH]ศิลปกรรม -- เทคนิค
[LCSH]ศิลปกรรม -- ไทย -- ผลงานKeywords: ศิลปกรรม, ภาพฉลุ, การสร้างสรรค์, ลวดลายฅ สัมพันธภาพ Class number: THE NK8654 ศิลปกรรมภาพฉลุ (Stencil) Abstract: ผลการวิจัยพบว่า การศึกษาลวดลาย เทคนิค ขั้นตอนและวิธีการสร้างสรรค์ฉลุลวดลาย ใช้เทคนิคการฉลุหนังใหญ่ด้วยเทคนิคการตอก การฉลุ การตัด การสร้างองค์ความรู้ในการสร้างสรรค์ผลงานศิลปกรรมภาพฉลุสะท้อนสัมพันธภาพระหว่างบุคคล ใช้ความรู้ด้านสัมพันธภาพระหว่างบุคคล ความรู้ด้านการฉลุ ความรู้ด้านทัศนธาตุ ความรู้ด้านองค์ประกอบศิลป์ และความรู้ด้านทฤษฎีศิลปะส่วนการสร้างสรรค์ผลงานศิลปกรรมภาพฉลุสะท้อนสัมพันธภาพระหว่างบุคคล ควรพิจารณาจากความสวยงามด้านความสัมพันธ์ของวัสดุ ความสัมพันธ์ขององค์ประกอบด้านความสัมพันธ์ของเนื้อหาและเทคนิคกรรมวิธีในการสร้างสรรค์เพื่อให้สื่อถึงเนื้อหาเรื่องราวที่สะท้อนสัมพันธภาพระหว่างบุคคลผ่านการแสดงความรัก ความผูกพันบนพื้นฐานของสังคมครอบครัว Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28339 ศิลปกรรมภาพฉลุสะท้อนสัมพันธภาพระหว่างบุคคล = Openwork Art Reflects the Relationship between People [printed text] / อรัญญา บูรณะศิลป์, Author . - [S.l.] : ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล, 2564 . - 116 น. : ตาราง, ภาพประกอบ ; 29.7 ซม.
การวิจัยสร้างสรรค์ศิลปกรรมภาพฉลุสะท้อนสัมพันธภาพระหว่างบุคคลเป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลวดลาย เทคนิค ขั้นตอน วิธีการสร้างสรรค์ ฉลุลวดลาย เพื่อสร้างองค์ความรู้ในการสร้างสรรค์และผลงานศิลปกรรมภาพฉลุสะท้อนสัมพันธภาพระหว่างบุคคล โดยเก็บรวมรวมข้อมูลจากหนังสือ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ งานวิจัยและงานสร้างสรรค์ที่เกี่ยวข้องมาวิเคราะห์เป็นองค์ความรู้เพื่อนำไปใช้ เป็นผลงานทดลอง 4 ชุด
Languages : Thai (tha)
Descriptors: [LCSH]ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
[LCSH]ลายฉลุ
[LCSH]ศิลปกรรม -- เทคนิค
[LCSH]ศิลปกรรม -- ไทย -- ผลงานKeywords: ศิลปกรรม, ภาพฉลุ, การสร้างสรรค์, ลวดลายฅ สัมพันธภาพ Class number: THE NK8654 ศิลปกรรมภาพฉลุ (Stencil) Abstract: ผลการวิจัยพบว่า การศึกษาลวดลาย เทคนิค ขั้นตอนและวิธีการสร้างสรรค์ฉลุลวดลาย ใช้เทคนิคการฉลุหนังใหญ่ด้วยเทคนิคการตอก การฉลุ การตัด การสร้างองค์ความรู้ในการสร้างสรรค์ผลงานศิลปกรรมภาพฉลุสะท้อนสัมพันธภาพระหว่างบุคคล ใช้ความรู้ด้านสัมพันธภาพระหว่างบุคคล ความรู้ด้านการฉลุ ความรู้ด้านทัศนธาตุ ความรู้ด้านองค์ประกอบศิลป์ และความรู้ด้านทฤษฎีศิลปะส่วนการสร้างสรรค์ผลงานศิลปกรรมภาพฉลุสะท้อนสัมพันธภาพระหว่างบุคคล ควรพิจารณาจากความสวยงามด้านความสัมพันธ์ของวัสดุ ความสัมพันธ์ขององค์ประกอบด้านความสัมพันธ์ของเนื้อหาและเทคนิคกรรมวิธีในการสร้างสรรค์เพื่อให้สื่อถึงเนื้อหาเรื่องราวที่สะท้อนสัมพันธภาพระหว่างบุคคลผ่านการแสดงความรัก ความผูกพันบนพื้นฐานของสังคมครอบครัว Curricular : GE Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=28339 Hold
Place a hold on this item
Copies
Barcode Call number Media type Location Section Status 32002000607870 THE NK8654 อ274ศ 2564 Book Main Library Thesis Corner Available สัมพันธภาพในครอบครัวในการส่งเสริมการดูแลตนเองเพื่อควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด / ธีรนันท์ วรรณศิริ in วารสารเกื้อการุณย์, Vol.23 No.2 (Jul-Dec) 2016/59 ([05/17/2017])
[article]
Title : สัมพันธภาพในครอบครัวในการส่งเสริมการดูแลตนเองเพื่อควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด : ของผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมน้ำตาลไม่ได้ Original title : Families relationship in self-care promotipn for uncontrolling blood sugar in type 2 diabetes Material Type: printed text Authors: ธีรนันท์ วรรณศิริ, Author Publication Date: 2017 Article on page: p.31-50 Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.23 No.2 (Jul-Dec) 2016/59 [05/17/2017] . - p.31-50Keywords: โรคเบาหวาน.การควบคุมโรคเบาหวาน.การดูแลตนเอง.การส่งเสริมการดูแลตนเอง.สัมพันธภาพในครอบครัว. Abstract: เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ เพื่อศึกษาสัมพนธภาพในครอบครัวในการส่งเสริมสุขภาพการดูแลตนเอง เพื่อควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยเบาหวาน กลุ่มตัวอย่างการวิจัย คือ ครอบครัวผู้ป่วยเบาหวาน ได้แก่ ผู้ป่วยที่ไม่สามารถคบคุมโรคได้โดยมีระดับ HbA1c มากกว่า 7% และสมาชิกในครอบครัว รวมทั้งหมด 19 ครอบครัว เลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล แบบสัมภาษณ์ครอบครัวผู้ป่วยเบาหวาน ผลการวิจัย พบว่า สัมพันธภาพในครอบครัวมีผลค่อการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยเบาหวาน ดังนี้ 1) ผู้ป่วยเบาหวานที่ช่วยเหลือตัวเองได้ ผู้ดูแลจะสนับสนุนผู้ป่วยด้านสิ่งของเหมือนก่อนป่วย โดย ผู้ดูแลไม่ได้เข้มงวดในการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดในผู้ป่วยเบาหวาน. ช่วยเหลือสิ่งที่ผู้ป่วยทำไม่ได้. คู่สมรสเป็นแหล่งสนับสนุนให้กำลังใจที่สำคัญ 2) การสนับสนุนด้านอารมณ์โดยสมาชิกในครอบครัวมีความรักใคร่ผูกพันกันโดยมีความเป็นห่วงใยกัน ทำกิจกรรมด้วยกัน 3) ผู้ป่วยเบาหวารนที่ดูแลตนเองได้น้อยยากจน จะได้รับการสนับสนุนจากครอบครัวน้อย โดยบุตรจะแยกครอบครัวอยู่ต่างหาก เพราะสะดวกในการประกอบอาชีพ และผู้ป่วยเบาหวารทีไม่มีอำนาจการตัดสินใจ สมาชิกในครอบครัวจะต่างคนต่างอยู่
ข้อเสนอแนะ ให้บุคลากรทางสุขภาพจัดการฝึกอบรมให้ความรู้ผู้ป่วยเบาหวารและสมาชิกในครอบครัวเกี่ยวกับการควบคุมโรคเบาหวาน เพื่อนำความรู้ที่ได้ไปปฏิบัติกับผู้ป่วยเบาหวานในครอบครัวได้อย่างถูกต้อง ช่วยลดภาวะแทรกซ้อนได้Link for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26730 [article] สัมพันธภาพในครอบครัวในการส่งเสริมการดูแลตนเองเพื่อควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด = Families relationship in self-care promotipn for uncontrolling blood sugar in type 2 diabetes : ของผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมน้ำตาลไม่ได้ [printed text] / ธีรนันท์ วรรณศิริ, Author . - 2017 . - p.31-50.
Languages : Thai (tha) Original Language : Thai (tha)
in วารสารเกื้อการุณย์ > Vol.23 No.2 (Jul-Dec) 2016/59 [05/17/2017] . - p.31-50Keywords: โรคเบาหวาน.การควบคุมโรคเบาหวาน.การดูแลตนเอง.การส่งเสริมการดูแลตนเอง.สัมพันธภาพในครอบครัว. Abstract: เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ เพื่อศึกษาสัมพนธภาพในครอบครัวในการส่งเสริมสุขภาพการดูแลตนเอง เพื่อควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยเบาหวาน กลุ่มตัวอย่างการวิจัย คือ ครอบครัวผู้ป่วยเบาหวาน ได้แก่ ผู้ป่วยที่ไม่สามารถคบคุมโรคได้โดยมีระดับ HbA1c มากกว่า 7% และสมาชิกในครอบครัว รวมทั้งหมด 19 ครอบครัว เลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล แบบสัมภาษณ์ครอบครัวผู้ป่วยเบาหวาน ผลการวิจัย พบว่า สัมพันธภาพในครอบครัวมีผลค่อการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดของผู้ป่วยเบาหวาน ดังนี้ 1) ผู้ป่วยเบาหวานที่ช่วยเหลือตัวเองได้ ผู้ดูแลจะสนับสนุนผู้ป่วยด้านสิ่งของเหมือนก่อนป่วย โดย ผู้ดูแลไม่ได้เข้มงวดในการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดในผู้ป่วยเบาหวาน. ช่วยเหลือสิ่งที่ผู้ป่วยทำไม่ได้. คู่สมรสเป็นแหล่งสนับสนุนให้กำลังใจที่สำคัญ 2) การสนับสนุนด้านอารมณ์โดยสมาชิกในครอบครัวมีความรักใคร่ผูกพันกันโดยมีความเป็นห่วงใยกัน ทำกิจกรรมด้วยกัน 3) ผู้ป่วยเบาหวารนที่ดูแลตนเองได้น้อยยากจน จะได้รับการสนับสนุนจากครอบครัวน้อย โดยบุตรจะแยกครอบครัวอยู่ต่างหาก เพราะสะดวกในการประกอบอาชีพ และผู้ป่วยเบาหวารทีไม่มีอำนาจการตัดสินใจ สมาชิกในครอบครัวจะต่างคนต่างอยู่
ข้อเสนอแนะ ให้บุคลากรทางสุขภาพจัดการฝึกอบรมให้ความรู้ผู้ป่วยเบาหวารและสมาชิกในครอบครัวเกี่ยวกับการควบคุมโรคเบาหวาน เพื่อนำความรู้ที่ได้ไปปฏิบัติกับผู้ป่วยเบาหวานในครอบครัวได้อย่างถูกต้อง ช่วยลดภาวะแทรกซ้อนได้Link for e-copy: http://www.kcn.ac.th/KCN-Journal/no1-2556.html Record link: http://libsearch.siu.ac.th/siu/opac_css/index.php?lvl=notice_display&id=26730